~ 20 ~

สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 การดาเนินงาน (ในระยะ 6 เดือนที่ผ่านมา) แบ่ งออกเป็ น 2 ระยะ ดังนี ้ ระยะที่ 1 เตรียมความพร้ อมและสร้ างความตระหนัก -อบรมสร้ างทีมโค๊ ชและพี่เลี ้ยง (Coaching and Mentoring) โดยมีผ้ อู านวยการสานักงานเขตพื ้นที่ การศึกษา ศึกษานิเทศก์และผู้อานวยการโรงเรี ยนทัง้ 15 โรงเรี ยน -อบรมสร้ างความตระหนักรู้แก่บคุ ลากรทุกคนเพื่อให้ มีความรู้ความสามารถและทักษะในการวางแผน และบริหารโครงการโดยใช้ กระบวนการบันทึกผลและสะท้ อนผล (After Action Review AAR) -บันทึกข้ อตกลงกับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อช่วยเป็ นพี่เลี ้ยงให้ กบั โรงเรี ยนใน โครงการ -อบรมบุคลากรทุกคนเพื่อสร้ างความเข้ าใจการเลือกใช้ นวัตกรรม การศึกษาชันเรี ้ ยน(Lesson Study) -อบรมพร้ อมศึกษาดูงานการใช้ นวัตกรรมการศึกษาชันเรี ้ ยน(Lesson Study) โดยทีมศึกษาชันเรี ้ ยน กลุม่ สาระคณิตศาสตร์ จานวน 4-5 คน ต่อ โรงเรี ยน ระยะที่ 2 ขัน้ นาสู่การปฏิบัตติ ามมาตรการเร่ งด่ วน (ช่ วงเวลาการเตรียมความพร้ อมการ สอบโอเนต) -การประชุมทีมหัวหน้ าโค๊ ชเป็ นประจาทุกเดือน โดยผู้อานวยการเขตพื ้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ และผู้อานวยการโรงเรี ยน -การออกนิเทศติดตามการปฏิบตั งิ านทุกโรงเรี ยนโดยผู้อานวยการเขตพื ้นที่การศึกษา และ ศึกษานิเทศก์ -สร้ างสพม.22 โมเดลเพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ โอเนต -ทุกโรงเรี ยนสร้ างวัฒนธรรมการบันทึกผลและสะท้ อนผลการปฏิบตั งิ าน (AAR) -ทุกโรงเรี ยนนาสพม.22 โมเดลสูก่ ารปฏิบตั ริ ่วมกันยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ(O-net) -ประชุมสรุปผลการปฏิบตั งิ าน ผลที่เกิดจากการดาเนินงาน -มีการสร้ างวัฒนธรรมการบันทึกผลและสะท้ อนผล (AAR) ในทุกโรงรี ยน -มีการทีมศึกษาชันเรี ้ ยน (Lesson Study) กลุม่ สาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ ทกุ โรงเรี ยน -ผลการทดสอบระดับชาติสงู ขึ ้นอย่างน่าพอใจ โดยโรงเรี ยนในโครงการมีพัฒนาการผลการทดสอบ ระดับชาติสูงเป็ นอันดับหนึ่งและอันดับสาม จากทุกโรงเรี ยนในสังกัดสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 22

~ 21 ~ แผนการดาเนินงานในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558 -ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ทักษะผู้เรี ยนและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์โดยใช้ สพม.22 โมเดล -พัฒนานักเรี ยนด้ านการคิดวิเคราะห์ผา่ นกระบวนการคิดชันสู ้ งโดยใช้ นวัตกรรมการศึกษาชันเรี ้ ยน (Lesson Study) -เผยแพร่ขยายผลงานการปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศสู่โรงเรี ยนอื่นในสังกัด SESAO 22 Model (สพม.22 โมเดล) พิชิตโอเนต กรอบแนวคิด การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เป็ นภารกิจเร่งด่วนที่ต้องเร่งดาเนินการเพื่อให้ นกั เรี ยนมี คุณภาพตามมาตรฐานที่หลักสูตรกาหนด โดยมุง่ ให้ นกั เรี ยนมีความรู้ ความสามารถ คิดเป็ นแก้ ปัญหาได้ เป็ นคนดีของสังคม โดยความร่วมมือของทุกฝ่ ายเน้ นกระบวนการสะท้ อนประสิทธิภาพและการงาน แผนพัฒนาร่วมกัน วิสัยทัศน์ ภายในปี การศึกษา 2558 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยน สังกัดสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 22 ในการทดสอบระดับชาติขนพื ั ้ ้นฐานสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่องและสูงกว่าระดับประเทศ วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยน ชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 6 ให้ สงู ขึ ้นและเพื่อให้ นักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 6 ทุกคน มีความสามารถในการอ่าน การเขียนและการคิดวิเคราะห์ เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 6 เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 5 ในปี การศึกษา 2557 และเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 7 ในปี การศึกษา 2558 และนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 6 มีความสามารถ ในการอ่าน การเขียนและการคิดวิเคราะห์ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับดีเยี่ยมร้ อยละ 80 SESAO 22 Model S= Small goal big product (หลักการเป้าเล็ก ผลใหญ่) E= Every time everywhere (การติดตามนิเทศ “ทุกที่ทกุ เวลา” ) S= Super adviser (การกากับเอาใจใส่จากผู้บริหารระดับสูง เช่นผู้อานวยการสานักงานเขตพื ้นที่) A=After Action Review (ใช้ กระบวนการ AAR แก้ ปัญหาและวางแผนการดาเนินงาน) O=Operation 22 (ปฏิบตั กิ ารเด็ดขาด 22 ประการ)

~ 22 ~ ปฏิบัตกิ ารพิชิตโอเนต สพม. 22 ยุทธศาสตร์ ส. (5 สร้ าง)

พ. (5 พลัง)

ม. (12 มาตรการ)

ปฏิบัติการ 1. สร้ างข้ อตกลงระหว่างผอ.เขตกับผอ.รร. ผอ.รร.กับครู ครูกบั นักเรี ยน MOU 2. สร้ างเครื อข่ายติวเตอร์ /ผู้นิเทศ แบบ Coaching and Online และเครื อข่ายโรงเรี ยนคูพ่ ฒ ั นา/คู่ แข่งขัน 3.สร้ างเสริ มแรงโดยใช้ ผลงานยกผลสัมฤทธิ์(เน้ นคะแนนพัฒนาการ) เป็ นข้ อมูลการพิจารณาการ ย้ าย /เลือ่ นขัน/โล่ ้ /เกียรติบตั รและเงินรางวัลสาหรับครูและนักเรี ยน 4. สร้ างคลังข้ อสอบโอเนต 5. สร้ างโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์บรู ณาการทุกกิจกรรม 1. พลังความรัก (ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน) 2.พลังความเข้ าใจ (เยีย่ มบ้ าน คัดกรอง ศึกษานักเรียนเป็ นรายคน) 3. พลังความจริงใจ (คืนครูสหู่ ้ องเรี ยน คืนผอ.สูโ่ รงเรี ยน) 4.พลังใจ (โล่/เกียรติบตั ร/เงินรางวัลและคาชมอื่นๆ) 5.พลังเสริ ม (การติวโดยติวเตอร์ ชื่อดังทังจากการเชิ ้ ญและสืบค้ นจากสือ่ อินเตอร์ เนตหรื อการ แลกเปลีย่ นครูเก่งมาช่วยเสริ ม) 1. แก้ ไขปั ญหาการอ่านออกเขียนได้ /สรุปความอ่านเอาเรื่ อง และเน้ นสอนคิดวิเคราะห์ 2. จัดสอนเสริ มและติวนอกเวลาราชการและติดตามการสอนการติวเช่นการถ่ายทาวีดีโอเพื่อทา AAR สะท้ อนประสิทธิภาพ 3. ประชาสัมพันธ์ความสาคัญของการสอบ O-NET ทุกสัปดาห์ เช่น Count Down การสอบ ONET ทางเว็บไซต์โรงเรี ยน/เสียงตามสายหรื อ หอกระจายข่าวของชุมชน 4. ทาความเข้ าใจเกี่ยวกับข้ อสอบ O-NET และวิเคราะห์ผงั ข้ อสอบ จานวนข้ อสอบที่ออกตาม มาตรฐาน /ตัวชี ้วัด 5.กาหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรี ยนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนให้ ชดั เจน 6.ตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตร ตามมาตรฐานและตัวชี ้วัดการกาหนดหน่วยการเรี ยนรู้วา่ ครอบคลุมหรื อไม่ หากไม่ครอบคลุมให้ สอนเพิ่มในส่วนที่ตกหล่นไปโดยเฉพาะ ม.3 และ ม.6 7.สอบ Pre- test Las เพื่อเตรี ยมนักเรี ยนชันอื ้ ่น ๆ 8.เข้ าค่ายอบรมอย่างเข้ มเพือ่ แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ระหว่างผู้บริ หาร ครูและนักเรี ยน ก่อนสอบจริง 9.สอนเนื ้อหาบูรณาการข้ อสอบ โอเนต เช่นสอน 20 ติว 30 หรื อติวข้ อสอบโอเนตเชื่อมโยงเนื ้อหา 10. สอบ Pre O-NET ทังระดั ้ บ เขตพื ้นที่และระดับโรงเรี ยนให้ มากที่สดุ 11. จัดสอบและเปิ ดโอกาสให้ โรงเรี ยนอื่นเข้ าร่วมหรื อเข้ าร่วมแข่งขันกับโรงเรี ยนอื่น ๆ ที่จดั สอบ เพื่อสร้ างความแปลกใหม่และสัง่ สมประสบการณ์ 12. ติดตามประเมินผลและนาผลที่ได้ มาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องผ่านกระบวนการทา AAR

บทบาท ทีมนา -ผอ./รองผอ. เขต/ ศึกษานิเทศก์ -ผอ.รร.ทัง้ 15 โรง ทีมประสาน -ผอ.รร./ทีม บริ หารรร.

ทีมทา บุคลากรทุก คน

สพม.22.pdf

... การสอบ O- NET ทางเว็บไซต์โรงเรียน/เสียงตามสายหรือ หอกระจายข่าวของชุมชน. 4. ท าความเข้าใจเกี่ยวกับข้อสอบ O-NETและวิเคราะห์ผังข้อสอบ จ านวนข้อสอบที่ออกตาม.

217KB Sizes 1 Downloads 37 Views

Recommend Documents

No documents