###()%&$

             '"  #!"%

   

Book Review "Statistics: A Very Short Introduction" 1 Received:August 1, 2013

Piyarat Thampitak2 Accepted: August 8, 2013

Abstract This article intends to introduce the textbook named "Statistics: A Very Short Introduction" written by Hand, David J., and translated by Wiroj Rujijanakul, which aims to exhaustively present the concepts and the usages of modern statistics continually developed from the traditional statistics. This book gives the explanation about the overall concepts and applications of various types of statistics instead of the in-depth details of each statistical calculation. This characteristic makes this book outstanding from the general statistical textbooks which often explain only the concept and method of each statistics in detail. The ignorance of the overall concepts and applications of statistics might bring about the negative attitude to statistics, the anxiety of statistics learning, and also the denial of the usefulness of statistics learning. This book points out the applications of statistics to the data in both daily life and academic contexts with the explicit and various examples, since the author expected to enhance the readers’perception of statistics importance and value to their real lives. This book, therefore, is beneficial in academic research for developing the knowledge about appropriate selection of statistics for the data analysis. Furthermore, it is practically helpful for students, researchers, and ordinary people to utilize statistics more effectively and extensively.



Keywords: statistic, data collection, probability theory, estimation, use of statistics



 1 2

Written by Hand, David J., Translated by Wiroj Rujijanakul Lecturer in Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University. E-mail: [email protected]

วารสารพฤติกรรมศาสตร์ เพือ การพัฒนา  ปี ที  ฉบับที  มกราคม !  

ลิขสิทธิ%โดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

   

             '"  #!"%

###()%&$

บทวิจารณหนังสือ เรื่อง “สถิติ: ความรูฉบับพกพา” 

ปยรัฐ ธรรมพิทักษ

บทคัดยอ  บทความนี้มีจุดมุงหมายเพื่อแนะนําหนังสือ "สถิติ: ความรูฉบับพกพา” เขียนโดย แฮนด1 เดวิด เจ. แปลโดย วิโรจน รุจิจนากุล เปนหนังสือที่นําเสนอถึงแนวคิดและการใชประโยชนของสถิติยุคใหมที่เชื่อมโยงมาจาก สถิติดั้งเดิม โดยมีจุดเดนอยูที่การแสดงใหเห็นถึงภาพรวมมากกวาการลงรายละเอียดเชิงลึก เนื่องจากที่ผานมา การ เรียนรูเกี่ยวกับสถิติในชั้นเรียนทุกระดับมักมุงเนนไปที่วิธีการและรายละเอียดของการคํานวณตาง ๆ ซึ่งมักไดรับ การสะทอนกลับจากผูเรียนสวนหนึ่งวามีความซับซอน ยุงยาก ยากตอการทําความเขาใจ และมองไมเห็นประโยชน ที่แทจริงของการเรียนรูเกี่ยวกับวิชาสถิติ แตหนังสือเลมนี้ไดนําเสนอใหเห็นถึงความสําคัญของสถิติในฐานะที่เปน เครื่องมือสําคัญในการศึกษาคนหาความรูความจริง รวมถึงประโยชนตาง ๆ ที่มีตอการดําเนินชีวิตของคนในทุก สาขาวิชาชีพ หนังสือเลมนี้จึงเปนประโยชนทั้งทางดานวิชาการในแงการเลือกใชสถิติในการวิจัยเพื่อสรางองค ความรูไดอยางเหมาะสม เปนประโยชนในทางปฏิบัติใหกับนักเรียนนักศึกษา นักวิจัย และบุคคลทั่วไปในการใช ประโยชนจากสถิติเพื่อตอบสนองตอการดําเนินชีวิตในสังคมในแงมุมที่กวางขวางขึ้นไดตอไป   คําสําคัญ: สถิติ การเก็บรวบรวมขอมูล ทฤษฎีความนาจะเปน การประมาณคา การใชสถิติ    

 E

เขียนโดย แฮนด1เดวิด เจ. แปลโดย วิโรจน รุจิจนากุล อาจารยประจําสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

F

วารสารพฤติกรรมศาสตร์ เพือ การพัฒนาปี ที ฉบับที มกราคม ! 



ลิขสิทธิ%โดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

###()%&$

             '"  #!"%

บทนํา  ในสังคมปจจุบันนี้ การดําเนินชีวิตในสังคม ส ว นใหญ ข องมนุ ษ ย ล ว นมี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ สถิ ติ ทั้งสิ้น ไมวาจะเปนคําวา “สถิติ” ที่หมายถึง ตัวเลข แสดงขอเท็จจริงใด ๆ หรือขอความแสดงถึงปริมาณ มากนอยของสิ่งตาง ๆ หรือคําวา “สถิติ” ที่หมายถึง วิ ช าทางคณิ ต ศาสตร ที่ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารเก็ บ รวบรวมข อ มู ล ด า นตั ว เลขอย า งเป น ระบบ และ สรุ ป ผลด ว ยการวิ เ คราะห ข อ มู ล ที่ ทํ า ให ท ราบถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะของข อ มู ล เหล า นั้ น (ลั ด ดาวั ล ย เกษม เนตร1FJJEKทั้งนี้ วิทยาการตาง ๆ ที่มีอยูในปจจุบัน ในหลายสาขาทั้งทางการแพทยยุคใหม การทดลอง ทางวิ ทยาศาสตร ต าง ๆ การทํา งานดา นวิ ศวกรรม สถาป ต ยกรรม เกษตรกรรม อุ ต สาหกรรมอาหาร เศรษฐศาสตร การเงิน การบัญชี หรือการวิจัยดาน สังคมศาสตรและพฤติกรรมศาสตรใด ๆ ก็ตาม ลวน แต ต อ งใช ส ถิ ติ เ ข า มามี ส ว นในการศึ ก ษาและการ ประยุกตใชทั้งสิ้น เพื่อใหเกิดผลผลิตและผลลัพธที่มี ประสิทธิ ผลในการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะในแงของ นั ก วิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณที่ ต อ ง การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ปรากฏการณ ใ นสั ง คมที่ นั บ วั น จะมี โ ครงสร า งของ ข อ มู ล และเหตุ ก ารณ ที่ ซั บ ซ อ นมากขึ้ น กว า ในอดี ต นั ก วิ จั ย พบว า มี ตั ว แปรจํ า นวนมากที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ป ญ หาการวิ จั ย ที่ ต อ งการศึ ก ษา การใช ส ถิ ติ แ บบ ดั้ ง เดิ ม ที่ มี เ พี ย งสองตั ว แปรอาจไม เ พี ย งพอต อ การศึกษา จึงตองเลือกใชสถิติที่ซับซอนมากขึ้น ไดแก การวิเคราะหหลายตัวแปร (LMNOPQRSPROTRURNVWPWK Xสุวิมล ติรกานันท1FJJYKนอกจากนี้อาจมีประเด็นที่ ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง เพิ่ ม เติ ม ในเรื่ อ งระดั บ โครงสร า งของ ขอมูลที่เปนระดับชั้นลดหลั่นกัน โดยขอมูลมีการซอน และอยูภายใตโครงสรางที่ใหญกวา เชน การศึกษาตัว แปรเกี่ยวกับพนักงานและหนวยงาน ทําใหตองอาศัย วารสารพฤติกรรมศาสตร์ เพือ การพัฒนา  ปี ที  ฉบับที  มกราคม !  

   

สถิ ติ ที่ เ รีย กว า การวิ เ คราะห พ หุ ระดั บ (LMNOPNTQTN RURNVWPWK เขามาชวยในการวิเคราะหขอมูลและหา ขอสรุป (ศิริชัย กาญจนวาสี 1FJJZKสถิติเหลานี้จะมี ความซับซอนในการทําความเขาใจและการศึกษาที่ มากขึ้นสําหรับผูใชงาน สงผลใหการเรียนการสอนใน ปจจุบันมีการบรรจุวิชาสถิติลงไปอยางแพรหลายไม วาจะเปนหลักสูตรทางดานวิทยาศาสตร สังคมศาสตร และพฤติกรรมศาสตร   อย า งไรก็ต าม สิ่ ง ที่มั ก ได พ บอยู บ อ ยครั้ ง คือ นิสิตนักศึกษาหรือผูเรียนสถิติรวมทั้งบุคคลทั่วไป มั ก มี เ จตคติ ใ นทางลบต อ สถิ ติ โดยมั ก ได รั บ การ สะทอนจากผูเรียนสวนหนึ่งวามีความซับซอน ยุงยาก ยากตอการทําความเขาใจ และมองไมเห็นประโยชนที่ แ ท จ ริ ง ข อ ง ก า ร นํ า ส ถิ ติ ม า ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ใ น ชีวิตประจําวันนอกเหนือไปจากการทํางานทางดาน วิชาการเทานั้น นอกจากนี้ ผลการวิจัยจํานวนหนึ่ง พบว า กลุ ม นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาทั้ ง ระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละ ระดับบัณฑิตศึกษามีความวิตกกังวลตอการเรียนวิชา สถิติ (บรรจงเศก ทรัพยโสภา1FJJEKและมีงานวิจัย ที่พบวาตัวแปรเชิงสาเหตุที่สําคัญตัวแปรหนึ่งที่มีผล ตอความวิตกกังวลในการเรียนวิชาทางคณิตศาสตร คือ ตัวแปรเจตคติที่ผูเรียนมีตอวิชาทางคณิตศาสตร (เบ็ญจะ นิสสัยสุข1FJZ\]EKในความเปนจริงแลว สิ่งเหลานี้อาจเกิดขึ้นจากการที่ในอดีตที่ผานมา การ จัด การเรี ย นการสอนเกี่ ย วกั บ วิ ช าสถิ ติ ใ นชั้ น เรี ย น เกือบทุกระดับมักมุงเนนไปที่วิธีการและรายละเอียด ของการคํ า นวณต า งๆ เป น หลั ก โดยอาจไม ไ ด ใ ห ความสํ า คั ญ กั บ การเชื่ อ มโยงให เ ห็ น ภาพรวมของ พั ฒ นาการทางสถิ ติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ว า มี จุ ด ตั้ ง ต น อย า งไร สถิ ติ ที่ มี ค วามซั บ ซ อ นมากขึ้ น นั้ น เกิ ด จากอะไร สอดคลองไปกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางไร บาง ทําใหเกิดความจําเปนที่ตองพัฒนาสถิติยุคใหมที่ ลิขสิทธิ%โดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

   

             '"  #!"%

ซับซอนมากขึ้นมารองรับเพราะอะไรทําใหผูเรียนมอง ไม เห็ น ความจํ า เป น และมองไม เ ห็น ความเชื่ อ มโยง ระหวางสถิติกับเรื่องราวตาง ๆ ที่หมุนอยูรอบตัวเขา ซึ่ง จริ ง ๆ แลว ผูเ รี ยนตา งก็ สั มผั สเกี่ย วขอ งกั บสถิ ติ ตาง ๆ อยูบอยครั้ง ขณะที่ตํ าราเกี่ยวกับสถิ ติสว น ใหญ จ ะแยกตามระดั บ ของสถิ ติ แ ต ล ะกลุ ม อย า ง ชัดเจน โดยแยกตามประเภทความซับซอนของสถิติ เชน ตําราสถิติเบื้องตน ตําราสถิติหลายตัวแปร ตํารา สถิ ติ พ หุ ร ะดั บ เป น ต น ซึ่ ง การเรี ย นการสอนสถิ ติ สําหรับผูเรียนแตละกลุมก็จะแยกกันไปตามสถิติแต ละประเภทเหล า นี้ เ ช น กั น ทํ า ให ผู เ รี ย นในระดั บ บัณฑิ ตศึก ษาบางกลุมอาจต องเรียนรูสถิ ติหลายตั ว แปร โดยที่ไมเคยไดเรียนรูเกี่ยวกับสถิติเบื้องตนมา ก อ น ส ง ผลให ผู เ รี ย นอาจไม เ ข า ใจนิ ย ามเบื้ อ งต น พื้นฐานที่มาของทฤษฎีที่จําเปนตอการเรียนสถิติใน ระดับที่สูง ขึ้น เชน ทฤษฎีความนาจะเปน ที่มาของ ทฤษฎีก ารประมาณคาแต ละประเภท สง ผลใหเกิ ด ความเขาใจอยางไมถองแท คือ เขาใจเฉพาะวิธีการ คํานวณ แตไมเขาใจวาคํานวณไปเพื่ออะไร รวมถึง การที่ ใ นอดี ต ไม มี ค วามก า วหน า ของโปรแกรม คอมพิวเตอรตาง ๆ ที่เขามาชวยในการคํานวณทาง สถิติมากนัก ทําใหผูเรียนตองเผชิญกับประสบการณ การเรี ย นสถิ ติ ที่ ต อ งมี ก ารคํ า นวณที่ ซั บ ซ อ นและ ยากลําบาก สิ่งเหลานี้สงผลใหบุคคลสวนหนึ่งเกิดเจต คติทางลบกับสถิติ และทําใหไมประสบความสําเร็จใน การทําความเขาใจและนําสถิติมาใชในการดําเนินชีวิต  หนังสือ "สถิติ: ความรูฉบับพกพา” เปน หนังสือที่สามารถชวยลดปญหาในการเกิดเจตคติทาง ลบตอสถิติของบุคคลไดเปนอยางดี โดยที่หนังสือเลม นี้ ไ ม ไ ด มี เ นื้ อ หาที่ เ ป น การเจาะลึ ก ถึ ง หลั ก การและ วิธีการเชิงลึกในการคํานวณและวิเคราะหขอมู ลดวย สถิติแตละชนิด เปน สิ่งที่ตําราทางสถิติที่ มีอยูทั่วไป วารสารพฤติกรรมศาสตร์ เพือ การพัฒนาปี ที ฉบับที มกราคม ! 

###()%&$

สามารถใหขอมูลที่สมบูรณไดเพียงพออยูแลว จุดเดน ของหนั ง สื อ เล ม นี้ อ ยู ที่ ก ารนํ า เสนอถึ ง แนวคิ ด และ หลักการของสถิติทั้งแนวคิดดั้งเดิมของสถิติจนกระทั่ง ถึงสถิติยุคใหมที่เกี่ยวของกับขอมูลในชีวิตประจําวัน และขอมูลทางวิชาการ แสดงใหเห็นอยางชัดเจนถึง พั ฒ นาการของการเกิ ด สถิ ติ แ ต ล ะประเภทที่ สอดคลองไปกับปรากฏการณจริงทางสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปในแตละยุคสมัย โดยเฉพาะบริบทของ การวิจัยทางสังคมศาสตรและพฤติกรรมศาสตร มีการ แสดงใหเห็นถึงความเชื่อมโยงหรือภาพรวมมากกว า การลงรายละเอียดเชิงลึก มีการใชภาษาเขียนที่เขาใจ งาย ไมเปนภาษาทางวิชาการจนเกินไป รวมถึงมีการ ยกตัวอยางการนําไปใชที่เปนสถานการณจริงที่เขาใจ ไดงายและเห็นความแตกตางที่ชัดเจนระหวางการใช สถิ ติ แ ต ล ะประเภท ทํ า ให ผู อ า นเห็ น แนวทางการ เลื อ กใช ส ถิ ติ ที่ เ หมาะสมกั บ ป ญ หาการวิ จั ย ทาง สังคมศาสตรและพฤติกรรมศาสตร หรือขอมูลแตละ รูปแบบไดชัดเจนขึ้น  เนื้อหา  เมื่ อ กล า วในภาพรวมแล ว หนั ง สื อ เล ม นี้ ประกอบดวยเนื้อ หาจํ านวน ^ บท เรี ยงลํ าดับ จาก การสร างความเข าใจพื้น ฐานเบื้ องตน เกี่ย วกับ สถิ ติ และการใชสถิติ ตามดวยพัฒนาการของการเกิดสถิติ ประเภทตาง ๆ เรีย งลํ าดับ ตามลักษณะของป ญ หา การวิ จั ย หรื อ ป ญ หาที่ สั ง คมต อ งการค น หาคํ า ตอบ เริ่มตนจากในบทที่ E ผูเขียนไดกลาวถึงภาพรวมของ การนําสถิติมาใชในชีวิตประจําวันรอบ ๆ ตัวมนุษยใน ทุกสาขาอาชีพ โดยตั้งตนจากการอธิบายนิยามของ สถิ ติ ใ ห เ ชื่ อ มโยงกั บ การใช ง านจริ ง ในสั ง คม การ ชี้ใหเห็นถึงความเขาใจผิด หรือเจตคติเชิงลบที่บุคคล ทั่ ว ไปมี ต อ สถิ ติ เช น ความกลั ว สถิ ติ ความเคลื อ บ 

ลิขสิทธิ%โดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

###()%&$

             '"  #!"%

แคลงไมเชื่อใจในการใชสถิติ จากนั้นจึงอธิบายถึงสถิติ ในระดับมหภาความีความหมายที่กวางขวางกวาการ วิ เ คราะห ข อ มู ล ทางคณิ ต ศาสตร แต ห มายถึ ง การ เรียนรูจากขอมูลตั้งแตการวางแผนรวบรวมขอมูลไป จนถึงการสรุปผลในขั้นตอนสุดทายเพื่อใหไดคําตอบที่ ต อ งการ สรุ ป ด ว ยการยกตั ว อย า งการนํ า สถิ ติ ม า ประยุ ก ต ใ ช เ พื่ อ การแก ป ญ หาในหลากหลายสาขา เช น การกรองอี เ มลขยะ การตั ด สิ น คดี ค วามทาง การแพทย การผลิตสารเคมี หรือการวิเคราะหความ พึงพอใจของลูกคา เปนตน จากนั้น เมื่อผูอานไดทํา ความเขาใจเกี่ยวกับหัวใจของการเขาใจสถิติยุคใหม แล ว ในบทที่ F ผู เ ขี ย นจึ ง เริ่ ม เข า สู ก ารอธิ บ าย หลักการของการพรรณนาขอมูลอยางงาย หรือสถิติ เชิงพรรณนา (_TW`SPaOPQT WOROPWOP`WK ซึ่งมีจุด ที่ แตกตางจากหนัง สือเรียนสถิติทั่วไปคือ ไมไดมีการ อธิบายเชิงลึกถึงวิธีการคํานวณ อธิบายใหเห็นวาสถิติ เชิงพรรณนาแตละตัวมีความเกี่ยวของกับคุณลักษณะ ของขอมูลอยางไรบาง และสถิติแตละตัวแตกตางกัน อยางไร ควรเลือกใชแบบไหน โดยใชภาษาและการ เปรียบเทียบที่เขาใจงาย  เมื่ อ มาถึ ง บทที่ Y และบทที่ Z เป น การ กลาวถึงองคประกอบที่สําคัญของวิชาสถิติ ไดแก การ เก็บรวบรวมขอมูล และทฤษฎีความนาจะเปน ซึ่งทั้ง สองสว นนี้เปน สวนที่มี ความสําคัญต อความถูกตอ ง แมนยําของการสรุปผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ โดยในบทที่ Y ไดกลาวถึงหลักการเก็บรวบรวมขอมูล ที่ดี ที่เริ่มจากการชี้ใหเห็นลักษณะของขอมูลที่ไมดี F ประเภท ได แ ก ข อ มู ล ที่ ไ ม ส มบู ร ณ กั บ ข อ มู ล ที่ ไ ม ถูกตอง โดยไดกลาวถึงความลําเอียงประเภทตาง ๆ ความจํ า เป น ของการดํ า เนิ น การกั บ ข อ มู ล ก อ น ประมวลผล และวิธีการจัดการกับขอมูลที่หายไปแบบ ตาง ๆ โดยยกตัวอยางขอมูลสถานการณจริงประกอบ วารสารพฤติกรรมศาสตร์ เพือ การพัฒนา  ปี ที  ฉบับที  มกราคม !  

   

ทั้งนี้เพื่อใหการวิจัยตาง ๆ ไดรับขอมูลที่ดีเปนปจจัย นําเขาของการวิจัย ไมใชการนํา “ขยะ” ใสเขาไป แล วก็ ไ ด “ขยะ” กลับ ออกมา จากนั้น ในบทที่ Z ผูเขียนจึงไดกลาวถึงหลักการสําคัญของการใชสถิติ ทุ ก ปร ะ เ ภ ท นั่ น คื อ ทฤ ษฎี คว า มน าจ ะ เ ป น (bScdRdPNPOVOeTcSVK โดยอธิบายตั้งแตความหมาย ของความนาจะเปนพื้นฐาน ตัวอยางของเหตุการณ ความน า จะเป น หลายแบบ กฎต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง จากนั้ นได มีการเชื่ อมโยงไปใหเ ห็นถึ งกฎของความ น า จะเป น ที่ ซั บ ซ อ นขึ้ น เช น ทฤษฎี บ ทของเบย (Bayes’s theorem) มีการอธิบายรูปแบบ ความ แตกตางและตัวอยางของการแจกแจงตัวแปรสุมแบบ ตาง ๆ ที่มักพบเห็นในตํา ราสถิติ เชน การแจกแจง แบบเบอรนู ลลี การแจกแจงแบบทวินาม การแจก แจงแบบปวซอง เชื่อมโยงมาถึงการแจกแจงแบบปกติ ที่คุนเคยกันมากที่สุด จากเนื้อหาในบทที่ Y และ Z จะนํ า มาซึ่ ง เนื้ อ หาในบทที่ J คื อ การประมาณค า แบบตาง ๆ และการอนุมานถึงความเปนจริงที่เกิดขึ้น ในสั ง คมในบริ บ ทต า ง ๆ โดยอาศั ย ข อ มู ลจากกลุ ม ตัวอยาง ซึ่งความเปนจริงเหลานั้นเปนสิ่งที่นักวิจัยไม สามารถสั ง เกตเห็ น ได ทั้ ง หมดอย า งแท จ ริ ง โดย ยกตัวอยางจากหลายสาขา เชน การวัดความเร็วของ แสง การทดลองวิ ธี รั ก ษา การสุ ม ตั ว อย า งเพื่ อ สัม ภาษณ ป ระชากรของพื้ น ที่ ห นึ่ ง ๆ เป น ต น โดย ผู เ ขี ย นได แ นะนํ า และอธิ บ ายให ผู อ า นได รู จั ก การ ประมาณคาแบบตาง ๆ เชน การประมาณคาแบบจุด (bcPUO TWOPkROPcUK การประมาณคาดวยวิธีความ เป น ไปได ม ากที่ สุ ด (LRlPkMk NPnTNPeccp TWOPkROPcUK การประมาณคาดวยวิธีกําลังสองนอย ที่สุด (qTRWOWuMRSTWTWOPkROPcUKการประมาณคา แบบเบย (vRVTWRPU TWOPkROPcUK รวมถึ ง การ ประมาณคาแบบชวง (wUOTSQRNTWOPkROPcUKเปนตน ลิขสิทธิ%โดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

   

             '"  #!"%

ชวยให ผูอ านที่ เคยเรีย นสถิ ติม าแลว และคุน เคยกั บ คําศัพทเหลานี้ไดเขาใจอยางชัดเจนขึ้นวา วิธีการแต ละประเภทคื อ อะไรและแตกต า งกั น อย า งไร โดย จุด มุ ง หมายของบทนี้ต อ งการให ผู อา นตระหนั ก ว า การอนุมานหรือการตัดสินใจผลที่ไดจากการทดสอบ ทางสถิตินั้น เปนไปไดหลายทางตามวิธีการทางสถิติ หลายแบบที่ มี ใ ห เ ลื อ กใช ผู อ า นต อ งเรี ย นรู ว า สถิ ติ แบบใดหรือการประมาณคาประเภทใดจะเหมาะสม และสมเหตุ ส มผลกั บ ข อ มู ล และที่ม าของข อ มู ล นั้ น มากที่สุด  ในบทที่ x เปนการชี้ใหเห็นถึงการสรุปผล การใชสถิติเชื่อมโยงกับขอมูลจริงในรูปของโมเดลและ วิธีเชิงสถิติที่สําคัญพอสังเขปเพื่อใหเกิดความเขาใจใน ขอมูล โดยผูเขียนตั้งตนจากการให นิยามของโมเดล ทางสถิติ และอธิบายถึงโมเดลทางสถิติประเภทตางๆ ที่ แ ต ล ะประเภทสามารถพบได ใ นแต ล ะศาสตร ที่ แตกตา งกัน ไป เชน โมเดลเชิงกลไก (LT`eRUPWOP` kcpTNKใชแพรหลายในวิทยาศาสตร สวนโมเดลเชิง ประจั กษ (zkaPSP`RN kcpTNK นิ ย มใช ใ นสาขา สัง คมศาสตรและพฤติกรรมศาสตร นอกจากนี้ยัง มี การจําแนกเปนโมเดลเชิงสํารวจกับโมเดลเชิงยืนยัน จะใชแตกตางกันตามวัตถุประสงคของการวิจัย เปน ตน จากนั้น ผูเขียนไดนําเสนอใหเห็นถึงแนวทางการ นําสถิติไปใชจริง โดยแนะนําพอสังเขปถึงสถิติทั้งแบบ ดั้งเดิมและยุคใหมตาง ๆ เชน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ การวิเคราะหถดถอย การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะหความอยูรอด (|MSQPQRNRURNVWPWKการ วิ เ คราะห โ มเดลเชิ ง เส น แบบทั่ ว ไป (}TUTSRNP~Tp NPUTRS kcpTNK การวิ เ คราะห ก าร จํ า แนกกลุ ม (_PW`SPkPURUO RURNVWPWK การวิเคราะหถดถอยเชิง โ ล จิ ส ติ ก ( qcPWOP` STSTWWPcU RURNVWPWK ก า ร วิ เ คราะห ก ารจั ด กลุ ม ( €NMWOTS RURNVWPWK การ วารสารพฤติกรรมศาสตร์ เพือ การพัฒนาปี ที ฉบับที มกราคม ! 

###()%&$

วิเคราะหองคประกอบ (R`OcS RURNVWPWK และการ วิเคราะหอนุกรมเวลา (‚PkTWTSPTWRURNVWPWKเปน ตน โดยมีการอธิ บายถึงแตละแนวคิดอยางคราว ๆ เพื่อชี้ใหเห็นตัวอยางที่ชัดเจนวาสถิติแตละชนิดเหมาะ กับวัตถุประสงคของการศึกษาแบบใด ในบทสุดทาย เปนการแนะนําใหผูอานไดรูจักและเห็นความสําคัญ ของการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการใชงานสถิติ ยุคใหม ทั้งในแงของการคํานวณคาสถิติและในแงของ การใชกราฟกในการแสดงผลการวิเคราะหทางสถิติได อยางชั ดเจนและทํา ใหสามารถเขาใจปรากฏการณ ตาง ๆ รอบตัวไดดียิ่งขึ้น  บทสรุปและขอเสนอแนะในการนําไปใช  หนังสือเลมนี้เปนหนังสือเกี่ยวกับสถิติและ วิ ช าสถิ ติ ที่ ไ ม ไ ด มี เ ป า หมายเพื่ อ ใช เ ป น คู มื อ ใน การศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางสถิติในเชิงลึก แต เปนหนังสือที่นําเสนอเนื้อหาของสถิติทั้งสถิติในยุ ค ดั้งเดิมและสถิติในยุคใหมในภาพรวมกวาง ๆ ไวอยาง ครอบคลุม ทําใหผูอานสามารถมองเห็นจุดเชื่อมโยง ระหวา งสถิติแ ตล ะประเภทได อยา งชั ดเจน รวมถึ ง สามารถเชื่อมโยงสถิติหลายประเภทเขากับขอมูลหรือ สถานการณจริงในสังคมไดอยางสอดคลองกัน ซึ่งจุด นี้ จ ะช ว ยทํ า ให บุ ค คลเล็ ง เห็ น ถึ ง ประโยชน แ ละ ความสําคัญของสถิติที่มีตอการดําเนินชีวิตในสังคมได ดียิ่งขึ้นจากที่เดิมอาจมีเจตคติในเชิงลบหรือมีความไม เชื่อมั่นในการใชสถิตินอกจากนี้ ยังชวยใหบุคคลเกิด ความเขาใจถึงความจําเปนที่ตองศึกษาสถิติขั้นสูงหรือ สถิ ติ ที่ มี ค วามซั บ ซ อ นมากขึ้ น เพื่ อ ให ส ามารถ ตอบสนองตอความซับซอนของโลกในยุคปจจุบันและ เพิ่มความแมนยําในการอนุมานปรากฏการณจริงที่ เกิดขึ้นจากการศึกษาจากกลุมตัวอยาง หนังสือเลมนี้ จึงกอ ใหเกิ ดประโยชน ทั้ง ทางดานวิชาการเกี่ ยวกั บ 

ลิขสิทธิ%โดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

###()%&$

             '"  #!"%

การเลือกใชสถิติในการวิ จัยเพื่อสรางองคความรูไ ด อยางเหมาะสม และเปนประโยชนในทางปฏิบัติใหกับ ผูเรียนสถิติ นักวิจัย และบุคคลทั่วไปในการนําสถิติไป ใชป ระโยชน ในหลากหลายสาขามากขึ้ น อยางไรก็ ตาม ผูที่จะอานหนังสือเลมนี้ไ ดอยางเกิดประโยชน มากที่สุด จําเปนตองมีความรูหรือรูจักกับสถิติทั้งยุค ดั้งเดิมและยุคใหมมาแลวพอสมควร เพื่ อใหเมื่ออาน หนังสือเลมนี้แลวจะไดสามารถเขาใจถึงสถิติที่ผูเขียน ไดกลาวถึงในหนังสือได เพราะหนังสือเลมนี้ไมไดลง รายละเอียดในเชิงลึกของสถิติแตละประเภท รวมถึง ผูอานจะไดสามารถนําการประยุกตใชสถิติที่ไดจาก หนัง สือเลมนี้ไปเติมเต็มความเขาใจของตนเกี่ย วกับ หลั ก การของสถิ ติ แ ต ล ะประเภทได อ ย า งชั ด เจน มากขึ้น  เอกสารอางอิง บรรจงเศก ทรัพยโสภา XFJJEK ปจจัยที่สงผลตอ ความวิตกกังวลในวิชาสถิติ และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาสถิติของนิสิตคณะ ครุศาสตร: การวิเคราะหกลุมพหุ. วิทยานิพนธ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา. กรุงเทพฯ]จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.  

วารสารพฤติกรรมศาสตร์ เพือ การพัฒนา  ปี ที  ฉบับที  มกราคม !  

   

เบ็ญจะ นิสสัยสุข. XFJZ\K ปจจัยที่มีอิทธิพลตอ ความวิตกกังวลในการเรียนวิชาคณิตศาสตร พื้นฐานของนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ23 งานวิจัยสวนบุคคล. กรุงเทพฯ] สํานักประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ  ลัดดาวัลย เกษมเนตร. XFJJEK  สถิติเพื่อการ วิเคราะหขอมูลทางพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ]สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศิริชัย กาญจนวาสี. XFJJZK การวิเคราะหพหุระดับ (พิมพครั้งที่ JK   กรุงเทพฯ] โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุวิมล ติรกานันท. XFJJYK การวิเคราะหตัวแปรพหุ ในงานวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ] โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. แฮนด, เดวิด เจ XFJJJK สถิติ: ความรูฉบับพกพา 9;<=<>?<>@?A3B3CDEF3;GHE<3IJHJM2 (วิโรจน รุจิจนากุล1ผูแปลK กรุงเทพฯ] โอเพนเวิลด  

ลิขสิทธิ%โดย สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

42.pdf

book points out the applications of statistics to the data in both daily life and academic ... readers'perception of statistics importance and value to their real lives.

119KB Sizes 0 Downloads 294 Views

Recommend Documents

No documents