Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 21 No. 1 (2015), 30-36

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (2558) 30-36 Available online at www.tsae.asia

บทความปริทัศน์ ISSN 1685-408X

หลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรของไทยในช่วงปี พ.ศ. 2551 ถึง 2555 Different Curriculums Related to the Field of Agricultural Engineering in Thailand during 2008 to 2012 ธัญญา นิยมาภา1* Tanya Niyamapa1* 1ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร,

คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, นครปฐม, 73140 of Agricultural Engineering, Faculty of Engineering at Kamphaengsaen, Kasetsart University - Kamphaengsaen Campus, Nakhon Pathom, 73140 *Corresponding author: Tel: +-6634-351-896, Fax: +-6634-351-896, E-mail: [email protected] 1Department

บทคัดย่อ บทความนี้ เ ขี ย นเกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมเกษตรในประเทศไทย โดยเฉพาะหลั ก สู ต รของ 3 มหาวิ ท ยาลั ย คื อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยขอนแก่น นอกจากนี้ ยังกล่าวถึง สภาวะการทางานของบัณฑิตผู้จบการศึกษาจากภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ให้ทราบด้วย ส่วนหลักสูตร Agricultural Engineering ในประเทศจีนที่น่าสนใจก็คือ นอกจากจะเรียนด้านหลักการและทฤษฎีแล้วยังเน้นไปที่ปฏิบัติการและการ ทดลอง ซึ่งเป็นจุดที่แตกต่างจากหลักสูตรในมหาวิทยาลัยของไทย ส่วนหลักสูตรเกี่ยวกับ Biological and Agricultural Engineering ก็เน้นไปที่มหาวิทยาลัยในประเทศแคนนาดา และประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้คาว่า Agricultural Engineering เป็นส่วนหนึ่งของคาว่า Biological Engineering คาสาคัญ: หลักสูตร, วิศวกรรมเกษตร, Biological engineering

Abstract This paper is written concerning the curriculums of Agricultural Engineering in Thailand. The Agricultural Engineering curriculums of Kasetsart University, King Mongkut's Institue of Technology Ladkrabang and Khon Kaen University are described. The status of the graduates with the bachelor's degree in Agricultural Engineering from Kasetsart University are reported. The curriculum of Agricultural Engineering of China Agricultural University is also mentioned. The interesting aspect of the China Agricultural University curriculum is that the curriculum does not only focus on principles and theories, but also the engineering practices and experiments simultaneously. However, the pioneers of Biological and Agricultural Engineering curriculums would be Canada and the United States of America. It should be noted that the name, Agricultural Engineering, is considered part of the name, Biological Engineering. Keywords: Curriculum, Agricultural engineering, Biological engineering

1

บทนา การเขียนบทความนี้เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ซึ่งถูกรวบรวมข้อมูลส่วนหนึ่งจากโครงการเสวนา เรื่องทิศทางของ วิศวกรรมเกษตรเพื่อการรับมือ ASEAN Economics Community (AEC) 2015 ที่จัดให้มีขึ้นโดยหลักสูตรวิศวกรรมเกษตร สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระ 30

จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วันศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ เนื่องจากผู้เขียนได้รับเชิญให้เป็น วิทยากรบรรยายเรื่อง “การจัดการหลักสูตรวิศวกรรมเกษตรและ การเรียนการสอนเพื่อการรับมือ AEC 2015” ภายหลังการบรรยาย ได้ มี การเสวนาให้ ข้ อเสนอแนะจากผู้ ใหญ่ หลายท่ าน ทั้ งจาก สถาบั นวิ จั ยเกษตรวิ ศวกรรม กรมวิ ชาการเกษตร, กองส่ งเสริม

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (2558), 30-36 วิ ศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร และสมาคมวิศวกรรม เกษตรแห่ งประเทศไทย ตลอดจนผู้แทนจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ มี การเรี ยนการสอนสาขาวิ ศวกรรมเกษตร และที่ ส าคั ญคื อ Dr. Abdel Ghaly ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ท า ง Biological and Environmental Engineering จากภาควิชา Process Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ Dalhousie University ประเทศแคนนาดา ทั้งนี้ท่านได้ให้ความรู้และข้อคิดที่น่าสนใจไว้ซึ่งจะเขียนในส่วนหลัง สาหรับบทความนี้จะเขียนเกี่ยวกับหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ สาขาวิ ชาวิ ศวกรรมเกษตรในช่ วงปี พ.ศ. 2551 ถึ ง 2555 เช่ น หลั กสู ตรวิ ศวกรรมเกษตรของประเทศไทย หลั กสู ตรวิ ศวกรรม เกษตรในประเทศจี น ตลอดจนหลั ก สู ต ร Biological and Agricultural Engineering ของ University of California, Davis, U.S.A. ทั้ งนี้ ผู้ เขี ยนไม่ มี วั ตถุ ประสงค์ ชี้ น าทิ ศทางการปรั บปรุ ง หลักสูตรวิศวกรรมเกษตรในประเทศไทยไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ในช่วงที่ผู้เขียนรวบรวมข้อมูลสาหรับบทความนี้ สาขาวิชา วิ ศวกรรมเกษตร มี ชื่ อเรี ยกแตกต่ างกั นไป เช่ น Department of Biological and Agricultural Engineering, Department of Biosystems Engineering, Department of Bioresources Engineering, Department of Biological Systems Engineering ใน ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าและประเทศแคนนาดา Department of Bioproduction and Machinery อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ Division of Environmental Science and Technology และ Department of Agricultural System Engineering อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ Division of Bioproduction Engineering ในประเทศญี่ ปุ่ น Department of Biosystems and Biomaterials Science and Engineering ในประเทศเกาหลีใต้ Department of Biological and Agricultural Engineering ในประเทศมาเลเซี ย Department of Agricultural Engineering, Department of Agricultural and Food Engineering, Farm Machinery and Power Department ใ น ประเทศอิ น เดี ย Department of Agricultural Engineering ใน ประเทศจีน Department of Agricultural Engineering ในประเทศ เวียดนาม ภาควิชาวิศว-กรรมเกษตร (Department of Agricultural Engineering) ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย Department of Agricultural Engineering ในประเทศฟิ ลิ ปปิ นส์ Department of Agricultural Engineering ในประเทศอินโดนีเซีย ในประเทศสิงคโปร์เท่าที่ทราบไม่ มีการเรียนการสอนในสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร ประเทศในทวีป ยุโรปก็ปรากฏทั้งที่เปลี่ยนชื่อไปแล้วกับที่ยังไม่เปลี่ยนชื่อ เป็นต้นว่า ในประเทศไอร์ แ ลด์ ใช้ ชื่ อ ว่ า Biosystems Engineering ใน ป ร ะ เ ท ศ ก รี ซ ใ ช้ ชื่ อ ว่ า Department of Biosystems

Engineering ในขณะที่ประเทศเยอรมัน ยังใช้ชื่อ Department of Agricul-tural Engineering ดังนั้นเพื่อให้เป็นที่เข้าใจตรงกันจึงขอทาความเข้าใจหลักสูตร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร (Agricultural Engineering) ที่เปิดสอนใน ประเทศไทย หลักสูตร Agricultural Engineering ในประเทศจีน และ ในที่ สุ ด ก็ ค าว่ า Bio… ทั้ ง นี้ ข อยกตั ว อย่ า งของ Department of Biological and Agricultural Engineering, College of Engineering, University of California, Davis, U.S.A. 2

การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิศวกรรมเกษตรใน ประเทศไทย ในช่ ว งปี พ.ศ. 2551 ถึ ง 2555 มหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศได้จัดให้มีการเรียนการสอนในหลักสูตรวิศวกรรมเกษตร เพื่อผลิตวิศวกรเข้าสู่ระบบทางการเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งก็อาจเป็นทั้ งอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมทั่ วไป มี มหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมเกษตร โดยตรงและหลักสู ตรที่เกี่ ยวข้ องถึ ง 12 หลักสูตร ในที่นี้ จะขอ ยกตั วอย่ างเพี ยง 3 แห่ ง แต่ ละหลั กสู ตรจั ดการเรียนการสอน อย่างไร ส่วนข้อมูลการทางานของบัณฑิตผู้ที่จบการศึกษาไปแล้ว จะยกตัวอย่างเพียงสถาบันเดียว คือ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ทั้งนี้เพื่อให้เห็น ภาพการออกไปทางานของบัณฑิตที่จบการศึกษาไปแล้ว 2.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิศวกรรมเกษตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2.1.1 ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร วิ ศ วกรรมเกษตรให้ ก ารศึ ก ษาด้ า นวิ ศ วกรรมศาสตร์ ที่ ประยุกต์ความรู้ด้านการผลิต การแปรสภาพ และการเก็บรักษา ผลผลิตเกษตร เพื่อช่วยพัฒนาการเกษตรของประเทศให้มีความ ยั่งยืน และสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตบัณฑิตให้เป็นวิศวกรในสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร ตามหลักสูตรที่สอดคล้องกับข้อบังคับของสภาวิศวกร ให้เป็นผู้ที่ มีความรู้ทางทฤษฎีและการปฏิบัติ มีความรับผิดชอบ คุณธรรม จริธรรม และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2) ให้บัณฑิตได้มีประสบการณ์ในการวิจัยพื้นฐานหรือการ วิจัยประยุกต์ ในสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร เพื่อให้ได้องค์ความรู้ ใหม่ เครื่องจักรเกษตร กระบวนการผลิต การแปรสภาพ และการ เก็บรักษาผลผลิตเกษตรที่เหมาะสมสาหรับประเทศไทยเพื่อเพิ่ม ผลผลิตและคุณภาพ

31

Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 21 No. 1 (2015), 30-36 3) สนั บ สนุ น แผนงานโครงการพั ฒ นาบุ ค ลากรด้ า น วิ ศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ เพื่ อน าไปสู่ การ พึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน และลดการนาเข้าเครื่องจักรกลเกษตร 2.1.2 หลักสูตร 1) หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 146 หน่วยกิต 2) โครงสร้างของหลักสูตร - หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 10 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต  กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาพลศาสตร์ 2 หน่วยกิต - หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 110 หน่วยกิต  วิชาแกน 24 หน่วยกิต  วิชาเฉพาะบังคับ 80 หน่วยกิต  วิชาเฉพาะเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต - หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต - การฝึกงาน ไม่น้อยกว่า 240 หน่วยกิต ยกเว้นนิสิตทีเ่ ข้าโครงการสหกิจศึกษา หมายเหตุ รายละเอี ยดรายวิ ชาศึ กษาได้ จากเอกสารหลั กสู ตร (คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2551) 2.2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเกษตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สาขาวิ ศ วกรรมเกษตรมุ่ งเน้ น การศึ ก ษาใน 3 ด้ า น คื อ ด้ า นเครื่ อ งจั ก รกลเกษตรและวิ ศ วกรรมหลั ง การเก็ บ เกี่ ย ว ด้านวิศวกรรมดินและน้า และด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม 2.2.1 หลักสูตร 1) หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 145 หน่วยกิต 2) โครงสร้างหลักสูตร - หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต  กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต

32

- หมวดวิชาเฉพาะ 109 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาแกน 21 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน 9 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาบังคับ 67 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา 6 หน่วยกิต  กลุ่มวิชาการศึกษาทางเลือก 6 หน่วยกิต - หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต หมายเหตุ รายละเอี ยดรายวิ ชาศึ กษาได้ จากเอกสารหลั กสู ตร (คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้ าคุณ ทหารลาดกระบัง, 2552) 2.3 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเกษตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2.3.1 ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1) ปรัชญา หลั กสู ตรนี้ ผลิตบัณฑิ ตให้ มีความรู้ทั้งภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่ใช้วิชาชีพวิศวกรรมเกษตร ตามกระบวนการ เรี ยนการสอนที่ เน้ นผู้เรียนเป็นศู นย์กลางให้ มีความสามารถใน ความรู้ด้านทฤษฎีและปฏิบัติใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อส่วนรวม ด้วยการมีคุณธรรม จริยธรรมแห่งวิชาชีพ 2) หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ศ วกรรม เกษตร มีวัตถุประสงค์ให้ผู้สาเร็จการศึกษา  ในกลุ่มวิชาชีพวิศวกรรมดินและน้า และกลุม่ วิชาชีพ วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร มีความสามารถตามมาตรฐาน คุณภาพและตามความต้องการของประเทศ  สามารถน าความรู้ วิ ช าชี พ ใช้ ใ นการแก้ ปั ญ หาและ พัฒนางานเกษตรตลอดจนงานอุตสาหกรรม และทรัพยากร ธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ  สามารถถ่ า ยทอดความรู้ ตลอดจนมี จ รรยาบรรณ ศีลธรรมอย่างเหมาะแก่วิชาชีพ 2.3.2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรม เกษตร แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มวิชาชีพ คือ กลุ่มวิชาชีพวิศวกรรม เครื่องจักรกลเกษตร และกลุ่มวิชาชีพวิศวกรรมดินและน้า ซึ่งใน ภาคการศึกษาปลายของปีการศึกษาที่ 1 นักศึกษาจะต้องเลือก เรียนได้เพียงกลุ่มวิชาชีพหนึ่งเท่านั้น โครงสร้างของหลักสูตรแต่ ละกลุ่มวิชาชีพมีรายละเอียดดังแสดงใน Table 1

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (2558), 30-36 3

การรับรองหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร ทุกหลักสูตรจาเป็นต้องเป็นไปตามข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วย การรั บรองปริ ญญา ประกาศนี ยบั ตร หรื อวุ ฒิ บั ตรเที ยบเท่ า ปริญญาในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2543 ปริญญา ประกาศนียบัตร และวุฒิบัตรเทียบเท่าปริญญาใน สาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่สภาวิศวกรให้การรับรองจะต้องมีหลักสูตร ที่ มี การเรี ยนการสอนวิ ชาชี พพื้ นฐานทางวิ ทยาศาสตร์ (Basic Sciences) เป็นไปตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการสภาวิศวกรกาหนด และมี วิ ชาชี พพื้ นฐานทางด้ านวิ ศวกรรม (Basic Engineering) ไม่ น้ อยกว่ า 18 หน่ วยกิ ต จากจ านวนวิ ชาไม่ น้ อยกว่ า 6 วิ ชา และมีวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม (Specific Engineering) ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต จากจานวนวิชาไม่น้อยกว่า 4 วิชา ในการศึกษาจาก ระบบทวิภาคโดยมีรายวิชาและเนื้อหาและรายละเอียดอื่นๆ ตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกรกาหนด วิ ชาพื้ นฐานวิ ทยาศาสตร์ ที่ สภาวิ ศวกรจะให้ การรั บรอง ปริ ญ ญา ประกาศนี ย บั ต รและวุ ฒิ บั ต รเที ย บเท่ า ปริ ญ ญาใน สาขาวิ ชาวิ ศวกรรมศาสตร์ ให้ ประกอบด้ วยกลุ่ มวิ ชาพื้ น ฐาน ดังต่อไปนี้ 1) กลุ่ ม วิ ช าพื้ น ฐานทางคณิ ต ศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่ า 9 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาพื้นฐานทางฟิสิกส์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาพื้นฐานทางเคมี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต หมายเหตุ กลุ่มวิชาพื้นฐานทางฟิสิกส์และเคมีจะต้องมีการเรียน การสอนภาคปฏิบัติการด้วย แต่จะไม่นับหน่วยกิตปฏิบัติการให้ 4

การทางานของบัณฑิตผู้จบการศึกษาสาขาวิศวกรรม เกษตร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2555) สภาวะการทางานของบัณฑิตผู้จบการศึกษาจากหลักสูตร วิ ศวกรรมศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ศวกรรมเกษตร มหาวิ ทยาลั ย เกษตรศาสตร์ จากผลการส่งแบบสอบถามทั้งหมด 468 ฉบับ ได้รับ

การตอบกลับมา 94 ฉบับ สามารถนามาสรุปลักษณะการทางาน ของผู้จบการศึกษาได้ดังนี้ 1) รับราชการ เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ 2) รัฐวิสาหกิจ 3) พนักงานบริษัท องค์กรธุรกิจเอกชน (วิศวกร ผู้บริหาร วิ ศวกรที่ ปรึ กษา งานวิ จั ยและพั ฒนา งานอุ ตสาหกรรมทั่ วไป และงานอุ ตสาหกรรมที่ ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การผลิ ตผลิ ต ผล การเกษตร) 4) ดาเนินธุรกิจอิสระ เจ้าของกิจการ จากลั ก ษณะการท างานมี ทั้ ง กลุ่ ม ที่ ท างานในสายงาน วิ ศวกรรมเกษตร กลุ่ มนี้ มี ทั้ งข้ าราชการ พนั กงานบริ ษั ท และ อาจารย์ ในสถาบั นอุ ดมศึ ก ษา ส่ วนกลุ่ มที่ ท างานในสายงาน วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกลก็ มี ทั้ ง พนั ก งานบริ ษั ท และอาจารย์ ใ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา นอกจากนี้ ก็ ยั งมี ก ลุ่ ม ท างานในสายงาน วิศวกรรมโยธา (งานแหล่งน้า งานสิ่งแวดล้อม) สายงานวิศวกรรม อุ ตสาหการ สายงานวิ ศวกรรมอาหาร เป็ นอาจารย์ ในสถาบัน อุดมศึกษา และกลุ่มที่ดาเนินธุรกิจอิสระเป็นเจ้าของกิจการก็มี บ้าง สิ่งที่น่าสังเกตก็คือ กลุ่มที่ทางานในบริษัทจะมีทั้งตาแหน่ง วิศวกร ผู้จัดการแผนก ผู้จัดการฝ่าย และผู้จัดการทั่วไป ส่วน การศึกษาภายหลังจากจบปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมเกษตรไป แล้ ว ก็ มี ทั้ ง ที่ ไ ปศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาโท ปริ ญ ญาเอก (ผู้ ที่ ท างานบริ ษั ทอาจจะศึ กษาต่ อในสายวิ ชาอื่ นที่ ไม่ ใช่ ส าขา วิศวกรรมเกษตร ส่วนผู้ที่เป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาก็จะ ศึกษาต่อในวิชาชีพที่ตัวเองสอน) เมื่อกล่าวถึงหลักสูตรส่วนใหญ่ ให้ความเห็นว่าเหมาะสมสาหรับการหางานทาได้ทั้งตรงสาขาที่ เรี ยนและสาขาที่ สั มพั นธ์ กั น ขณะนี้ หลั กสู ตรสาขาวิ ศวกรรม เกษตรมีสิทธิขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม กว. วิศวกรรม เครื่องกล และก็มีบ้างที่ให้ความเห็นว่าเรียนจบ สาขาวิศวกรรมเกษตรหางานได้ยากเนื่องจากผู้ประกอบการยังไม่ รู้ จั กค าว่ า วิ ศวกรรมเกษตร ไม่ เหมื อนกั บวิ ศวกรรมเครื่ องกล วิศวกรรมโยธา

33

Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 21 No. 1 (2015), 30-36 Table 1 โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเกษตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550 มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป - กลุ่มวิชาภาษา - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2. หมวดวิชาเฉพาะ - กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์ - กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพวิศวกรรมเกษตร - กลุ่มวิชาชีพวิศวกรรมเกษตร - กลุ่มวิชาชีพเลือกเรียน - กลุ่มวิชาฝึกงานและสหกิจศึกษา 3. หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

จานวนหน่วยกิตตามแผนการสอน กลุ่มวิชาชีพวิศวกรรมดินและนา กลุ่มวิชาชีพวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร แผน 1 แผน 2 30 30 30 12 12 12 6 6 6 12 12 12 ฝึกงาน สหกิจ ฝึกงาน สหกิจ ฝึกงาน 116 116 117 117 136 31 31 31 31 31 46

46

47

47

44

30 9 0

27 3 9

30 9 0

27 3 9

52 9 0 6 172

6 152

หมายเหตุ รายละเอียดรายวิชาศึกษาได้จากเอกสารหลักสูตร (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2550)

5

หลักสูตร Agricultural Engineering ในประเทศจีน Department of Agricultural Engineering เป็นภาควิ ชาที่ สั งกั ด College of Engineering, China Agricultural University ประเทศจีน การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเกษตรใช้ ระยะเวลาเรียน 4 ปี เรียนไม่น้อยกว่า 168 หน่วยกิต วิชาที่สอน รวมถึง ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และการจัดการ วิศวกรรมศาสตร์ ชีววิทยาพื้นฐาน สาหรับกลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตรเน้นไปที่วิศวกรรมเครื่องจักรกล เกษตร (ขบวนการก่ อนเก็ บเกี่ ยวและหลั งเก็ บเกี่ ยว) และที่ น่ า สั งเกตก็ คื อ การที่ หลั กสู ตรเรี ยนถึ ง 168 หน่ วยกิ ต ก็ เพราะว่ า หลักสูตรที่เขียนไว้ นอกจากจะเรียนทางหลักการและทฤษฎีแล้ว ยังเน้นไปที่ปฏิบัติการและการทดลอง เป็นต้นว่ารายวิชาต่ างๆ เหล่ า นี้ Mechanical CAD/CAM Experiment, Robotic Creation Experiment (1), Robotic Creation Experiment (2), Robotic Creation Experiment (3), Technological Innova-tion Practice, Metals Technology Practive (A), และ Agricul-tural Machinery of Equipment Manufacturing Practice เป็นต้น 6

ทาความเข้าใจคาว่า Bio… บทความในส่ วนนี้ ถู กสรุ ปข้ อมู ลมาจากการบรรยายของ Dr. Abdel Ghaly ในโครงการเสวนา เรื่ องทิ ศทางของวิ ศวกรรม เกษตรเพื่ อ การรั บ มื อ ASEAN Economics Community (AEC) 2015 ซึ่ ง เป็ น ประวั ติ เ กี่ ย วกั บ Agricultural Engineering และ 34

6 153

Biological Engineering ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร (Depart-ment of Agricultural Engineering) สั ง กั ด Iowa Agricultural College, Iowa State University ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ถู ก ตั้ ง ขึ้ น ในปี ค.ศ. 1908 และมี การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ส่ วนใน ประเทศแคนนาดา ภาควิ ชาวิ ศวกรรมเกษตร สั งกั ด Faculty of Agricultural Science, University of Mani-toba ถู ก ตั้ ง ขึ้ น ในปี ค.ศ. 1906 และมีการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม เกษตร ในปี ค.ศ. 1908 ต่อมาปี ค.ศ. 1912 ชื่อคาว่า “Biological Engineering” เริ่มปรากฏขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา และก็หายไป ไม่ ป รากฏอี ก จนกระทั่ ง ปี ค.ศ. 1965 มี 4 มหาวิ ท ยาลั ย คื อ Mississippi State University (USA), North Carolina State University (USA), University of Guelph (Canada) แ ล ะ Technical University of Nova Scotia (Canada) เป็ น ผู้ น า เ ป ลี่ ย น ชื่ อ จาก Agricultural Engineering มาเป็ น Biological Engineering จนกระทั่งปี ค.ศ. 1980 เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจกับ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลเกษตร มีการลดลงของปริมาณงานของ นักศึกษาที่จบใหม่ในอาชีพอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลเกษตร และ ขณะเดียวกันจานวนสมาชิกของสมาคมวิชาชีพ American Society of Agricultural Engineers (ASAE) และ Canadian Society of Agricultural Engineers (CSAE) ก็ ล ดจ านวนลง ดั งนั้ น ในปี ค.ศ. 1987 บรรดาหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตรในมหาวิทยาลัย ต่างๆ ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศแคนนาดาได้มา

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (2558), 30-36 ประชุ มร่ วมกั นเพื่ อ พยายามแก้ ปั ญหาจ านวนนั กศึ กษาที่ ล ด น้อยลง และให้ข้อสรุปว่าชื่อ Agricultural Engineering เป็นคาที่ ถูกจากัดวงแคบเกินไปและก็ไม่ ได้แสดงถึงความรู้ในโปรแกรม การศึกษา ดังนั้นในปี ค.ศ. 1989 จึงมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ โดยเปลี่ยนชื่อจาก Agricultural Engineering มาเป็น Biological Engineering ทั้งนี้คาว่า Agricultural Engineering เป็นส่วนหนึ่ง ของค าว่ า Biological Engineering ในปี ค.ศ. 2000 หลาย หน่วยงานภาควิชาวิศวกรรมเกษตรเดิมก็เปลี่ยนชื่อเป็น Biological Engineering, Bioresources Engineering, Biosystems Engineering และ Biological Systems Engineering จากผลการเปลี่ ย นชื่ อ จึ ง ส่ งผลท าให้ จ านวนนั กศึ กษาเพิ่ มมากขึ้ น และในปี ค.ศ. 2004 ชื่ อ CSAE ก็ เ ปลี่ ย นเป็ น CSBE และปี ค.ศ. 2005 ชื่ อ ASAE ก็เปลี่ยนเป็น ASABE ใน Figure 1 เป็นการแสดงความสัมพั นธ์ ระหว่างสายงานที่เกี่ยวข้องกับ Biological Engineering

Figure 1 ความสัมพันธ์ระหว่างสายงานที่เกี่ยวข้องกับ Biological Engineering (Ghaly, 2012).

ต่อไปนี้จะขอทาความเข้าใจคาว่า Bio… โดยยกตัวอย่าง 6.1 Department of Biological and Agricultural Engineering, College of Engineering, University of California, Davis, U.S.A. 6.1.1 ภารกิจ (Mission): หน่วยงาน Department of Biological and Agricultural Engineering มี แ นวคิ ด เพื่ อ ท าให้ เ กิ ด ความก้ า วหน้ า ทางด้ าน วิศวกรรมศาสตร์ผนวกกับการพิจารณาด้านระบบทางชีววิ ทยา (biological systems) เป้ า หมายของหน่ ว ยงานนี้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความก้าวหน้าด้านการสอนทางวิทยาศาสตร์โดยพิจารณาทั้งด้าน หลักการ (principles) และการประยุกต์ (application) เผยแพร่ ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความจาเป็นต่อการผลิตผลิตผล เกษตรที่มีประสิทธิภาพ เผยแพร่และพิจารณาขบวนการการผลิต โดยพิจารณาด้านชีววิทยา เป็นต้นว่า ด้านอาหาร ด้านอาหารสัตว์

และพืชเส้นใย ในขณะที่ต้องอนุรั กษ์ แหล่ งธรรมชาติ คานึ งถึ ง คุ ณภาพด้ านสิ่งแวดล้อม และสุ ขภาพและความปลอดภัยของ มนุษย์ 6.1.2 วัตถุประสงค์ (Objectives): ให้ นั ก ศึ ก ษาเรี ย นหลั ก พื้ น ฐานคณิ ต ศาสตร์ ฟิ สิ ก ส์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดสมดุล ระหว่ างปั ญหาการปฏิ บั ติ และหลั กการพื้ นฐาน เป็ นการสอน นักศึกษาเพื่อให้รู้จักการพัฒนาให้เกิดความชานาญสาหรับการ แก้ ปั ญ หาทางวิ ศ วกรรมเมื่ อ พิ จารณาจากระบบทางชี วภาพ (biological system) โดยใช้ วิ ธี การวิ เคราะห์ ( analysis) การสั ง เคราะห์ (synthesis) และเทคนิ ค การออกแบบทาง วิศวกรรม ขณะเดียวกันจะต้องเตรียมตัวให้นักศึกษาเพื่อจะเข้า ไปสู่ การปฏิ บั ติ ทางวิ ศวกรรมศาสตร์ (engineering practice) และการศึ กษาในระดั บบั ณฑิ ตศึ กษา (graduate education) เช่ น เดี ย วกั น ต้ อ งพิ จ ารณาการเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต และท าให้ นักศึกษาสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และสามารถสื่อสารกับ ผู้อื่นอย่างมีประสิทธิผล นอกจากนี้ก็ต้องให้การศึกษาความรู้ด้าน เศรษฐศาสตร์ ความรับผิดชอบในอาชีพ และคานึงถึงสิ่งแวดล้อม 6.1.3 สาขา Biological Systems Engineering Biological Systems Engineering เป็นสาขาวิศวกรรมหลัก ที่ ใ ช้ ค วามรู้ ชี ว วิ ท ยาเป็ น หลั ก ในทางวิ ท ยาศาสตร์ ในยุ ค วิวัฒนาการใหม่ของชีววิทยา (biology) และเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) วิศวกรมีความจาเป็นต้องทางานควบคู่ไปกั บ นักวิทยาศาสตร์เพื่อที่จะนาผลงานในห้องปฏิบัติการพัฒนาไปสู่ การผลิตในเชิงการค้า การผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ พืชและสัตว์ เป็นต้นว่า พลังงานชีวภาพ (bioenergy) ขบวนการ ชีวภาพ (bioprocessing) เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) ขบวนการผลิ ต ด้ า นอาหาร (food processing) การประมง (aquaculture) การเกษตร (agriculture) และผลิตผลจากป่าไม้ สิ่งต่างๆ เหล่านี้ต้องการวิศวกรที่มีความรู้ด้านชีวภาพ การศึกษาในชั้นปีที่ 1 และปีที่ 2 ผู้เรียนสาขา Biological Systems Engineering ต้องการศึกษาวิชาหลักทางด้านวิศวกรรม ศาสตร์ ประกอบด้วยวิ ชาด้านคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี วิทยา ศาสตร์ วิ ศ วกรรม (engineering science) และมนุ ษ ย์ ศ าสตร์ ขณะเดี ยวกั นผู้ ที่ ศึกษาด้าน Biological Systems Engineering ต้องมีความรู้วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับชีววิทยา

35

Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 21 No. 1 (2015), 30-36 Mathematics Mathematics Physics Chemistry Biological Sciences Biological Systems Engineering Engineering Biological Systems Engineering University Writing Program Communication General Education electives Minimum Lower Division

Units 16 6 15 10 14 4 11 4 4 4 8 96

ในการศึ ก ษาระดั บ ชั้ น ปี ที่ 3 และ 4 การศึ ก ษาสาขา Biological Systems Engineering ต้ องเรี ยนวิ ชาแกนที่ เน้ นไปที่ การบูรณาการชีววิทยาและฟิสิกส์กับวิชาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเชี่ ยวชาญที่ เน้ นเป็ นวิ ชาเลื อก (Upper Division Requirements) มีด้วยกัน 8 สาขา Agricultural Engineering Aquaculture Engineering Bioenergy Engineering Biomechanics/Premedicine/Preveterinary Medicine Biotechnical Engineering Ecological Systems Engineering Food Engineering Forest Engineering 6.1.4 สาขาวิศวกรรมเกษตร (Agricultural Engineering) นักศึกษาที่เลือกในสายงานวิศวกรรมเกษตรก็มีการบูรณา การวิเคราะห์และออกแบบโดยการประยุกต์ความรู้ด้านชีววิ ทยา เพื่อแก้ปัญหาในด้านการผลิต การขนส่ง และขบวนการผลิตสินค้า เกษตร เป็นต้นว่า อาหาร พืชเส้นใย ยารักษาโรค และอื่นๆ ที่เป็น ความต้ องการของมนุ ษย์ การออกแบบเครื่ องจั กรกลเกษตร ขบวนการการผลิตระบบเกษตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับพืชและสัตว์ รวมทั้ ง การจั ด การในด้ า นธาตุ อ าหารพื ช และของเสี ย ใน ขณะเดียวกันที่ต้องการคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ เป็นการเตรียมให้นักศึกษาเรียนรู้หลักการพื้นฐานการผลิตด้าน การเกษตรโดยพิจารณาพื้นฐานด้านวิศวกรรม วิศวกรเกษตรจะ ประกอบอาชีพที่มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติในอาชีพของตั วเอง และเป็นผู้จัดการในโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิ ตด้ าน การเกษตร การผลิ ตเครื่ องจั กรกลเกษตรต่ างๆ ขบวนการด้ าน

36

อาหาร วิ ศวกรที่ ปรึ กษา ประกอบอาชี พส่ วนตั ว และท างาน หน่วยงานรัฐบาล 7

ข้อเสนอแนะที่สาคัญในการเสวนา “ทิศทางของวิศวกรรม เกษตรเพือ่ การรับมือ ASEAN Economics Community (AEC) 2015” การที่พยายามปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมเกษตรในประเทศ ไทยในอนาคตควรพิจารณาจากสิ่งต่างๆ เหล่านี้ 1) สถานการณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ หลั ก สู ต รในขณะนั้ น เป็นต้นว่า สภาวะการทางานของบัณฑิตผู้จบการศึกษา ไปแล้ ว สถาบั นที่ มี ส่ วนเกี่ ยวข้ องกั บหลั กสู ตร เช่ น สภาวิศวกร 2) งานวิจัยด้านเครื่องจักรกลเกษตรในประเทศไทยยังมี ให้ศึกษาอีกมาก 3) ต้องทาความเข้าใจคาว่า Bio… ให้ดี 4) หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารหลักสูตรมี ความสาคัญมาก 5) ประเทศในแถบอาเซียนที่ใช้คาว่า Department of Biological and Agricultural Engineering มี เ พี ย ง ประเทศเดียว คือ มาเลเซีย และด้วยสาขาวิศวกรรม เกษตรเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ Biological Engineering ดังนั้นก็คงจะไม่มีผลต่อการศึกษาในสาขาวิศวกรรม เกษตรในปี 2015 มากนัก เพียงแต่เตรียมความพร้อม ด้ า นคุ ณ ภาพและเพิ่ ม ความรู้ ด้ า นภาษาอั ง กฤษให้ มากขึ้น 6) ถ้ า จะเปลี่ ย นชื่ อ จริ งก็ ค วรตั้ ง คณะกรรมการศึ ก ษา ในระยะ 15-20 ปีข้างหน้า (Ghaly, 2012) 8 เอกสารอ้างอิง [1] คณะวิ ศวกรรมศาสตร์ ก าแพงแสน มหาวิ ทยาลั ย เกษตรศาสตร์. 2551. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551. [2] คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบั ง. 2552. หลักสูตรวิศวกรรม ศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาวิ ศวกรรมเกษตร หลั กสู ตร ปรับปรุง พ.ศ. 2552. [3] ภาควิ ศ วกรรมเกษตร คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ น. 2550. หลั กสู ตรวิ ศวกรรม ศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาวิ ศวกรรมเกษตร หลั กสู ตร ปรับปรุง พ.ศ. 2550. [4] มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2555. สภาวะการทางาน ของบัณฑิตผู้จบการศึกษาสาขาวิศวกรรมเกษตร มก. สารวจปี พ.ศ. 2555. [5] Ghaly, A. 2012. Personal communication.

39-45-Different Curriculums Related to the Field of Agricultural ...

39-45-Different Curriculums Related to the Field of Agricultural Engineering in Thailand during 2008.pdf. 39-45-Different Curriculums Related to the Field of ...

463KB Sizes 0 Downloads 139 Views

Recommend Documents

Initiative: 1747, Related to the Death Penalty - State of California
Dec 24, 2015 - (If the Proponent files the petition with the county on a date prior to. 06/21/16, the county has eight working days from the filing of the petition to determine the total number of signatures affixed to the petition and to transmit th

Initiative: 1674, Related to the State Flag - State of California
Jun 1, 2015 - Initiative: 1674, Related to the State Flag ... DISPLAY OF STATE FLAG. .... used to create or add to mailing lists or similar lists for any purpose,.

APPENDIX II. A LIST OF VOCABULARY ITEMS RELATED TO THE ...
Energy. The power from something such as electricity or oil, which can do work, such as. providing light and heat. There are different types of energy: solar, ...

Initiative: 1747, Related to the Death Penalty - State of California
Dec 24, 2015 - App.3d 825, 177 Cal.Rptr. 621;. 63 Ops.Cal.Atty.Gen. ... When writing or calling state or county elections officials, provide the official title of the ...

Initiative: 1742, Related to the Legislature - State of California
Dec 16, 2015 - App.3d 825, 177 Cal.Rptr. 621;. 63 Ops.Cal.Atty.Gen. ... When writing or calling state or county elections officials, provide the official title of the ...

Initiative: Random Sample of #1742, Related to the Legislature
May 18, 2016 - Therefore, pursuant to Elections Code section 9030(d), you are required to verify 500 signatures or three percent of the number of signatures ...

Initiative: #1728, Related to the Death Penalty ... - State of California
Jun 17, 2016 - 1. 0. 5. 83.3%. 3. AMADOR. 05/02/16. 05/06/16. 05/6/16. 590. 0. 0.0%. 4. BUTTE. 04/29/16. 05/06/16 06/15/16 Random Due: 6,002. 500. 382.

Mesoscale Features Related to the Blue Mountains Fires of 17 ...
The afternoon of 17 October turned out to be the most destructive when the Blue Mountains was heavily affected with more than 200 houses damaged, although, thankfully, no lives were lost (New South Wales Rural Fire Services 2014). Progression of Fire

Initiative: 1676, Related to the Governorship - State of California
Jun 1, 2015 - App.3d 825, 177 Cal.Rptr. 621;. 63 Ops.Cal.Atty.Gen. ... When writing or calling state or county elections officials, provide the official title of the ...

Initiative: 1784, Related to the Legislature - State of California
Mar 4, 2016 - Pursuant to Elections Code section 9004(c), we transmit herewith a copy of the ... signatures (Elections Code § 336) . ... App.3d 825, 177 Cal.

Initiative: 1798, Related to the Legislature - State of California
Apr 28, 2017 - Pursuant to Elections Code section 9004(c), we transmit herewith a copy of the. Title and Summary ... voters who signed the petition, and to transmit certificate ... 9013, 9020, 9021, and 9022 for appropriate format and type.

Initiative: Random Sample of #1747, Related to the Death Penalty
May 26, 2016 - COUNT. FULL CHECK. SIGS. INVALID DUP. PROJ. VALID. %. 1. ALAMEDA. 0. 0.0%. 2. ALPINE. 05/19/16. 05/19/16 05/19/16 Random Notice:.

Initiative: 1678, Related to the Legislature - State of California
Jun 4, 2015 - App.3d 825, 177 Cal.Rptr. 621;. 63 Ops.Cal.Atty.Gen. ... When writing or calling state or county elections officials, provide the official title of the ...

Initiative: #1742, Related to the Legislature ... - State of California
Jun 27, 2016 - PETITION. SOS. SOS. RANDOM. FILED. REC'D. REC'D. RAW. SAMPLE/. VALID. VALID OR. COUNTY. W/COUNTY RAW. RANDOM. COUNT.

Initiative: 1742, Related to the Legislature - State of California
Dec 16, 2015 - signatures affixed to petitions and to transmit total to the Secretary of ... e. Last day for county to determine total number of qualified voters who ...

Initiative: 1678, Related to the Legislature - State of California
Jun 4, 2015 - to determine the total number of signatures affixed to the petition and to transmit ... e. Last day for county to determine total number of qualified.

Initiative: 1784, Related to the Legislature - State of California
Mar 4, 2016 - to determine the total number of signatures affixed to the petition and to transmit ... e. Last day for county to determine total number of qualified.

Initiative: 1676, Related to the Governorship - State of California
Jun 1, 2015 - Pursuant to Elections Code section 9004(c), we transmit herewith a copy of the ... signatures (Elections Code § 336) . ... App.3d 825, 177 Cal.

Initiative: 1706, Related to the Legislature - State of California
Sep 29, 2015 - to determine the total number of signatures affixed to the petition and to transmit ... e. Last day for county to determine total number of qualified.

Initiative: 1747, Related to the Death Penalty - State of California
Dec 24, 2015 - ALEX PADILLA | SECRETARY OF STATE | STATE OF CALIFORNIA ... CA 95814 | Tel 916.657.2166 | Fax 916.653.3214 | www.sos.ca.gov.

Initiative: 1706, Related to the Legislature - State of California
Sep 29, 2015 - App.3d 825, 177 Cal.Rptr. 621;. 63 Ops.Cal.Atty.Gen. ... When writing or calling state or county elections officials, provide the official title of the ...

Initiative: #1728, Related to the Death Penalty ... - State of California
Jun 17, 2016 - SISKIYOU. 05/02/16. 05/02/16. 596. 0. 0.0%. 48. SOLANO. 04/28/16. 04/29/16. 7,280. 0. 0.0%. 49. SONOMA. 04/28/16. 05/09/16 05/14/16. 11,759. 500. 360. 140. 0. 8,466. 72.0%. 50. STANISLAUS. 04/28/16. 05/02/16 05/23/16. 6,605. 500. 427.

Initiative: 1716, Related to the Minimum Drinking ... - State of California
Oct 29, 2015 - App.3d 825, 177 Cal.Rptr. 621;. 63 Ops.Cal.Atty.Gen. ... When writing or calling state or county elections officials, provide the official title of the ...

Initiative: 1716, Related to the Minimum Drinking ... - State of California
Oct 29, 2015 - Minimum number of signatures required: . ... signatures affixed to petitions and to transmit total ... (Elections Code §§ 9030(d) and (e))…