สานพลังประชาสังคมลุม่ น้าโขง จดหมายข่าว ศปส.

มกราคม - มีนาคม 2559

ห ัวข้อข่าว 

2

เปิ ดบ้าน ศปส. :

ั ทัศน์ แนะนาการทางาน วิสย ยุทธศาสตร์ ศูนย์ประชาสงั คมฯ

4 11





เราคิด เราทา :

กิจกรรม และโครงการ ของ ศปส.

14

ร่วมคิด ร่วมสร้าง :

องค์กรภาคประชา สงั คมกับการริเริม ่ และพัฒนาธุรกิจ เพือ ่ สงั คม 

ั แวดวงภาคประชาสงคม:

สนั่น ชูสกุล กับความทรงจาการพัฒนาคนรุน ่ ใหม่

16  แนะนาองค์กร ภาคประชา ั สงคม :

20



พล ังแห่ง ิ ป์: ศล

ิ ป์ สวน อักษร ศล

มูลนิธป ิ ระชาสังคมจังหวัด อุบลราชธานี จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

เปิ ดบ้าน ศปส. ศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ หรือ ศปส. เป็ นองค์กรภายใต ้การกากับของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศปส.ถูกจัดตัง้ ขึน ้ เมือ ่ ปี พ.ศ. 2556 ภายใต ้โครงการ สะพานเสริมสร ้างประชาธิปไตย โดยการสนับสนุนจากองค์การเพือ ่ การพัฒนา ระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) มีเป้ าหมายเพือ ่ เป็ นศูนย์กลางใน การเสริมสร ้างศักยภาพองค์กรภาคประชาสังคมและองค์กรเอกชน สาธารณประโยชน์ให ้มีความเข ้มแข็งและยัง่ ยืน

ยุทธศาสตร์ 3 ด้าน 1. สร้างผูน ้ ารุน ่ ใหม่ ศปส.ได ้ประสานกับคณะมนุษยศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพือ ่ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีและปริญญา โทให ้กับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทีม ่ ค ี วามสนใจจะก ้าวสู่

ั ัศน์ ศปส. วิสยท “มุง่ มัน ่ ทีจ่ ะเป็ นสถาบันผู ้อุทศ ิ

ให ้กับการเสริมสร ้างทักษะ และคุณภาพของผู ้นารุน ่ ใหม่ และผู ้บริหารขององค์กรประชา สังคมและองค์กรเอกชนสาธารณ ประโยชน์ทัง้ ในระดับท ้องถิน ่ ระดับประเทศ และระดับนานา ชาติ ให ้เกิดการบริหารจัดการ สาธารณะทีด ่ ี มีความเป็ นธรรม ่ วามอยูด และนาสังคมไปสูค ่ ม ี ส ี ข ุ อย่างยัง่ ยืน

การเป็ นผู ้นาองค์กรภาคประชาสังคมและองค์กรเอกชนสาธารณ ประโยชน์ ทีม ่ ค ี วามรู ้ มีทก ั ษะ เท่าทันต่อสถานการณ์โลก 2. สร้างองค์กรแห่งการเปลีย ่ นแปลง ้ ศปส.ได ้จัดทาหลักสูตรอบรมระยะสัน สาหรับผู ้บริหารองค์กรภาคประชาสังคมและ องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ ึ ษาสาธารณะ ้ ทีก 3. สร้างพืน ่ ารศก ศปส.จะสร ้างพืน ้ ทีส ่ าธารณะในรูปแบบ การสัมมนาและการบรรยายสาธารณะ เพือ ่ เสริมสร ้างกระบวนการเรียนรู ้และเสริมสร ้าง ศักยภาพภาคประชาสังคมและองค์กรเอกชน สาธารณประโยชน์

งานบริการ 3 ด้าน ั้ 1. หล ักสูตรการฝึ กอบรมระยะสน ด ้านการบริหารจัดการองค์กรภาคประชา สังคมและองค์กรพัฒนาเอกชน ทีส ่ ามารถ พัฒนาหรือปรับให ้สอดคล ้องกับความต ้องการของแต่ละ กลุม ่ เป้ าหมาย (Customized program) และผู ้เรียนสามารถเก็บ สะสมชัว่ โมงเรียนตามหลักสูตรปริญญาโท ที่ ศปส.จัดขึน ้

สร ้างผู ้นารุ่นใหม่ สร ้างองค์กรแห่งการเปลีย ่ นแปลง การศึกษาสาธารณะ จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

2

2. หล ักสูตรการเรียนการสอน 

ระด ับปริญญาตรี

ศปส.ร่วมกับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (พัฒนาสังคม) ให ้บริการวิชาเลือกเสรี และวิชาโท โดยนักศึกษาจากคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น สามารถเข ้ามา ลงทะเบียนเรียนได ้ และหากลงทะเบียนครบ ก็นับเป็ นวิชาโท (Minor) ได ้ 

ระด ับปริญญาโท

“การจัดการภาคประชาสังคมและองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์” ศปส.ร่วมกับ สาขาพัฒนาสังคม สังคมวิทยา และรัฐประศาสนศาสตร์ ในการบริการหลักสูตรทัง้ ภาษาไทย และนานาชาติ ได ้แก่  หลักสูตรภาษาไทย : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม สาขาประชาสังคม 

และการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ หลักสูตรภาษาอังกฤษ : Master of Art in Social Development (Civil Society and Non-profit Management)

ึ ษาวิจ ัยและการศก ึ ษาสาธารณะ (Public education) หรือ “เวทีล ้อมวงลง 3. ศูนย์การศก ข่วงประชาสังคม” ศปส. จะจัดให ้มีการศึกษาและงานวิจย ั ทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ ่ ภาคประชา สังคมในประเทศไทยและภูมภ ิ าคลุม ่ น้ าโขง โดยนาประเด็นการศึกษาวิจัยทีไ่ ด ้เผยแพร่สู่ สาธารณะ ในรูปแบบการสัมมนาและการบรรยายสาธารณะเป็ นประจา เพือ ่ เสริมสร ้าง กระบวนการเรียนรู ้และการศึกษาสาธารณะ และเสริมสร ้างศักยภาพองค์กรภาคประชา สังคมให ้เข ้มแข็ง

พัฒนาศักยภาพบุคลากรองค์กรภาคประชาสังคม จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

3

การจัดการการดาเนินโครงการสาหรับองค์กรไม่แสวงกาไร

เราคิด เราทา ั้ หล ักสูตรการฝึ กอบรมระยะสน ในปี ทผ ี่ า่ นมา ศปส.ได ้ดาเนินการจัดหลักสูตรฝึ กอบรมให ้กับองค์กรภาคประชาสังคมและ องค์กรภาครัฐหลายหลักสูตร ดังนี้ 

การบริหารจัดการโครงการสาหรับองค์กรไม่แสวงผลกาไร (Nonprofit Project Cycle Management )



การจัดการงบประมาณสาหรับองค์กรไม่แสวงผลกาไร (Budget Management for Nonprofit Organization)



การติดตามและประเมินผลโครงการ (Project Monitoring and Evaluation)



การรู ้งบประมาณสาหรับองค์กรไม่แสวงกาไร (Budget Literacy for Nonprofit Organization)



่ สารงบประมาณสาหรับองค์กรไม่แสวงกาไร การรู ้งบประมาณและการสือ (Budget Literacy and Communication for Nonprofit Organization)

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

4

ั ยภาพแก่ “การพัฒนาศก องค์กรภาคประชาสงั คม จะต ้องเริม ่ ต ้นจากการสร ้าง เครือข่ายในระดับภูมภ ิ าค และร่วมกันพัฒนากลยุทธ์ และนวัตกรรมใหม่ๆ เพือ ่ ดึงดูด ั ผู ้มีศกยภาพเข ้ามาทางานใน องค์กร พัฒนาทักษะและ ประสบการณ์แก่บค ุ ลากร”

ความเข ้มแข็งขององค์กรภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง

ึ ษาสาธารณะ การศก ศปส.ได ้จัดเวทีระดับนานาชาติในหัวข ้อ “Building a Stronger Civil Society in the ั Lower Mekong Sub region (LMS)” หรือ การสร้างความเข้มแข็งขององค์กรภาคประชาสงคม ลุม ่ นา้ โขง” ขึน ้ ในวันที่ 24 - 26 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น ซึง่ ในครัง้ นีม ้ ผ ี ู ้เข ้าร่วมงานจากองค์กรภาคประชาสังคมและองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์จากประเทศลุม ่ น้ าโขง ได ้แก่ ลาว เมียนมา เวียดนาม กัมพูชา และประเทศไทย กว่า 100 คน 60 องค์กร จากการประชุมได ้ข ้อสรุปว่า การทางานขององค์กรภาคประชาสังคมและองค์เอกชนสาธารณ ประโยชน์กลุม ่ น้ าโขงจะเกิดความเข ้มแข็งได ้ ต ้องเริม ่ จากการสร ้างเครือข่ายในระดับภูมภ ิ าค พัฒนากลยุทธ์ และนวัตกรรมใหม่ๆ เพือ ่ ดึงดูดผู ้มีศักยภาพเข ้ามาทางานในองค์กร พัฒนาทักษะและประสบการณ์ให ้กับ บุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม ่ เยาวชนและผู ้หญิง รวมถึงการค ้นหาแหล่งทุนใหม่ๆ หรือการพัฒนาเป็ น กิจการเพือ ่ สังคม ให ้เกิดความเสถียรทางด ้านการเงินขององค์กรให ้สามารถดาเนินงานได ้สู ้เป้ าหมายเพือ ่ สังคมอยูด ่ ม ี ส ี ข ุ อย่างยัง่ ยืน พร ้อมกันนีย ้ งั ต ้องการการสนับสนุนจากภาครัฐในการพัฒนานโยบายและกฎหมายทีส ่ ง่ เสริมต่อการ ทางานขององค์กร CSOs ให ้สามารถเข ้าถึงข ้อมูลได ้อย่างเสรีภาพ และสามารถเปิ ดพืน ้ ทีส ่ าธารณะเพือ ่ เป็ น พืน ้ ทีก ่ ารศึกษาสาธารณะระหว่างองค์กร CSOs ได ้ร่วมกันพัฒนาองค์ความรู ้และถอดบทเรียนการทางาน ขณะเดียวกันยังต ้องการให ้ภาคเอกชนให ้การสนับสนุนงบประมาณต่อการทางานองค์กร CSOs ด ้วยเช่นกัน

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

5

โครงการของเรา เดือนกันยายน 2557 ศปส.ได ้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรเพือ ่ การพัฒนาระหว่างประเทศ สหรัฐอเมริกา (United States Agency for International Development – USAID) ให ้ดาเนิน โครงการ

ั ่ นการพ ัฒนาภาคประชาสงคมลุ หุน ้ สว ม ่ นา้ โขง (Civil Society Partnerships Project CSPP) โดยมีจด ุ มุง่ หมายเพือ ่ พัฒนาศักยภาพและคุณภาพของผู ้นา ผู ้บริหาร และระบบการบริหารจัดการองค์กร ภาคประชาสังคมและองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ในประเทศไทยและประเทศลุม ่ น้ าโขงตอนล่าง ให ้สามารถ ดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ขององค์กรได ้อย่างมีประสิทธิภาพและยัง่ ยืน ภายใต ้โครงการนี้ ศปส.จะทาหน ้าทีเ่ ป็ น ศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือและสร ้างภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทีป ่ ระกอบด ้วยองค์กรภาคประชาสังคมและ ิ และนักศึกษาในประเทศภูมภ องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ สถาบันการศึกษา ตลอดจนนิสต ิ าคลุม ่ น้ าโขง ตอนล่าง ทีม ่ ค ี วามสนใจและมีความมุง่ มัน ่ ในการพัฒนาความเข ้มแข็งขององค์กรและส่งเสริมธรรมาภิบาลท ้องถิน ่ ผ่านกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

ั การสร้างเครือข่ายก ับองค์กรภาคประชาสงคมจากกลุ ม ่ ประเทศลุม ่ นา้ โขงตอนล่าง โครงการได ้จัดทางานวิจัยเพือ ่ ศึกษาในประเด็น “ มาตรฐานการทางานอย่างมืออาชีพขององค์กรภาค ประชาสังคมในลุม ่ น้ าโขงตอนล่าง ” หรือ LMS Working group meeting on CSOs Professional Standard โดยมีการจัดประชุมครัง้ แรกทีจ ่ ังหวัดกรุงเทพมหานคร เมือ ่ วันที่ 3 - 4 มีนาคม 2559 ซึง่ มีตวั แทน องค์กรภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขงจานวน 14 คน จาก 14 องค์กร จากประเทศเมียนมาร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา ่ าตรฐานสากล และไทย ทีม ่ าประชุมร่วมกันเพือ ่ หาแนวทางในการศึกษามาตรฐานระดับภูมภ ิ าคสูม

มาตรฐานการทางานอย่างมืออาชีพขององค์กรภาคประชาสังคมในลุม ่ น้ าโขงตอนล่าง

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

6

การพ ัฒนาหล ักสูตร 

Innovation Workshop

จัดขึน ้ เมือ ่ วันที่ 13 – 15 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น โดยมีผู ้เข ้าร่วมจากกลุม ่ ประเทศสมาชิกลุม ่ น้ าโขง ได ้แก่ กัมพูชา ลาว และประเทศไทย จานวน 25 คน 

LMS Workshop and Consultancy on Curriculum Development

จัดขึน ้ เมือ ่ วันที่ 12 – 16 ตุลาคม 2558 ณ โรงแรมเอทัส กรุงเทพมหานคร โดย มีผู ้เข ้าร่วมจากกลุม ่ ประเทศสมาชิกลุม ่ น้ าโขง ได ้แก่ กัมพูชา ลาว และประเทศไทย จานวน 12 คน

หล ักสูตรฝึ กอบรม ศปส.จัดหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบต ั ก ิ ารหัวข ้อ “การสร้างความยง่ ั ยืนขององค์กร ั ั ภาคประชาสงคมผ่ านกิจการเพือ ่ สงคม (Social Enterprise) ” จัดขึน ้ ระหว่างวันที่ 24 – 26 กุมภาพันธ์ 2559 ณ โรงแรมพิมานการ์เด ้น บูตค ิ โฮเต็ล จังหวัดขอนแก่น ซึง่ มีผู ้เข ้า รับการฝึ กอบรมจากองค์กรแกนหลักจานวน 26 คน

การสร ้างความยั่งยืนขององค์กรภาคประชาสังคมผ่านกิจการเพือ ่ สังคม

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

7

Community Base Learning

หล ักสูตรปริญญาตรี 

หล ักสูตร Community Base Learning

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1/2558 มีนักศึกษา ลงทะเบียนเรียน จานวน 30 คน 

หล ักสูตร Community Base Learning

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2/2558 มีนักศึกษา ลงทะเบียนเรียน จานวน 45 คน

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

8

ึ ษา โครงการสหกิจศก ศปส.ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สนับสนุนงบประมาณให ้กับนักศึกษาทีเ่ ข ้าร่วม โครงการสหกิจศึกษาจานวน 5 คน เพือ ่ ลงพืน ้ ทีฝ ่ ึ กงานกับองค์กรแกนนาหลักจานวน 3 องค์กร ได ้แก่ มูลนิธพ ิ ัฒนาเครือข่ายเอดส์(เอดส์เน็ท)สานักงานภาคอีสาน จังหวัดขอนแก่น สภาฮักแพงเบิง่ แงงคน มหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม และโครงการพืน ้ ทีช ่ ม ุ น้ าแม่น้ าสงครามตอนล่าง ซึง่ เป็ นโครงการภายใต ้ องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (WWF) จังหวัดนครพนม เป็ นระยะเวลา 4 เดือน ตัง้ แต่เดือนมกราคม – เมษายน 2559

สาหรับกิจกรรมนีน ้ ้องๆนักศึกษาทีเ่ ข ้าร่วมโครงการจะได ้รับการอบรมเตรียมความพร ้อมก่อนการ ฝึ กงาน เพือ ่ ศึกษาวิธก ี ารและเครือ ่ งมือต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วข ้องต่อการทางานด ้านพัฒนาสังคม และการติดตาม เยีย ่ มเยือน การสรุปบทเรียนช่วงกลางเทอม และปลายเทอม

ติดตามเยีย ่ มยามนักศึกษาฝึ กงาน

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

9

ทีป ่ รึกษา คณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่ ทีป ่ รึกษา อธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ั วีระไวทยะ นายมีชย ั หวันแก ้ว ศ.สุรช ิ ย นายชยันต์ วรรธนะภูต ิ นายพีระพล พัฒนพีระเดช

Prof.Noriyuki Suzuki รศ.สมหมาย ปรีเปรม

คณะกรรมการอานวยการ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รศ.บัวพันธ์ พรหมพักพิง รศ.สุกญ ั ญา เอมอิม ่ ธรรม นายสมพันธ์ เตชะอธิก นายสน รูปสูง นายชัยวัฒน์ ถิระพันธ์ รศ.สุเมธ แก่นมณี ั ต์ โลนานุรักษ์ นายทวิสน ผศ.สถาพร เริงธรรม

ผูบ ้ ริหารและเจ้าหน้าที่ รศ.บัวพันธ์ พรหมพักพิง ผศ.สถาพร เริงธรรม รศ.สุกญ ั ญา เอมอิม ่ ธรรม

ผู ้อานวยการศูนย์ประชาสังคมฯ รองผู ้อานวยการศูนย์ประชาสังคมฯ ฝ่ ายบริหาร รองผู ้อานวยการศูนย์ประชาสังคมฯ ฝ่ ายวิชาการ

นายรัฐพล พิทักษ์ เทพสมบัต ิ

ผู ้อานวยการโครงการหุ ้นส่วนการพัฒนาภาคประชาสังคมฯ (CSPP)

Miss Chantheng Heng

รองผู ้อานวยการโครงการหุ ้นส่วนการพัฒนาภาคประชาสังคมฯ

Mr.Saveun Nhim

ผู ้จัดการฝ่ ายพัฒนาศักยภาพ

ประจาโครงการ CSPP

นางสาววีณา คิว้ งามพริง้

ผู ้จัดการฝ่ ายวิจัยและนวัตกรรม

ประจาโครงการ CSPP

นายพูลสมบัต ิ นามหล ้า

ผู ้จัดการฝ่ ายฝึ กอบรม

ประจาโครงการ CSPP

นางสาวจันจิรา ศรีบ ้านบาก

ผู ้จัดการฝ่ ายปฏิบต ั ก ิ าร

ประจาโครงการ CSPP

นางกิง่ ผกา สรรพ์สมบัต ิ

เจ ้าหน ้าทีก ่ ารเงินและบัญชี

ประจาโครงการ CSPP

นางสาวโสภิตา เสนาดี

เจ ้าหน ้าทีร่ ะบบสารสนเทศ

ประจาโครงการ CSPP

นางสาวนัยนา พิมพา

ผู ้ช่วยฝ่ ายการเงิน ้ เจ ้าหน ้าทีจ ่ ัดซือ

ประจาโครงการ CSPP

นางสาวอุษณีษ์ ไชยวิเศษ นางสาวศิรน ิ าฎ มาตรา

เจ ้าหน ้าทีฝ ่ ่ ายพัฒนาศักยภาพ

ประจาโครงการ CSPP ประจาโครงการ CSPP

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

10

ร่วมคิด ร่วมสร้าง องค์กรภาคประชา ั สงคมก ับการริเริม ่

และพ ัฒนาธุรกิจ ั เพือ ่ สงคม

ผลิตภัณฑ์จากโครงการเสริมศักยภาพเกษตรกรด ้านเกษตรอินทรีย ์ เพือ ่ ความมั่นคงทางอาหารและปรับตัวต่อการเปลีย ่ นแปลงสภาพ อากาศ ในงานอบรม Social Enterprise เรือ ่ ง : วีณา คิว้ งามพริง้ ผูจ ้ ัดการโครงการฝ่ายวิจ ัยและนว ัตกรรม ั โครงการหุน ้ ส่วนการพ ัฒนาภาคประชาสงคมฯ

เรือ ่ งการริเริม ่ ธุรกิจเพือ ่ สังคมนัน ้ นับเป็ นประเด็นทีก ่ าลังได ้รับความสนใจจากองค์กร ภาคประชาสังคมในฐานะช่องทางเสริมเพือ ่ ระดมทุนสาหรับกิจกรรมพัฒนาสังคมและเพือ ่ ความ ยัง่ ยืนขององค์กร โดยองค์กรภาคประชาสังคมนับว่ามีต ้นทุนบางส่วนทีพ ่ ร ้อมดาเนินธุรกิจเพือ ่ สังคม ทัง้ ความรู ้ความเข ้าใจในการวิเคราะห์ประเด็นปั ญหาและความต ้องการของสังคม/ชุมชน การมีเครือข่ายในระดับชุมชนทีส ่ ามารถผันมามีสว่ นร่วมได ้ในด ้านของการเป็ นผู ้ผลิตสินค ้าหรือ ผลิตภัณฑ์ ทว่าในอีกแง่มม ุ หนึง่ องค์กรภาคประชาสังคมยังขาดความรู ้ความเข ้าในกลยุทธ์ทาง ธุรกิจ เช่น การเขียนแผนธุรกิจ การหาตลาด การเข ้าถึงลูกค ้า ฯลฯ

่ มโยงความรู ้และทรัพยากรด ้านสังคมขององค์กรภาค ดังนัน ้ เพือ ่ เติมเต็มและเชือ ประชาสังคมเข ้ากับแนวคิด-แนวปฏิบต ั ข ิ องภาคธุรกิจนัน ้ การศึกษาเรือ ่ งราวของธุรกิจเพือ ่ สังคมทีด ่ าเนินการอยูแ ่ ละประสบความสาเร็จนับเป็ นอีกทางเลือกหนึง่ เพือ ่ ให ้เกิดความเข ้าใจ ่ มัน ความคิดใหม่ ๆ เสริมสร ้างความเชือ ่ และมัน ่ ใจในการพัฒนากิจการเพือ ่ สังคมขององค์กร เพือ ่ เป็ นการขยายความให ้เห็นภาพว่า การศึกษาเรือ ่ งราวของธุรกิจเพือ ่ สังคมที่ ดาเนินการอยูน ่ ัน ้ ทาให ้เราเห็นภาพอย่างไร ขอยกตัวอย่างธุรกิจเพือ ่ สังคม บริษั ท เครือข่าย นว ัตกรรมชาวบ้าน จาก ัด ซ งึ่ คุณ นาว ี นาคว ัช ระ ผ ก ู้ อ ่ ต งั้ เคร อ ื ข า่ ยนว ัตกรรมช าวบ า้ น ได ้ให ้เกียรติเป็ นหนึง่ ในวิทยากรแบ่งปั นประสบการณ์ในการฝึ กอบรมเชิงปฏิบต ั ก ิ าร ”การสร ้าง ความยัง่ ยืนขององค์กรภาคประชาสังคมผ่านกิจการเพือ ่ สังคม” แก่องค์กรภาคประชาสังคม แกนหลัก 13 องค์กรทีจ ่ ัดโดยโครงการหุ ้นส่วนการพัฒนาภาคประชาสังคม เมือ ่ วันที่ 24 - 26 กุมภาพันธ์ 2559 ณ จังหวัดขอนแก่น จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

11

บริษัท เครือข่ายนวัตกรรมชาวบ ้าน จากัด ก่อตัง้ ในปี 2552 โดยเกิดจากความ มุง่ มัน ่ ทีจ ่ ะแก ้ไขปั ญหาความยากจน การทาเกษตรโดยใช ้สารเคมี และ ปั ญหาสุขภาพ ของเกษตรกรทีเ่ ป็ นผลกระทบจากสารเคมี ่ มโยงกับ รูปแบบแผนธุรกิจของเครือข่ายนวัตกรรมชาวบ ้าน มีการดาเนินงานเชือ เป้ าหมายและกิจกรรมขององค์กร โดยเริม ่ จากการสร ้างสมาชิกเครือข่ายฯ จากนัน ้ องค์กร จะเข ้าไปเตรียมความพร ้อม วิเคราะห์ความเป็ นไปได ้ในการทาเกษตรอินทรีย ์ ขัน ้ ต่อไป องค์กรจะให ้ยืมปั จจัยการผลิต ให ้ความรู ้และคาปรึกษาด ้านการทาเกษตรอินทรีย ์ การ เพิม ่ มูลค่าผลผลิต การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย ์ หลังจากนัน ้ องค์กรจะทาหน ้าทีเ่ ป็ น ้ แบบประกันราคา เมือ ตัวกลางในการจาหน่าย โดยการหาตลาดหรือผ่านระบบการรับซือ ่ ้ กระบวนการ เกษตรกรเครือข่ายจะนากาไรไปลงทุนรอบใหม่เองหรือเข ้ารับการ เสร็จสิน สนับสนุนจากองค์กรอีกก็ได ้ ซึง่ องค์กรมีการจัดตัง้ กองทุนโดยนารายได ้จากการขาย ผลผลิตไปคืนต ้นทุนปั จจัยการผลิตในกองทุนและกาไรส่วนต่างราคาขายเพือ ่ สมทบขยาย กองทุน ซึง่ ทีผ ่ า่ นมาผลการดาเนินงานของเครือข่ายนวัตกรรมชาวบ ้าน ช่วยให ้เกษตรกร เครือข่ายมีรายได ้เพิม ่ ขึน ้ 32 % และมีสข ุ ภาพทีด ่ ข ี น ึ้ (เรียบเรียงจาก “เครือข่ายนวัตกรรม ชาวบ ้าน – ฮีโร่ของเกษตรกรอินทรียใ์ นชนบท” เว็บไซต์ School of Changemakers)

ั องค์กรภาคประชาสงคมจะหาข้ อมูล เทคนิค เครือ ่ งมือ แรงบ ันดาลใจ ั ึ กรณีศกษาเกี ย ่ วก ับธุรกิจเพือ ่ สงคมจากท งในประเทศและต่ ั้ างประเทศได้จาก แหล่งไหนในประเทศไทยบ้าง ? วันนีท ้ างเราขอแนะนาแหล่งข ้อมูล จาก 2 แหล่งคือ 1) School of Changemakers (www.schoolofchangemakers.com) เป็ นโครงการหนึง่ ของมูลนิธอ ิ โชก ้า ซึง่ ได ้รับการสนับสนุนจากสานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร ้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยเป็ นเว็บไซต์ทเี่ ป็ นศูนย์กลางสาหรับ ผู ้ทีส ่ นใจการเปลีย ่ นแปลงสังคมและการริเริม ่ ประกอบธุรกิจเพือ ่ สังคม โดยเว็บไซต์ได ้ รวบรวมความรู ้ เครือ ่ งมือในการพัฒนากิจการเพือ ่ สังคม สรุปเนือ ้ หาสาคัญจากสัมมนา ่ กิจกรรม After School ซึง่ School of และประชุมเชิงปฏิบต ั ก ิ ารทีจ ่ ด ั ขึน ้ ภายใต ้ชือ Changemakers จะเชิญวิทยากรทีม ่ ป ี ระสบการณ์มานาเสนอเทคนิคทีจ ่ าเป็ น อาทิ ่ โซเชียลมีเดีย เทคนิค Human-Centered Design เทคนิคการเล่าเรือ ่ ง เทคนิคการใช ้สือ ่ สารกับลูกค ้า ฯลฯ โดยทาง School of Changemakers ยังมีบน เพือ ่ สือ ั ทึกวิดโี อเผยแพร่ ให ้ผู ้ทีส ่ นใจติดตามเนือ ้ หาจากการสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบต ั ก ิ ารทีจ ่ ด ั ขึน ้ แล ้วได ้ทาง Youtube โดยพิมพ์ค ้นหาคาว่า School of Changemakers จะ Subscribe ไว ้เพือ ่ ติดตามวิดโี อจากกิจกรรมอืน ่ ๆ ต่อไปในอนาคตก็ได ้เช่นกัน

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

12

ั 2) สาน ักงานสร้างเสริมกิจการเพือ ่ สงคมแห่ งชาติ (www.tseo.or.th) ้ สุดปี งบประมาณจาก สานักงาน ซึง่ ถึงแม ้ตัวหน่วยงานจะหยุดทาการชัว่ คราวเนือ ่ งจากสิน กองทุนสนับสนุนการสร ้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใต ้แผนงานสร ้างเสริมกิจการเพือ ่ สังคม และต ้องรอ จนกว่าพระราชบัญญัตส ิ ง่ เสริมวิสาหกิจเพือ ่ สังคมจะประกาศใช ้ เพือ ่ ให ้มีการจัดตัง้ สานักงานใหม่อก ี ครัง้ แต่ในเว็บไซต์ของหน่วยงานยังมีข ้อมูลทีน ่ ่าสนใจและเป็ นประโยชน์มากมาย ทัง้ คูม ่ อ ื บทความ ึ ษาทัง้ จากในประเทศและต่างประเทศ และวิดโี อกิจกรรม ในส่วนของคูม กรณีศก ่ อ ื และหนังสือ อาทิ หนังสือรวบรวมกิจการเพือ ่ สังคมในไทย สามารถเข ้าไปดาวน์โหลดได ้ภายใต ้หัวข ้อ แหล่งข ้อมูล SE การริเริม ่ กิจการเพือ ่ สังคมขององค์กรภาคประชาสังคมนัน ้ อาจดูเป็ นเรือ ่ งง่ายและยากในเวลา เดียวกัน หากการศึกษาข ้อมูลและกรณีตวั อย่างทีม ่ อ ี ยูจ ่ ะช่วยให ้เรานาข ้อมูลมาสังเคราะห์และวิเคราะห์ เพือ ่ ต่อยอดความคิด ปรับใช ้และพัฒนากิจการเพือ ่ สังคมทีเ่ หมาะกับบริบทและทรัพยากรทีอ ่ งค์กรมี อยูไ่ ด ้ ในปั จจุบน ั มีข ้อมูล เครือ ่ งมือ เทคโนโลยี ทีเ่ ข ้าถึงได ้ง่ายและไม่เสียค่าใช ้จ่าย หากพูดถึงสิง่ ที่ ยากทีส ่ ด ุ ในการเริม ่ ต ้นกิจการเพือ ่ สังคมแล ้ว คงจะเป็ นเรือ ่ งของ “ใจ” ทีจ ่ ะทาเพือ ่ สังคมมากกว่า ซึง่ องค์กรภาคประชาสังคมในประเทศไทยนัน ้ ต่างก็มพ ี ลังใจและความมุง่ มัน ่ เกินร ้อยอยูแ ่ ล ้ว ดังนัน ้ หากจะ ลงมือปฏิบต ั แ ิ ละสร ้างกิจการเพือ ่ สังคมให ้สาเร็จนัน ้ คงไม่ยากเกินความสามารถขององค์กรภาคประชา สังคมแต่อย่างใด

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

13

ั แวดวงภาคประชาสงคม

คุณสนั่น ชูสกุล

สนน ่ ั ชูสกุล ก ับความทรงจาการพ ัฒนาคนรุน ่ ใหม่ เรือ ่ ง: พูลสมบ ัติ นามหล้า ผูจ ้ ัดการฝ่ายฝึ กอบรม ั โครงการหุน ้ ส่วนการพ ัฒนาภาคประชาสงคมฯ

คุณสนั่น ชูสกุล นักพัฒนา เสียชีวต ิ เมือ ่ วันที่ 6 เมษายน 2559 ทีผ ่ า่ นมา ทาให ้วงการพัฒนา สูญเสียบุคลากรทีเ่ ป็ นทัง้ “มันสมอง(องค์ความรู ้)และสองแขน(กาลังคน)” ของขบวนการเคลือ ่ นไหวทาง สังคมและการพัฒนาชุมชนท ้องถิน ่ ผมได ้ทางานร่วมกับเขาในฐานะนักพัฒนารุน ่ พี่ ผมสัมผัสได ้ว่า เขาเป็ น คน“มีอด ุ มคติในใจ” มีจต ิ ใจทีม ่ งุ่ สร ้าง“คนรุน ่ ใหม่” เพือ ่ สืบสานการพัฒนา มาโดยตลอด

“ลุงเปี๊ ยก” บารุง บุญปั ญญา นักพัฒนาอาวุโสของภาคอีสาน ได ้กล่าวถึง แนวคิดการทางานของอาจารย์ป๋วย อึง้ ภากรณ์ ในหนังสือ “จับปลาต ้องลงน้ า” ว่า“ทฤษฎีป๋วย ” คือเบ ้าหลอมสาคัญของเขาทีน ่ าพาความคิด และการปฏิบต ั ก ิ ารทางานนับแต่อดีตจนถึงปั จจุบน ั ซึง่ อาจารย์ป๋วยได ้ให ้หลักการสาคัญอยู่ 3 ประการ “ หนึง่ …ลงจากหอคอยงาช ้าง หมายความว่า อย่าจมอยูก ่ บ ั ทฤษฎี ศาสตร์ทงั ้ หลายไม่ได ้เกิดขึน ้ เอง แต่ใน

ความเป็ นจริงแล ้วเกิดจากการปฏิบต ั ิ และยังเป็ นการเดินทางเข ้าสูว่ ถ ิ แ ี ห่งการหล่อหลอมตนเอง สอง…กัดไม่ ปล่อย จะทาอะไรให ้ทาต่อเนือ ่ ง จริงจัง จนเกิดความชานาญ เกิดการเข ้าใจชัดเจนในสิง่ ทีต ่ นเองทา

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

14

สาม…ทาสิง่ ใดต ้องมีอด ุ มคติในใจ จะทาอะไรก็ตามแต่ต ้องมีความดีงามอยูใ่ นใจ ไม่เอา เปรียบ กดขี่ ขูดรีดและไม่เบียดเบียนผู ้อืน ่ ”

สนน ่ ั ชูสกุล เป็ นอีกคนทีพ ่ ก “ทฤษฎีป๋วย” ไว ้กับชีวต ิ ของเขาก็วา่ ได ้ เพราะตัง้ แต่ อยูใ่ นรัว้ มหาวิทยาลัยเหลืองแดง(ธรรมศาสตร์) ในฐานะนักกิจกรรมและกรรมการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม เขาสานต่อเรือ ่ งนีอ ้ ก ี ครัง้ เมือ ่ เข ้ามาทางานทีอ ่ ส ี าน ใน กรณี “ป่ าบุง่ ป่ าทาม” เขาเคยได ้ชวนผมลงไปล่องเรือ เรียนรู ้ทรัพยากรธรรมชาติทอ ี่ ด ุ ม สมบูรณ์ รวมทัง้ ชีใ้ ห ้เห็นผลกระทบของการสร ้างเขือ ่ นกับทีมโครงการทามมูล เมือ ่ ราวปี 2541 – 2542 เพือ ่ ได ้รับรู ้ เรียนรู ้ เข ้าใจ คาว่า “ป่ าบุง่ ปาทาม” ว่ามันมีความหมาย ความสาคัญ อย่างไรต่อชาวบ ้านทีอ ่ าศัยอยูก ่ บ ั พืน ้ ทีช ่ ม ุ่ น้ า (Wetland) และอยากให ้รู ้เหตุผลว่าทาไม ชาวบ ้านจึงออกมาต ้านการสร ้างเขือ ่ น(ราษี ไศล) ถึงแม ้ผมจะเรียนมาทางด ้านพัฒนาชุมชน ่ าร แต่เทียบไม่ได ้กับการทางานเชิงปฏิบต ั ก ิ าร “มวลชน” ทีล ่ ก ึ ซึง้ และมีระบบทีจ ่ ะนาไปสูก จัดการด ้านข ้อมูล และนาสู่ “การรณรงค์เชิงนโยบาย” ทีก ่ ว ้างใหญ่ในนาม “ สมัชชาจน

(Assembly of the poor)” ด ้วยความทีส ่ นั่น ชูสกุล เป็ นทัง้ นักเขียน นักดนตรี นักกวี ปราชญ์ และนักพัฒนา ผมจึงเห็นว่าเขาค่อนข ้างมีอท ิ ธิพบทางความคิดต่อคนรุน ่ ใหม่ และมีญาติมต ิ รทางอุดมการณ์ ิ ปะ” และกระตุ ้นคนหนุ่มสาวให ้มี “ความ ค่อนข ้างมาก เขามักจะมี “คาพูดทีค ่ ม ๆ มีอารมณ์ศล ฝั นอันสวยงาม” รู ้สึกมีคณ ุ ค่าทีไ่ ด ้ทางานกับคนยากจน ยากไร ้ ชาวนารายย่อย และผู ้ถูกกระทา ได ้เสมอ จึงมีนักศึกษา ปั ญญาชน ตลอดจนนักพัฒนานารุน ่ ใหม่ ได ้เข ้ามาเรียนรู ้ป่ าบุง่ ป่ าทาม การอนุรักษ์ การพัฒนา กับเขามากมาย และในแวดวงนักพัฒนาเขาจึงเป็ นบุคคลหนึง่ ที่ นักพัฒนารุน ่ น ้องหรือแม ้กระทั่งรุน ่ พี่ “ศรัทธา” ในความเป็ นผู ้นาและศักยภาพของเขา ศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีแผนงานและมีกระบวนการสนับสนุนการเรียนรู ้ของ คนรุน ่ ใหม่ทจ ี่ ะเติบโตขึน ้ มา สืบสานปณิธานในแบบที่ สนั่น ชูสกุล“คนอุดมคติ” ทัง้ ในเรือ ่ ง การสนับสนุนนักศึกษา คนรุน ่ ใหม่ ฝึ กงานแบบเข ้มข ้นกับองค์กรประชาสังคมในภาคอีสาน ซึง่ เราเริม ่ ต ้นมาตัง้ แต่ปลายปี การศึกษา 2558 โดยมีนักศึกษาลงไปศึกษา เรียนรู ้ และปฏิบต ั ก ิ าร ้ เช่น ในพืน ้ ทีจ ่ ริง รวมทัง้ มีแนวทางการสนับสนุนทางวิชาการทัง้ ในแบบหลักสูตรระยะสัน หลักสูตรการสร ้างองค์กรทีย ่ งั่ ยืนผ่านกิจการทางสังคม (Social enterprise) การบริหารจัดการ โครงการขององค์กรภาคประชาสังคม และการรณรงค์เชิงนโยบาย (Policy advocacy)และ การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีในวิชาการเรียนรู ้โดยมีชม ุ ชนเป็ นฐาน(Community Based Learning) อีกทัง้ มีทน ุ การศึกษาในระดับปริญญาโท ในด ้านการจัดการองค์กรภาค ประชาสังคม ซึง่ ทางศูนย์ประชาสังคมฯเองก็มค ี วามมุง่ หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าแนวทางเหล่านี้ จะเติมพลังให ้ภาคประชาสังคมให ้มีความเข ้มแข็ง สร ้างความเป็ นธรรมให ้กับสังคมในแบบที่ คุณสนั่น เคยทามาแล ้ว

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

15

ั แนะนาองค์กรภาคประชาสงคม ั มูลนิธป ิ ระชาสงคมจ ังหว ัดอุบลราชธานี มูลนิธป ิ ระชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี เกิดขึน ้ โดยการร่วม กลุม ่ กันของบุคคลจากหลากหลายอาชีพได ้แก่ แพทย์ นักธุรกิจ นักกฎหมาย ข ้าราชการนักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2540 ในนาม ประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวต ั ถุ ประสงค์เพือ ่ จัดกิจกรรมรณรงค์ให ้ประชาชนเข ้าใจในการมีสว่ นร่วมการเลือกตัง้ ถือเป็ น หน ้าทีข ่ องประชาชนชาวไทย ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 และร่วมกันเป็ นคณะกรรมการ ตรวจสอบการเลือกตัง้ จนกระทั่งเมือ ่ วันที่ 8 กรกฎาคม 2548 ได ้ขอจัดตัง้ เป็ น มูลนิธ ิ

ประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวัตถุประสงค์การจัดตัง้ เพือ ่ 1. เสริมสร ้างจิตสานึกของพลเมืองในการทางานเพือ ่ ประโยชน์สาธารณะ 2. ส่งเสริมและสนั บสนุนการดาเนินกิจกรรมเพือ ่ การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุ ษ ย์ใ นด า้ นเศรษฐกิจ สั ง คม วั ฒ นธรรมและความหลากหลายทางชีว ภาพ การศึกษาและสุขภาพอนามัย สิง่ แวดล ้อม 3. ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการสิทธิ เสรีภาพและการมีสว่ นร่วมของประชาชนใน การพัฒนาสังคมชุมชนท ้องถิน ่

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

16

4. ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการสิทธิ เสรีภาพและการมีสว่ นร่วมของประชาชนใน การพัฒนาสังคมชุมชนท ้องถิน ่ ่ สารมวลชนเพือ 5. เสริมสร ้างระบบสือ ่ การพัฒนาสังคมชุมชนท ้องถิน ่ 6. ส่งเสริมและสนั บสนุ นกิจกรรมเด็ ก เยาวชน สตรีและผู ้สูงอายในการทางานเพื่อ พัฒนาสังคมชุมชนท ้องถิน ่ 7. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา วิจัยเพือ ่ การพัฒนาสังคม ชุมชน ท ้องถิน ่ 8. ส่งเสริมงานวัฒนธรรม 9. เพื่อ ด าเนินการเพื่อ สาธารณะประโยชน์ห รือ ร่ว มมือ กับ องค์ก รการกุศ ลอืน ่ ๆเพื่อ สาธารณประโยชน์ 10. ไม่ดาเนินการเกีย ่ วข ้องกับการเมืองแต่ประการใด ใน พ.ศ.2549 ได ้จดทะเบียนเป็ นองค์กรสาธารณประโยชน์กับสานั กงานพัฒนาสังคมและความ มัน ่ คงของมนุษย์จังหวัดอุบลราชธานี ตาม พ.ร.บ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 ั ัศน์ วิสยท

“สร ้างประชาชนให ้เข ้มแข็ง ยกระดับเป็ นพลเมืองไทย” พ ันธกิจ 1. สร ้างความเข ้มแข็งให ้เกิดกับสังคมอุบลราชธานี และสังคมใกล ้เคียง 2. สร ้างองค์ความรู ้ให ้เกิดในชุมชน เพือ ่ ยกระดับประชาชนให ้เป็ นพลเมืองไทย 3. สร ้างเครือข่ายชุมชนให ้เกิดพลังในการผลักดันนโยบายทีก ่ น ิ ได ้ 4. สร ้างแรงจูงใจในการรับรู ้ข ้อมูลข่าวสารต่อสถานการณ์บ ้านเมือง การดาเนินกิจกรรมทีผ ่ า่ นมา

โครงการ พั ฒนาเครือ ข่า ยภาคประชาสั งคมในการ ส่งเสริมและคุ ้มครองสิทธิมนุษยชน เพือ ่ สุขภาวะของบุคคลและ ชุมชน แหล่งทุนสนั บสนุ นสานั กงานกองทุนสนั บสนุนการสร ้าง เสริมสุขภาพ (สสส.)ระยะเวลาดาเนินงาน พ.ศ. 2547 – 2549 (โครงการ 2 ปี )

โครงการกระบวนการสร ้างนโยบายสาธารณะทีด ่ จ ี ากชุมชน: ภาคอีสานใต ้แหล่งทุนสนั บสนุน มูลนิธส ิ าธารณสุขแห่งชาติ ระยะเวลาดาเนินงาน พ.ศ. 2548

โครงการพัฒนาเครือข่ายภาคประชาสังคมในการส่งเสริมและ คุ ้มครองสิทธิมนุษยชนเพือ ่ สุขภาพของบุคคลและชุมชน

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

17

โครงการ พัฒนาเครือ ข่า ยภาคประชาสังคมในการส่งเสริม และคุ ้มครองสิท ธิม นุ ษยชนเพื่อ สุขภาพของบุคคลและชุมชน

โครงการ สมัช ชาว่า ด ้วยสุขภาวะของคนอุบ ลราชธานี จั ด กิจกรรมรงณรงค์ด ้านสุขภาพกับ หน่ ว ยงานองค์กร ด ้านสาธารณสุข ในจังหวัด อุบ ลราชธานี เพื่อกระตุ ้นและส่งเสริมให ้ประชาชน และ ร่วมกันสร ้างได ้ด ้วยตนเองและชมชุน ่ วามร่มเย็นเป็ นสุขของชุมชนแหล่ง โครงการพัฒนาสุขภาวะชุมชนเพือ ่ สร ้างความเข ้มแข็งสูค ทุนสนับสนุนสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร ้างเสริมสุขภาพระยะเวลาดาเนินงาน พ.ศ.2551 – 2552

การวิจ ย ั เพื่อ พั ฒ นาเครือ ข่ า ยการท่ อ งเที่ย ว จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เครื อ ข่ า ยควาย – วั ว ต าบลโนนกาเล็ น ส าโรง กลุม ่ เครือ ่ งปั น ้ ดินเผา ตาบลปทุม อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

โครงการสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุบลราชธานีแหล่งทุน สนั บสนุนสานั กงานคระกรรมการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติระยะเวลา ดาเนินงานพ.ศ.2547 จนถึงปั จจุบน ั

โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเข ้มแข็งของเด็กเยาวชนและครอบครัว เพือ ่ สร ้างความอยู่ เป็ นสุขของสังคม (โซน 5 พื้นที่ 5 อ าเภอ) แหล่งทุนสนั บ สนุ นกองทุนส่งเสริมการจั ดสวั สดิก ารสังคม สานั กงานพั ฒนาสังคมและ กิจกรรมเติม หั วใจให ้สังคมเพือ ่ ค ้นหาต ้นแบบในการสร ้างความดีใ นสังคม เพือ ่ ให ้สังคมนาไปเป็ นแบบอย่าง

โครงการพัฒนาศักยภาพวิทยุชม ุ ชนเพือ ่ ธรรมาภิบาล แหล่งทุนสนั บ สนุ นสถาบันการเรียนรู ้ ่ ภาคประชาชน ระยะเวลาดาเนินงานตุล าคม พ.ศ. 2548 – และพั ฒ นาประชาสังคม สถาบันพั ฒนาสือ พฤษภาคม 2549

โครงการพัฒนาประชาธิปไตยสร ้างการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการยกร่างรัฐธรรมนูญแห่ง อาณาจักรไทย จังหวัด อุบลราชธานี

โครงการพัฒนานโยบายสาธารณะเพือ ่ คุณภาพทีด ่ ี

โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการ ท่องเทีย ่ วเชิงอนุรักษ์กลุม ่ เครือ ่ งปั น ้ ดินเผา ตาบลปทุม อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

18

่ สร ้างสุขจังหวัด โครงการสือ อุบลราชธานี แหล่งทุนสนับสนุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร ้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) ระยะเวลา ดาเนินงาน พ.ศ. 2548 – 2552 (โครงการต่อเนือ ่ ง 4 ปี )

โครงการวิจัยเสริมสร ้างศักยภาพวิชาการเป็ น นักวิจัย PAR เพือ ่ พัฒนาท ้องถิน ่ ทาให ้เกิดการเปลีย ่ น แปลงในชุมชนอย่างชัดเจนทัง้ ในเรือ ่ งของความมัน ่ ใจทีจ ่ ะ ใช ้งานวิชาการนาการพัฒนาและการทางานร่วมกันและทา ให ้ชุมชนเปลีย ่ นทัศนคติทรี่ ู ้ถึงความเลือ ่ มล้าของนักวิชาการ กับชาวบ ้านให ้ความสัมพันธ์ในระนาบ

การดาเนินกิจกรรมทีผ ่ า ่ นมา ดาเนินกิจกรรมในพืน ้ ทีจ ่ ังหวัดอุบลราชธานีเป็ นหลักโดยเน ้นกระบวนการมีสว่ น ร่วมขององค์กรชุมชน นอกจากนีย ้ งั ประสานการทางานกับเครือข่ายข ้ามจังหวัดเพือ ่ สร ้าง กระบวนการเรียนรู ้และเปลีย ่ นประสบการณ์ทเี่ ป็ นประโยชน์รว่ มกัน

คณะกรรมการและเจ้าหน้าทีป ่ ระจา นายแพทย์นริ ันดร์ พิทักษ์ วัชระ นายแพทย์ประวิทย์ วิรย ิ ะสิทธาวัฒน์ นายแพทย์ดนัย ธีวันดา นางชุตม ิ า จันทรมณี นายรพินทร์ ยืนยาว น.ส.ภัทราวดี พลเยีย ่ ม

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ / เลขานุการ กรรมการและเหรัญญิก ผู ้จัดการมูลนิธฯิ เจ ้าหน ้าทีธ ่ รุ การและการเงิน

สถานทีต ่ ด ิ ต่อ สาน ักงาน : เลขที่ 58/ 6 ถนนเข อ ื่ นใน อ าเภอเม อ ื ง จ.อุบ ลราช ธาน ี 34000 ั โทรศพท์ : 045 – 244663 , 045 – 244664 โทรสาร อีเมล์

: 045 – 244664 : [email protected]

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

19

ิ ป์ พล ังแห่งศล

ิ ป์ สวน อ ักษร ศล ั เรือ ่ ง: ศิรน ิ าฎ มาตรา เจ้าหน้าทีฝ ่ ่ ายพ ัฒนาศกยภาพ ั โครงการหุน ้ ส่วนการพ ัฒนาภาคประชาสงคมฯ ภาพ: T-rawat Sadsee, ก ัลยาณมิตรทางโลกออนไลน์

กาดินเผาป้ านนี้ ฉั นเห็นมันตัง้ วางในสวนของเพือ ่ นฉั น บ ้านสวนครัว บ ้านของ ้ ในเขตเมือง นักเกษตรกรรมและศิลปิ นหนุ่มสาวหลายคน ทีห ่ ันหลังให ้กับการผลิตชนชัน เขาและเธอเหล่านี้ ช่วยกันเก็บฟื น ก่อไฟ ต ้มน้ าร ้อน เพือ ่ บรรณาการแด่ผู ้เหนือ ่ ย ล ้าและหลงทาง หลายครัง้ นักเกษตรกรรมหนุ่มสาว เชิญชวนเพือ ่ นมิตร ร่วมไถหว่านเมล็ด พันธุแ ์ ห่งความหวัง สร ้างสันบทกวีและงานศิลปะในไร่นา บางครัง้ ฉั นครุน ่ คิด ท่ามกลางแดดแล ้ง ลมร ้าย และศัตรูพช ื พันธุเ์ สรีของนัก เกษตรกรรมหนุ่มสาวจะงอกงามได ้อย่างไรหนอ...

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

20

ติดต่อ ศปส. อาคาร HS02 ห ้อง 2405-2406 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เลขที่ 123 หมู่ 16 อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ : 043 202 353 โทรสาร : 043 203 433 อีเมล: [email protected] เว็บไซต์ ศปส.

http://csnm.kku.ac.th

เว็บไซต์โครงการหุ ้นสว่ นการพัฒนาภาคประชาสังคมฯ

http://cspp.kku.ac.th/?lang=en

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—เมษายน 2559

จดหมายข่าว ศปส. “สานพลังภาคประชาสังคมลุม ่ น้ าโขง” ประจาเดือนมกราคม—มีนาคม 2559 ................

21

CSNM-3MonthNewsletter(1-3-2016).pdf

... (Offline) на Андроид. Download Android Games, Apps &Themes. THEOFFICIALGAME. OF THEAMAZINGSPIDER-MAN 2 MOVIE. Web-sling, wall-climb and.

7MB Sizes 3 Downloads 149 Views

Recommend Documents

No documents