FITM NEWS ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 มกราคม 2558

9

>> เผยเคล็ดลับกับนักวิจัย กลยุทธ์แห่งความสำ�เร็จ >> กำ�หนดหัวข้อวิจัยอย่างไร...ให้ได้ทุน งานวิจัยที่เหมาะสมกับพื้นที่ จ.ปราจีนบุรี >> รากหญ้า...ที่ไม่น่ามองข้าม วิสาหกิจรากหญ้า พื้นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน

กลยุทธ์แห่งความสำ�เร็จ

FITM NEWS Volume 3 | No.9 | January 2015

F ront view เรื่อง : ดร.สุมิตรา ไชยญาติ

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ

ด้ ว ยความเป็ น คนชอบหาเรื่ อ งใส่ ตั ว เป็นประจำ� พอมีเวลาว่าง ฉันก็มักจะมองหาเวที วิ ช าการระดั บ นานาชาติ ที่ ที่ จั ด ในอั ง กฤษดู บ้ า ง 2 | Front view พูดง่าย ๆ อยากไปเป็นผูด้ อี งั กฤษดูสกั ครัง้ นัน่ แหละ 3 | I was there ใช้ เ วลาไม่ น านฉั น ก็ ไ ด้ ก ารประชุ ม ทางวิ ช าการ ไปเป็นผู้ดีอังกฤษ ที่เกิดมาเพื่อฉันคือ CM13 - An International กราวนด์ ตอน : ลันดั้น อันเดอร์ Conference on Computational Mechanics จัดที่ 4 | Today’s story เมืองเดอแร่ม ระหว่างวันที่ 25 – 27 มีนาคม 2556 วิสาหกิจรากหญ้า โดยมีมหาวิทยาลัยเดอแร่ม เป็นเจ้าภาพ ไม่รอช้า.. พื้นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน ฉันรีบเสก (เขียนอย่างเร่งด่วน...ทีส่ ดุ !) บทความวิจยั 5 | Main dish ส่งเข้าสู่กระบวนการ ซึ่งใช้เวลาร่วมครึ่งปี ฉันก็ได้ กลยุทธ์ แห่งความสำ�เร็จ ตอบรับให้เข้าร่วมการประชุมวิชาการทีว่ า่ นี้ จากนัน้ 6 | Not only (teach) ฉันก็เริม่ วางแผนการเดินทาง (ใช้เวลามากกว่าตอน งานวิจัยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี เสกบทความเสียอีก!) ฉันเลือกเส้นทางบินไปลง 7 | Extraordinary สวัสดีค่ะ FITM NEWS ฉบับนี้ ลอนดอนเมืองหลวงก่อน เพราะอยากไปเห็น “ลันดัน้ ศูนย์ การเรียนรู้ “เทคโน...OK” มาถึ ง มื อ แฟน ๆ ช้ า ไปสั ก หน่ อ ย อันเดอร์กราวนด์” ด้วยตาของตัวเอง ทำ�ไมน่ะหรือ??? 8 | Who What Where When ด้ ว ย เ ห ตุ ผ ล ที่ บ ร ร ณ า ธิ ก า ร มิ ค ว ร สมัยเป็นนักศึกษาสาขาวิศวกรรมโยธา ฉันได้ยิน 2 | See you soon จะหยิบมาแก้ตัว อย่างไรก็ตามเนื้อหา ได้ฟัง ได้เรียน ความเป็น “ครั้งแรก” ของรถไฟฟ้า ใ น ฉ บั บ นี้ น่ า ติ ด ต า ม อ ย่ า ง ยิ่ ง ค่ ะ สายนีม้ ากมาย ผ่านจากปากอาจารย์ผสู้ อนแต่ละวิชา Main dish เปิดตัวนักวิจัยคนเก่ง ที่ได้รับ S ee you soon ตัง้ แต่วชิ าวิเคราะห์โครงสร้าง ธรณีเทคนิค วิศวกรรม รางวั ล ในงาน “เทคโนวิ จั ย ครั้ ง ที่ 5” ฐานราก วิศวกรรมขนส่ง และอื่น ๆ อีกมากมาย ประจำ�ปีการศึกษา 2557...ยังอยู่ในเรื่อง “เดี๋ยว...ได้เจอกันแน่!”...ฉันแอบคิดในใจ ลุ้นของที่ระลึกจากเรา ของงานวิ จั ย นั ก วิ จั ย ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เพียงเล่นเกมง่าย ๆ ปราจี น บุ รี จะกำ � หนดหั ว ข้ อ งานวิ จั ย อย่ า งไร ตามอ่ า นได้ เ ลยค่ ะ ที่ ค อลั ม น์ “เติมตัวเลขในช่องว่าง” Not only (teach) ซึ่งฉบับนี้ ท่านรอง อธิ ก ารบดี ประจำ � วิ ท ยาเขต มจพ. 12 13 ปราจีนบุรี สละเวลาอันมีค่ายิ่งของท่าน มาเขียนคอลัมน์เพื่อเปิดมุมมองสำ�หรับ 11 15 5 4 6 นักวิจยั รุน่ ใหม่ สว่ นใน Today’s story นัน้ 7 3 2 ฉันบินตรงจากกรุงเทพไปลงที่สนามบิน อ.ทิ ช ากร หยิ บ เรื่ อ งวิ ส าหกิ จ รากหญ้ า 9 4 14 14 3 ฮี ท โทรในช่ ว งค่ำ � ๆ แล้ ว ก็ แ บกกระเป๋ า เดิ น ทาง มาคุยให้ฟัง ซึ่งน่าสนใจและเหมาะกับ ใบเขื่องตรงดิ่งไปที่สถานีรถไฟใต้ดินทันที เนื่องจาก วิถชี มุ ชนทีเดียว จากนัน้ ใครใคร่โกอินเตอร์ 15 เป็ น สถานี ใ หญ่ เ ป็ น หน้ า ตาของชาติ จึ ง สะอาด เชิ ญ อ่ า น I was there ที่ ร องคณบดี เรียบร้อย สะดวก มีทงั้ ทางลาด ลิฟต์ และบันไดเลือ่ น ฝ่ า ยวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการพานั่ ง จะสะดุดอยูน่ ดิ เดียว ตรงทีก่ ะเหรีย่ งดัง้ หัก ซือ้ ตัว๋ ไม่เป็น!!! ส่งคำ�ตอบมาได้ที่เพจ : FITM.KMUTNB รถไฟใต้ดนิ ไปลันดัน้ สนุกจนจบในฉบับนี้ โดยโพสบนหน้า Wall หลังใช้กลยุทธ์ “ยิ้มสยาม ถาม(ได้)ทุกเรื่อง” ฉันก็ได้ ไม่ลงกันเลยทีเดียว พิมพ์ see you soon ครอบครองบัตรเบ่ง (ตั๋วแบบเหมารายวัน) ที่เบ่งได้ แล้วตามด้วยคำ�ตอบของท่าน ท้ายนี้ ขอจบแบบเก๋ ๆ เข้ากับ ทั้งบนรถไฟ รถเมล์ เรือเมล์ ลิเก ตำ�รวจ (เอิ่ม++... ธี ม เล่ ม “กลยุ ท ธ์ แ ห่ ง ความสำ � เร็ จ ” ว่ า ง่าย ๆ แค่นี้ สองอย่างหลังเบ่งไม่ได้ค่ะ) ฉันก็กระโดดขึ้นรถไฟ To get to the finish line, you’ll have to สายพิคาดิลลี่ (Piccadilly Line) เป็นรถไฟสายเดียว ก็รับของรางวัล try lots of different paths กว่าจะพบ ที่ ผ่ า นสนามบิ น ข้ า มไปอี ก ฟากของมหานคร จากเราไปเลย ความสำ�เร็จ อาจต้องทำ�หลายวิธี ความ ลอนดอนเพื่อไปที่พักใกล้ ๆ สถานีรถไฟคิงสครอส มุ่งมั่นและไม่ย่อท้อจะทำ�ให้พบทางออก (King’s Cross) อย่างอ่อนแรง เพราะจากสนามบิน คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม เสมอ ไม่ ว า ่ จะวิ จ ย ั หรื อ ใด ๆ ก็ ต าม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มาถึงนี่ ผ่านมายี่สิบกว่าสถานี วิ่งขึ้น ๆ ลง ๆ บน ๆ ที่อยู่ 129 หมู่ 21 ตำ�บลเนินหอม ล่าง ๆ จนกระเหรี่ยงงุนงง เพิ่งได้รู้ว่าโครงข่ายรถไฟ อำ�เภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25230 เชือ่ มต่อกันหมด วิง่ ได้ทกุ รางทุกที่ ลองนึก ๆ ดูนะคะ โทรศัพท์ 0-3721-7310 เหมือนกับนั่งรถไฟจากรังสิต มาต่อลอยฟ้าและมุด Facebook : www.facebook.com/FITM.KMUTNB บรรณาธิการ ใต้ดนิ มาถึงหัวลำ�โพงได้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งเปลีย่ นขบวนรถ

Contents

?

2 FITM NEWS

I was there

ไปเป็นผู้ดีอังกฤษ ตอน : ลันดั้น อันเดอร์กราวนด์ (London Underground)

รุ่งสางฟ้ายังไม่สว่าง ฉันออกเดินมองหา สั ญ ลั ก ษณ์ แ สดงตำ � แหน่ ง สถานี ทั น ที (บางครั้ ง เห็นติดอยู่หน้าอาคารสำ�นักงานที่มองไม่มีทางรู้ว่า มีสถานีรถไฟอยูด่ า้ นล่าง) ตัวหนังสือ “Underground” จะถูกแทนที่ด้วยชื่อสถานีเพื่อเป็นป้ายชื่อให้เห็น เวลารถไฟจอด หรือทางเดินในอุโมงค์ มีแม้กระทั่ง แผ่นโลหะประทับรอยติดทีข่ น้ั บันไดด้วย...ละเมียดมาก! ลันดั้น อันเดอร์กราวนด์ หรือ ดิ อันเดอร์กราวนด์ (The Underground) มีชื่อเสียงจากการเป็นรถไฟ ใต้ดินสายแรกของโลก โดยเริ่มเปิดทำ�การเดินรถ มาตัง้ แต่ มกราคม 1863 ซึง่ ต่อมาถือเป็นระบบขนส่ง ในเมือง (Metro System) ระบบแรกของโลกอีกด้วย สายแรกที่ เ ปิ ด ทำ � การนั้ น เป็ น สายวิ่ ง ข้ า มเมื อ ง (เมื่อ 153 ปีที่แล้ว) จากฝั่งตะวันตกไปตะวันออก มีชอ่ื เรียกว่า สายเมโทรโปลิแทน (Metropolitan Line) ใช้เทคนิคการก่อสร้างแบบตัดแล้วถม (Cut and Cover) คื อ ขุ ด เปิ ด หน้ า ดิ น ออกทั้ ง หมด ก่ อ สร้ า งอุ โ มงค์ แล้ ว ถมดิ น กลั บ ภายหลั ง ยั ง มี ชื่ อ เล่ น เพิ่ ม ขึ้ น ว่ า เดอะทิ ว บ์ (The Tube) ที่ ไ ด้ จ ากรู ป ร่ า งอุ โ มงค์ ทีม่ หี น้าตัดวงกลมขนาดเล็กกว่าเดิมมาก และอยูใ่ น ชัน้ ดินเหนียวอ่อนลอนดอน (London Clay) ทีอ่ ยูใ่ น ระดับลึกลงไปกว่าเดิมอีก แน่นอนว่าตัวรถไฟสัญจร

ในเดอะทิ ว บ์ นั้ น ก็ มี ข นาดเล็ ก ลงกว่ า เดิ ม ด้ ว ย ฉันกระโดดขึ้นรถสายโน้น ต่อสายนี้อย่างเมามัน ไปมันทุกแลนมาร์ค ซึง่ สถานีจะอยูใ่ กล้มาก ไม่วา่ จะเป็น เวสมิ น สเตอร์ แ อบบี้ บิ๊ ก เบน ลอนดอนอายด์ ต ล า ด ส ด โ บ โ ร ส ะ พ า น ท า ว เ ว อ ร์ บ ริ ด จ์ พระราชวั ง บั ค กิ้ ง แฮม สะพานมิ ล เลนเนี่ ย ม (อันนี้ก็ Must See List ของฉันจากสมัยเรียน ป. โท) ลอนดอนทาวเวอร์ โดยเฉพาะสถานี เซนต์พอล ทีอ่ ยูห่ น้ามหาวิหารเซนต์พอล (St. Paul Cathedral) แบบว่า...โผล่ออกมาจากใต้ดิน กวาดตามองหา ซ้าย ๆ ขวา ๆ แอบบ่นในใจว่า “อยูไ่ หนนะเนีย่ ยยยย” กะว่าจะมองให้เห็นโดมแล้วจะเดินไปถึง พอหันหลัง กลั บ มา...ฉั น ต้ อ งแหงนคอตั้ ง บ่ า อยู่ ใ ต้ เ งา ของมหาวิหารนั่นเอง ฉันผ่านวันอันโหดร้ายมาได้ และมารอ ขึน้ รถไฟไปยังเมืองเดอแร่มในตอนค่ำ� ๆ ทีส่ ถานีคงิ สครอส ที่นี่มีชานชลา 9 ¾ สำ�หรับผู้ที่ต้องการเดินทางไป โรงเรียนฮอกวอตส์ แฟนคลับแฮรีพ่ อตเตอร์แห่ถา่ ยรูป กัน อย่า งสนุก รวมถึงฉันที่พุงกางมาด้วยอาหาร พื้นถิ่นอันโด่งดัง Fish and Chips ที่เก่าแก่ไม่แพ้ รถไฟใต้ดินของลอนดอนเชียวนะ มีให้เลือกตั้งแต่ จานด่วนราคาหลักหน่วยข้างถนน ไปจนถึงราคา

หลักร้อยปอนด์ ฉันเลือกร้านอาหารระดับกลาง ๆ เพือ่ จะได้นงั่ พักขาอันแสนล้า โดยแจ้งความจำ�นงว่า ต้องจานนี้เท่านั้น บริกรกางเมนูออกบอกให้เลือก ชนิดของปลา (พี่คะ....หิวจนตาลาย ยังจะให้อ่าน เมนูยาวอย่างกะหางว่าวอีกรึ ?) อีกครัง้ ทีส่ ง่ ยิม้ สยาม แสนหวานให้ แล้วบอกว่า “เลือกให้หน่อยนะคะ” บริกรหน้าเปือ้ นยิม้ ละไมเลือกปลาแอตแลนติกค็อตให้ พลางบอกว่าอร่อยและขายดีที่สุดของร้าน...จบ! พอขึ้นรถได้ ฉันก็เริ่มเคลิ้ม พลันนึกว่า ลอนดอนเป็ น เมื อ งที่ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วมากมาย จากหลากหลายเชือ้ ชาติ มีคนร่อนเร่ไร้บา้ นพอเห็นได้ และฉันเองเจอคนตกทองด้วยนะ! แต่ทกุ คนใช้ระบบ ขนส่งสาธารณะเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็น “ผู้ดี” หรือไม่ จะยากดี มี จ น ใส่ เ สื้ อ ขนมิ้ ง ค์ ท็ อ ปบู๊ ท หนั ง แกะ ตายในท้องวัว หรือจะซอมซ่อ มอม ๆ ขาด ๆ วิน่ ๆ รวมถึ ง กะเหรี่ ย งอย่ า งเรา ก็ ต้ อ งนั่ ง รถไฟขบวน เดียวกันแทบทั้งสิ้น รถยนต์บนถนนมีน้อย ถนนเล็ก แสนเล็ก แคบแสนแคบ สถานที่ราชการใหญ่ ๆ กลางกรุงมีที่จอดรถอยู่ไม่กี่ช่องเท่านั้น ตัวสถานี รถไฟใหญ่ ๆ คนเยอะ ๆ มักจะดูดี มีการบำ�รุงรักษา ปรับปรุง ซ่อมแซมและตกแต่งอย่างดี หากออกไป ทางชานเมื อ งสั ก หน่ อ ยก็ จ ะได้ พ บสถานี เ ก่ า ๆ สกปรกน้อย ๆ (อันเนือ่ งจากความเก่า) แลดูเปลีย่ ว ๆ เหงา ๆ พอเข้ า ใจได้ น ะว่ า ทั้ ง หมด 270 สถานี รวมระยะทาง 402 กิโลเมตร (รถไฟใต้ดินของเรา 18 สถานี 20 กิโลเมตร แต่ใหม่กว่าเขา 137 ปีค่ะ) จะทำ�ให้ดีเลิศทุก ๆ สถานี ดูเป็นการลงทุนที่ไม่มีวัน คืนทุนได้ เหมือนกับหลาย ๆ เมืองใหญ่ก็เป็นไป ในทำ�นองเดียวกัน ข้อสรุปก่อนหลับตาลงบนรถไฟ สายชายฝั่งตะวันออก (East Coast Train) คือ ไม่มอี ะไรสมบูรณ์แบบหรอก แม้แต่ในเมืองผูด้ แี ห่งนี้ ที่สำ�คัญกว่า เจ๋งกว่า คือ “ลันดั้น อันเดอร์กราวนด์” สามารถนำ � พาฉั น ไปยั ง ทุ ก ที่ ห มายสบายผิ ด กั น อย่างง่ายแสนง่าย โดยอาศัยแค่แผนที่การเดินรถ ฉบับเดียวเท่านั้น สะดวกสุด ๆ ไม่ผิดหวัง สมกับที่ ดั้นดั้ง เอ๊ย ดั้นด้น มาดู ฯลฯ คำ�เดียวสั้น ๆ “ฟิน!!!” แบบว่า (ยัง) หามีไม่...ในไทยแลนด์! >> ติตดามตอนต่อไป...ได้ในฉบับหน้า FITM NEWS 3

M ain dish

T oday’s story

กลยุทธ์

วิสาหกิจรากหญ้า พื ้ น ฐานการพั ฒ นาที ่ ย ั ่ ง ยื น เรื่อง : อาจารย์ทิชากร เกษรบัว ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม

วิสาหกิจรากหญ้าหรือวิสาหกิจชุมชน ในปัจจุบนั มีมากมายหลากหลายกลุม่ แนวคิดเศรษฐกิจรากหญ้าหรือวิสาหกิจชุมชนนี้เกิดขึ้นมาจากการนำ�เอาแนวคิด เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ระบบ โดยแนวคิ ด นี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระราชทานแก่พสกนิกร ชาวไทย ตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา และได้กล่าวถึงอย่างชัดเจนในปี 2540 หลังจากที่ ประเทศไทยเข้าสู่วิกฤตเศรษฐกิจทางเงินที่เรียกว่า “ต้มยำ�กุ้ง” แนวคิดนี้ได้เข้ามา เปลีย่ นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศทีเ่ น้นความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม ให้มาเป็นการพัฒนาประเทศให้สามารถดำ�รงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงถูกนำ�มาใช้เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบ เศรษฐกิ จ มหภาคของประเทศไทย โดยเริ่ ม บรรจุ เ ข้ า ในแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549) จนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับปัจจุบัน (แผนฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559) ซึ่งยุทธศาสตร์ หลักที่สำ�คัญก็คือ การพัฒนา “วิสาหกิจชุมชน” การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เป็นกิจกรรมหรือการประกอบการของบุคคล ที่อยู่ในชุมชน โดยนำ�เอาความรู้ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และทรัพยากรที่ชุมชนมีอยู่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์และรูค้ ณ ุ ค่า โดยให้ชมุ ชนสามารถพึง่ พาตนเองได้ ผลตอบแทน หรือประโยชน์ที่ชุมชนได้รับอาจจะไม่ใช่ผลของการแสวงหากำ�ไรสูงสุด แต่เป็น การแสวงหากำ�ไรแบบพอมี พออยู่ และพอกิน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน “วิสาหกิจชุมชน” หรือ “วิสาหกิจรากหญ้า” ได้เปลี่ยนเป็น ธุรกิจเชิงพาณิชย์มากขึน้ อีกทัง้ ยังมีสว่ นสำ�คัญในการพัฒนาประเทศให้มคี วามยัง่ ยืน บทบาทของวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนในการพั ฒ นาประเทศที่ เ ห็ น ได้ ชั ด คื อ วิสาหกิจชุมชนได้สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนทั่วทั้งประเทศให้มี ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น โดยไม่ ต้ อ งย้ า ยถิ่ น ฐานเข้ า มากระจุ ก ตั ว อยู่ ใ นพื้ น ที่ ทีม่ คี วามหนาแน่นทางด้านประชากร จึงทำ�ให้คณ ุ ภาพชีวติ ของประชาชนในประเทศ ดีขึ้น นอกจากนี้ วิสาหกิจชุมชนในปัจจุบันยังเป็นรากฐานที่สำ�คัญของการพัฒนา อุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศอีกด้วย ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ พบว่า ในปัจจุบนั วิสาหกิจชุมชน ได้ เ ข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน (Supply Chain) ในอุ ต สาหกรรม ขนาดใหญ่ โดยทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น เหมื อ นอุ ต สาหกรรมต้ น น้ำ � ในการจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ เพื่อรองรับการผลิตของอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมยา และยาสมุนไพร ภายใต้ตราสินค้าโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ซึ่งมีตลาด จำ � หน่ า ยทั้ ง ภายในและภายนอกประเทศ ได้ รั บ วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ในการผลิ ต จากกลุ่มสมุนไพรบ้านดงบัง ซึ่งเป็นวิสาหกิจชุมชนผู้มีความชำ�นาญด้านสมุนไพร สำ�หรับด้านการค้าระหว่างประเทศ พบว่า วิสาหกิจชุมชุนไม่เพียงแต่ ผลิตสินค้าเพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภคในประเทศเท่านั้น แต่ยังสนอง ความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคต่ า งประเทศอี ก ด้ ว ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ที่มีศักยภาพในการส่งออก คงความเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสินค้าไทย สามารถทำ�รายได้ให้แก่ประเทศเป็นจำ�นวนมาก และมีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง จากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น พบว่ า วิ ส าหกิ จ รากหญ้ า หรื อ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ไม่ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งธุ ร กิ จ ในชุ ม ชน เพื่ อ เลี้ ย งชุ ม ชนแต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย วเท่ า นั้ น แต่ ยั ง ก็ ก่ อ ให้ เ กิ ด การเติ บ โตของเศรษฐกิ จ มหภาคของประเทศอี ก ด้ ว ย ดั ง นั้ น จึงไม่ควรมองข้าม หากประเทศสามารถพัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้มีความยั่งยืน ก็จะเป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนด้วยเช่นกัน 4 FITM NEWS

>> ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อที่ [email protected]

แห่ ง ความสำ � เร็ จ

เมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2557 คณะเทคโนโลยีและการจัดการ อุตสาหกรรมได้จัดงาน “เทคโนฯ วิจัย” ครั้งที่ 5 ประจำ�ปี 2557 ในงานมีการมอบรางวัลให้กบั บุคลากรและหน่วยงานทีม่ ผี ลงานดีเด่น และต่อไปนี้เป็นข้อคิดของนักวิจัยเหล่านี้

นักวิจัยดีเด่น ประเภท “ผลงานเผยแพร่สูงสุด” ผศ.ดร.สกุลตลา วรรณปะเข สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และปริญญาโทด้านวิศวกรรมเครื่องกล และปริญญาเอกด้านเทคโนโลยีพลังงาน ปัจจุบันเป็นอาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร เพื่ออุตสาหกรรม ดำ�เนินการวิจัยเกี่ยวกับ การใช้พลังงานในภาคการเกษตร

“…เขียนบทความวิจัยเสนอไปตีพิมพ์ ตามวารสารต่าง ๆ รับบ้างไม่รับบ้าง แต่ก็ถือเป็นการเปิดโอกาสให้ตัวเอง ถ้าเราไม่ส่งเลยนั่นคือไม่มีแม้แต่โอกาส...” Q : อาจารย์มีแรงบันดาลใจในการผลิตผลงานวิจัยอย่างไร งานวิ จั ย แต่ ล ะงานของตั ว เองได้ รั บ แรงบั น ดาลใจจาก การสั ง เกตเวลาไปเดิ น เที่ ย วตามงาน หรื อ ตามสถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว หรื อ บางงานก็ ไ ด้ จ ากการออกไปพบชาวบ้ า นหรื อ กลุ่ ม เกษตรกร กลุ่มแม่บ้านที่ผลิตสินค้า การไปเที่ยวบางครั้งก็ไม่ได้มีความหมาย เพียงแค่การเที่ยวเท่านั้น แต่มันคือการเปิดโลกทัศน์ที่เราไม่เคยได้รู้ มาก่อน และหากเราลองสังเกตดูให้ดีทุกผลิตภัณฑ์ที่ขายดีก็มักจะมี จุ ด ด้ อ ยด้ า นใดด้ า นหนึ่ ง อยู่ แ ล้ ว โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ของกลุ่มเกษตรกร แม่บ้าน หรือผลิตภัณฑ์ OTOP มักจะมีปัญหา ด้านการผลิต เช่น ผลิตสินค้าไม่ทัน คนงานไม่มี มาตรฐานของสินค้า ไม่คงที่ พอเราเห็นก็เลยกลับมานั่งคิดว่าถ้าเป็นเราเราจะแก้ปัญหา พวกนีอ้ ย่างไร และก็มหี ลายงานทีไ่ ด้จากผูป้ ระกอบการหรือกลุม่ ชุมชน ผู้ผลิตสินค้าติดต่อผ่านทางคณะ แล้วคณะก็มอบหมายให้ไปศึกษา ดูงาน ซึ่งส่วนมากมักจะได้งานกลับมา ซึ่งถือเป็นโอกาสดีที่จะได้ ออกไปทำ�ประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชนหรือกลุ่มเกษตรกรด้วย Q : อาจารย์มีวิธีการเผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างไร ก็ไม่มีอะไรมาก เมื่อทำ�งานวิจัยแล้วก็เขียนบทความวิจัย เสนอไปตีพิมพ์ตามวารสารต่าง ๆ รับบ้างไม่รับบ้าง แต่ก็ถือเป็น การเปิดโอกาสให้ตัวเอง ถ้าเราไม่ส่งเลยนั่นคือไม่มีแม้แต่โอกาส นอกจากนี้การส่งบทความไปยังงานประชุมวิชาการต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบัน มี อ ยู่ ต ลอดทั้ ง ปี แ ละมี ห ลายระดั บ ทำ � ให้ เ ราได้ พ บปะกั บ นั ก วิ จั ย จากต่ า งสถาบั น และได้ ค วามรู้ เ พิ่ ม เติ ม ว่ า ตอนนี้ เ พื่ อ น ๆ นั ก วิ จั ย เขาทำ�อะไรกันบ้าง ที่สำ�คัญถือว่าเราได้ไปท่องเที่ยวในสถานที่ที่เรา จะไปประชุมวิชาการด้วย อย่างหลังนี้ถือว่าเป็นโบนัสจากงานวิจัย

นักวิจัยดีเด่น ประเภท “ทุนวิจัยสูงสุด” ผศ.ดร.ยุพิน สรรพคุณ

สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านวิศวกรรม โทรคมนาคม ปริญญาโทและปริญญาเอก ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ปัจจุบันเป็นอาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ดำ�เนินการวิจัยเกี่ยวกับ ระบบอัตโนมัติ และระบบสารสนเทศ

นักวิจัยดีเด่น ประเภท “นักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น” ผศ.ฌานนท์ ปิ่นเสม

สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านการจัดการทั่วไป (การบัญชี) และปริญญาโทด้านธุรกิจอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นอาจารย์ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม นำ�เสนอผลงานวิจยั เรือ่ ง “พัฒนาศักยภาพทางการตลาด ผลิตภัณฑ์จากถ่านไม้ไผ่ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านโนนหินผึ้ง ต.ดงบัง อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี”

“…การเป็นนักวิจัย เริ่มต้นด้วยความสงสัย...”

“…สำ�หรับผมทำ�หน้าที่ตรงหน้าให้ดีที่สุด...”

Q : อาจารย์วิธีการกำ�หนดหัวข้อวิจัยอย่างไร การเป็ น นั ก วิ จั ย เริ่ ม ต้ น ด้ ว ยความสงสั ย ความใส่ ใ จ ในสิ่ ง ต่ า งๆ รอบตั ว เรา การไม่ เ มิ น เฉยและมี ค วามพยายาม ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ต่อจากนั้น ลองค้นคว้าหาวิธีการ ในการแก้ปญ ั หา ความเป็นไปได้ในวิธกี ารทีค่ ดิ ขึน้ โดยคำ�นึงถึงประโยชน์ ที่ ไ ด้ จ ากวิ ธี ดำ � เนิ น การว่ า สามารถตอบโจทย์ ไ ด้ ม ากน้ อ ยเพี ย งใด และครอบคลุมไปถึงระดับใดบ้าง สามารถตอบสนองกับยุทธศาสตร์ การวิจยั ของชาติ หรือของแหล่งทุนใดบ้าง เพือ่ ทีจ่ ะสามารถยืน่ ข้อเสนอ โครงการเพื่อให้ได้มาซึ่งทุนวิจัย อีกกรณีหนึ่งคือ เราสามารถมองหา แหล่งทุนที่มีโจทย์วิจัยอยู่แล้ว จากนั้นสำ�รวจตนเอง หากมีศักยภาพ ในการแก้ปัญหาโจทย์ดังกล่าว จึงยื่นเสนอโครงการวิจัยต่อแหล่งทุน และสิ่งที่ต้องการให้กำ�ลังใจนักวิจัยรุ่นใหม่คือ เพียงเรา ไม่นิ่งเฉยกับทุกปัญหาที่อยู่รอบตัวเรา หรือสิ่งที่เราคิดว่าน่าจะดีขึ้น ได้มากกว่านี้ ก็จะทำ�ให้เรามีโจทย์ในการวิจัย ที่สนุกและท้าทาย อันเป็นประโยชน์ ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป

Q : อยากให้พูดถึงรางวัล “นักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น” ที่ได้รับ รางวัลเป็นนักวิจยั รุน่ ใหม่ดเี ด่นทีไ่ ด้รบั การโหวตสูงสุดนัน้ คงเป็นเพราะลักษณะ งานวิจัย เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและเข้าใจได้ง่าย ภายใต้ความสำ�เร็จนี้ผมต้องขอขอบคุณ หัวหน้าทีม อาจารย์ทิชากร ที่ช่วยผลักดัน และช่วยกระตุ้นให้ส่งงานตามกำ�หนดเวลา และอาจารย์ ฑิ ฆั ม พรผู้ ร่ ว มวิ จั ย อี ก ท่ า นหนึ่ ง ก็ ช่ ว ยกระตุ้ น และร่ ว มมื อ กั น ทำ � วิ จั ย อย่างเต็มความสามารถ จนงานสำ�เร็จได้อย่างดี ตามที่ทุกท่านเห็นสำ�หรับผม ทำ�หน้าที่ ตรงหน้าให้ดีที่สุด

นักวิจัยดีเด่น ประเภท “ผลงานวิจัยยอดนิยม” ผศ.ดร.นิพนธ์ ภูวเกียรติกำ�จร

สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านเทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตร ปริญญาโทด้านและปริญญา เอกด้านวิศวกรรมเครื่องกล ปัจจุบันเป็นอาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม นำ�เสนอ ผลงานวิจัยเรื่อง “การประยุกต์ใช้เทอร์โมไซฟอน สำ�หรับประหยัดพลังงานในเตาอบไก่“

“...มองงานวิจัยนั้นต่อยอดไปสู่เชิงพาณิชย์ ไม่ให้ความรู้อยู่เพียงแต่ในกระดาษ...” Q : อาจารย์จะกล่าวถึงรางวัลที่ได้รับอย่างไรบ้าง รู้ สึ ก ดี ใ จมากครั บ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล นี้ ขอขอบพระคุ ณ ทุกๆคะแนนที่โหวตให้นะครับ สิ่งที่ได้มาไม่ใช่เป็นเพียงแค่รางวัล แต่มันคือ การได้พัฒนาตัวเอง Q : แรงบันดาลใจในการทำ�งานวิจัยของอาจารย์คืออะไร แรงบั น ดาลใจในการทำ � วิ จั ย นั้ น คื อ การได้ นำ � ความรู้ มาพั ฒ นาสิ่ ง ที่ มี อ ยู่ ห รื อ นำ � ความรู้ ม าประดิ ษ ฐ์ สิ่ ง ที่ ต อบสนอง ความต้องการทางพื้นฐานในชีวิตประจำ�วันของเราให้ดีขึ้น และมอง งานวิจยั นัน้ ต่อยอดไปสูเ่ ชิงพาณิชย์ ไม่ให้ความรูอ้ ยูเ่ พียงแต่ในกระดาษ Q : อาจารย์จะต่อยอดผลงานวิจัยอย่างไร การต่ อ ยอดในอนาคตของงานวิ จั ย ชิ้ น นี้ ผมจะพั ฒ นา เป็นเตาอบขนาดเล็กเคลื่อนย้ายได้ง่าย น้ำ�หนักเบา สามารถนำ�ไปใช้ ในครัวเรือนหรือเป็นเตาทีส่ �ำ หรับจัดกิจกรรมกลางแจ้งขนาดเล็ก ๆ ได้ เนือ่ งจากปัจจุบนั เตาอบในครัวเรือนส่วนใหญ่ จะใช้พลังงานจากไฟฟ้า ในการให้ ค วามร้ อ น ทำ � ให้ เ มื่ อ ต้ อ งการใช้ เ ตาอบนอกสถานที่ นั้ น ไม่สามารถใช้งานได้ อีกทั้ง รสชาติ กลิ่น เนื้อสัมผัส ที่ได้แตกต่าง จากการใช้ถ่านไม้จากธรรมชาติ

Q : อาจารย์จะพัฒนางานวิจัยนี้ต่อไปอย่างไร ด้ า นงานวิ จั ย ยั ง พั ฒ นาได้ ต่ อ ก็ ค งเป็ น เรื่ อ งของการจั ด จำ � หน่ า ย ชุ ม ชน มีผลิตภัณฑ์ แต่ไม่ทราบช่องทางการตลาด นอกจากนี้ชุมชนมีวัตถุดิบแต่ไม่รู้จะพัฒนา เป็นผลิตภัณฑ์อะไร ซึ่งก็อยากให้เราไปช่วยคิดต่อ ส่วนผมก็คงจะไปช่วยในส่วนของ การตลาด ส่วนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในประเด็นหลังก็คงจะเป็นนักวิจยั ท่านอืน่ ๆ ต่อไป ต้องขอขอบคุณมูลนิธริ กั ษ์ไทยและคณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรมด้วยครับ ที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนทุนวิจัยจนทำ�ให้การดำ�เนินงานวิจัยนี้สำ�เร็จด้วยดี Q : อาจารย์มีหลักคิดอย่างไรจึงสามารถบริหารตนเองได้ดีในทุกบทบาท ไม่ ว่ า จะเป็ น หน้ า ที่ ร องคณบดี หน้ า ที่ อ าจารย์ หรื อ แม้ แ ต่ ห น้ า ที่ ส ามี และพ่ อ ของลู ก ทำ � หน้ า ที่ เ ต็ ม ความสามารถเท่ า ที่ ทำ �ได้ เท่ า ที่ ทำ � แล้ ว มี ค วามสุ ข ถ้าทำ�แล้วไม่มีความสุขก็ไม่ทำ�

หน่วยงานวิจัยดีเด่น ประเภท “ทุนวิจัยสูงสุด” และประเภท “จำ�นวนนักวิจัยสูงสุด” อาจารย์สุบรรณ ตาคำ�วัน

หัวหน้าภาควิชาการออกแบบและบริหารงานก่อสร้าง ผู้นำ�ทีมสู่การคว้า 2 รางวัลหน่วยงานวิจัยดีเด่น

“...เชื่อว่าหากหน่วยงานอื่นร่วมกันสร้างบรรยากาศการทำ�วิจัย และมีนักวิจัยพี่เลี้ยงที่ช่วยสนับสนุนการทำ�วิจัย การเพิ่มจำ�นวนนักวิจัยและผลงานวิจัยก็คงไม่ใช่เรื่องไกลตัว...” Q : ในฐานะหัวหน้าภาควิชา อาจารย์ก�ำ หนดนโยบาย หรือมีกลยุทธ์ในการกระตุน้ การทำ�วิจัยของบุคลากรภาควิชาอย่างไร ภาควิชาการออกแบบและบริหารงานก่อสร้าง คงเหมือนกับทุก ๆ หน่วยงาน ในคณะและมหาวิทยาลัย ทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดนโยบายด้านการสนับสนุนและการส่งเสริม การทำ�วิจัย รวมถึงการผลักดันเป็นลำ�ดับจากมหาวิทยาลัย สู่คณะ และสู่ภาควิชา ส่วนภาควิชาฯ เอง ทำ�หน้าทีป่ ระชาสัมพันธ์กจิ กรรมต่าง ๆ ให้บคุ ลากรทราบโดยทัว่ ถึงกัน อีกสิ่งหนึ่งที่ทำ�ให้ภาควิชาได้รับรางวัล เป็นเพราะเรามีบุคลากรกลุ่มหนึ่ง ที่มีประสบการณ์งานวิจัย เป็นที่ปรึกษาและชักจูงให้บุคลากรภาควิชาทำ�งานวิจัย รวมถึงสร้างบรรยากาศการทำ�วิจยั ให้เกิดขึน้ ในภาควิชา เชือ่ ว่าหากหน่วยงานอืน่ ร่วมกัน สร้ า งบรรยากาศการทำ � วิ จั ย และมี นั ก วิ จั ย พี่ เ ลี้ ย งที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น การทำ � วิ จั ย การเพิ่มจำ�นวนนักวิจัยและผลงานวิจัยก็คงไม่ใช่เรื่องไกลตัว FITM NEWS 5

N ot only (teach)

อ่างเก็บน้ำ�จักรพงษ์ จ.ปราจีนบุรี

งานวิจย ั

ที่ เ หมาะสมกั บ พื้ น ที่ จั ง หว ั ด ปรา จี น บุ ร ี

เรื่อง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระศักดิ์ เสรีกุล รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี

ในการกำ�หนดหัวข้อโครงการวิจยั ของนักวิจยั นัน้ จะต้องคำ�นึงถึงปัจจัยหลาย ๆ อย่าง ที่จะนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จของงานวิจัยชิ้นนั้นและการหาแหล่งทุนวิจัยมาสนับสนุนได้ง่าย ที่ผม จะขอกล่าวถึงในเบื้องต้นจะมีอยู่ทั้งหมด 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ประเทศและยุทธศาสตร์จังหวัดที่พื้นที่วิจัย ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของแหล่งทุนวิจัย และการนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ โดยโครงการวิจัยใดที่มีความสอดคล้องกับ 3 ปัจจัย ที่กล่าวมา ก็มีแนวโน้มที่จะประสบความสำ�เร็จทั้งในด้านแหล่งทุน การได้รับสนับสนุนจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และด้านการได้รับประโยชน์จากงานวิจัยอย่างแท้จริง ผมขออธิบาย รายละเอียดของแต่ละปัจจัย ดังนี้นะครับ ยุทธศาสตร์ประเทศและยุทธศาสตร์จังหวัดปราจีนบุรี โครงการวิจัยที่จะขอทุนสนับสนุนจากรัฐบาล ควรจะต้องเป็นการวิจัยที่สอดคล้อง กับทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ของประเทศ ได้แก่ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 1 : การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ของประเทศเพื่ อ หลุ ด พ้ น จากประเทศรายได้ ป านกลาง (Growth & Competitiveness) ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 2 : การลดความเหลื่ อ มล้ำ � (Inclusive Growth) ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 3 : การเติ บ โตที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Green Growth) และ ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การสร้างความสมดุลและปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐ (Internal Process) และถ้าหากเป็นโครงการวิจัยที่ต้องการมุ่งเน้นพื้นที่การทำ�วิจัยให้อยู่ในจังหวัดปราจีนบุรี ก็ควรจะต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัดปราจีนบุรี ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริม การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของอุตสาหกรรมสีเขียว รองรับ AEC และตลาดโลก ยุทธศาสตร์ที่ 2 : เมืองน่าอยู่ด้วยการพัฒนาทุนทางสังคมและความมั่นคงสู่สังคมเป็นสุข และ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาการเติบโตทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และสุขภาพ 6 FITM NEWS

ดังนั้นโครงการวิจัยที่ควรจะดำ�เนินการในจังหวัด ปราจีนบุรี ก็ควรจะต้องมีส่วนขับเคลื่อนให้การดำ�เนินงาน ของจังหวัดบรรลุตามยุทธศาสตร์จังหวัดและยุทธศาสตร์ ประเทศ ตัวอย่างโครงการวิจัยที่จะนำ�เสนอ เช่น การพัฒนา คุ ณ ภาพฝี มื อ แรงงาน การพั ฒ นาสถานประกอบการ ให้เข้าสูก่ ารรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว การพัฒนาสิง่ แวดล้อม ในสถานประกอบการและชุมชน การพัฒนาการขนส่งสินค้า (Logistics) การพั ฒ นาปั จ จั ย พื้ น ฐานของสั ง คม และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ประชาชน การอนุรักษ์ และฟื้ น ฟู ร ะบบนิ เ วศน์ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม การพั ฒ นา แหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศน์และสุขภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชน และการพัฒนาระบบการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้ มาตรฐาน เป็นต้น ยุทธศาสตร์ของของแหล่งทุนวิจัย งานวิจยั ทีจ่ ะประสบความสำ�เร็จได้กต็ อ้ งเกิดจาก ทุนสนับสนุนที่พอเพียงและเหมาะสม แหล่งทุนวิจัยหลัก ที่นักวิจัยของคณะได้รับนอกเหนือจากเงินรายได้ของคณะ และของมหาวิทยาลัยก็คือ เงินทุนวิจัยที่มาจากสำ�นักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ดังนั้นเมื่อนักวิจัยต้องการ ที่จะขอทุนวิจัยจาก สกว. ก็ต้องเสนอโครงการวิจัยที่ตรงกับ ของยุทธศาสตร์ของ สกว. โดยยุทธศาสตร์ สกว. ปี 2557 – 2560 ได้กำ�หนดยุทธศาสตร์ไว้ดังนี้ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 1 : การสนั บ สนุ น การวิ จั ย และพั ฒ นาในประเด็ น สำ � คั ญ เพื่ อ สร้างองค์ความรูน้ วัตกรรมทรัพย์สนิ ทางปัญญาและนโยบาย ที่ถูกต้องและเพียงพอ ตรงกับปัญหา และสามารถนำ�ไปใช้ ในการพั ฒ นาชุ ม ชน สั ง คมและประเทศได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การสร้างและการเพิ่ม ศักยภาพของนักวิจยั บุคลากรวิจยั เครือข่ายวิจยั และองค์กร วิจัย ให้มีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ ที่ 3 : การพั ฒ นาระบบวิ จั ย ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยมี ก า ร ทำ � ง า น เ ป็ น เ ค รื อ ข่ า ย แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง สู่ ส า ก ล ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การบริหารจัดการเพื่อนำ�ผลงานวิจัย ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม ของประเทศ การพัฒนาระบบการสื่อสารและการเชื่อมโยง กับสังคมและฝ่ายนโยบาย และยุทธศาสตร์ที่ 5 : การพัฒนา องค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง

E xtraordinary การนำ�ไปใช้ประโยชน์ของผลงานวิจัย ผลงานวิจยั ทีเ่ กิดขึน้ ควรนำ�ไปสูก่ ารใช้ประโยชน์ให้เกิดขึน้ เป็นรูปธรรมเพือ่ ให้เกิด การพัฒนาประเทศและการสร้างความเป็นอยูท่ ดี่ ใี ห้กบั คนในชาติ ดังนัน้ สำ�นักงานกองทุน สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) จึ ง ได้ กำ � หนดกลุ่ ม ของผลงานวิ จั ย ที่ นำ � ไปใช้ ป ระโยชน์ ในด้ า นต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ การใช้ ป ระโยชน์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ การใช้ ป ระโยชน์ เ ชิ ง นโยบาย การใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ การใช้ประโยชน์เชิงชุมชนและพืน้ ที่ และการใช้ประโยชน์เชิง วิชาการ ซึ่งการใช้ประโยชน์ของผลงานวิจัยในแต่ละด้าน สกว. ได้อธิบายรายละเอียด ไว้ดังนี้ การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต และการลดต้นทุนการผลิต การสร้างอาชีพหรือทางเลือกให้กลับกลุ่มเกษตรกร การทำ�ให้ เกิ ด นวั ต กรรม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ พั น ธุ์ พื ช พั น ธุ์ สั ต ว์ ใ หม่ นำ � ไปสู่ ก ารผลิ ต ในเชิ ง การค้ า การสร้างมูลค่า เพิ่มผลิตภัณฑ์ การแปรรูป และสร้างตราสินค้า การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย เป็นการใช้ประโยชน์ในด้านหลักการหรือกรอบ ความคิด แนวทาง กลวิธีการดำ�เนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานนั้น ๆ อาจเป็ น นโยบายระดั บ ประเทศ ระดั บ สาขา ระดั บ ภู มิ ภ าค หรื อ ระดั บ หน่ ว ยงาน โดยระบุวัตถุประสงค์ แนวทางและกลไกในการดำ�เนินงานที่มีความชัดเจน สอดคล้อง กับปัญหาและความต้องการ การใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ เป็นการดำ�เนินงานเพื่อนำ�ผลงานวิจัย ไปใช้ใน วงกว้ า งเพื่ อ ประโยชน์ ข องสั ง คม หรื อ ประชาชนทั่ ว ไป ให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจ เกิดความตระหนักรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงซึ่งนำ�ไปสู่การเปลี่ยนวิธีคิดหรือพฤติกรรม เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน สร้างสังคมคุณภาพ และส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม การใช้ ป ระโยชน์ เ ชิ ง ชุ ม ชนและพื้ น ที่ เป็ น การดำ � เนิ น การเพื่ อ เสริ ม สร้ า ง การเรียนรู้และการขยายผลในพื้นที่โดยชุมชนและภาคีพัฒนาพื้นที่ การใช้ ป ระโยชน์ เ ชิ ง วิ ช าการ เป็ น การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ม องในลั ก ษณะ จากการพิ จ ารณาจากผลงานวิ จั ย ที่ อ้ า งอิ ง (Citation) เพื่ อ ต่ อ ยอดทางวิ ช าการ การนำ�ผลงานวิจัยทั้ง ผลลัพธ์และกระบวนการวิจัยไปใช้ในการเสริมสร้างนวัตกรรม พัฒนาการเรียนการสอน หรือการจัดทำ�หลักสูตรใหม่ จากการใช้ ป ระโยชน์ ข องผลงานวิ จั ย ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น นั ก วิ จั ย ที่ จ ะเสนอ โครงการวิจัยควรจะต้องพิจารณาว่า เมื่อดำ�เนินโครงการวิจัยเสร็จสิ้นแล้วจะต้องนำ� ผลงานวิจัยไปก่อให้เกิดประโยชน์ขึ้นเป็นรูปธรรมอย่างน้อยในด้านใดด้านหนึ่ง จึงทำ�ให้ โครงการวิจัยนั้นได้รับการสนับสนุนและเกิดผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ บทสรุป จากรายละเอียดของปัจจัยในการกำ�หนดหัวข้อโครงการวิจัยที่กล่าวมาข้างต้น นักวิจัยของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี ทีม่ คี วามพร้อมแล้วอยากจะทำ�งานวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ก็ควรจะเริม่ ต้นในการกำ�หนดขอบเขต งานวิจัยให้อยู่ในจังหวัดปราจีนบุรีก่อน เนื่องจากเป็นพื้นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย สะดวก ในการเดินทางติดต่อประสานงาน ซึง่ ทำ�ได้โดยการลงพืน้ ทีส่ �ำ รวจข้อมูลและความต้องการ ในชุมชน ส่วนราชการและโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมทั้งการหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการที่รับผิดชอบในการดำ�เนินงานต่าง ๆ ของจังหวัด เช่น สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จงั หวัด สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ศูนย์พฒ ั นาฝีมอื แรงงาน สำ�นักงานทรัพยากรน้ ำ� สำ�นักงานเกษตรจังหวัด และสำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นต้น รวมทั้ ง นิ ค มอุ ต สาหกรรมที่ ตั้ ง ในจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี เช่ น เขตอุ ต สาหกรรม 304 อินดัสเตรียลปาร์ค นิคมอุตสาหกรรมไฮเทคกบินทร์ สวนอุตสาหกรรมโรจนะปราจีนบุรี เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี และสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ในการเขียนข้อเสนอโครงงานวิจัยก็ระบุให้ชัดเจนว่าสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ประเทศในยุทธศาสตร์ใด สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัดในยุทธศาสตร์ใด และกำ�หนด ว่าผลงานวิจัยที่คาดว่าจะได้รับจะนำ�ไปใช้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง และถ้าต้องการขอทุน สนับสนุนจาก สกว. ก็ต้องระบุเพิ่มเติมว่าโครงการวิจัยนั้นสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ใด ขอให้ทุกท่านมีความสุขกับการทำ�งานวิจัยและสร้างผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ ต่อชุมชน ประเทศชาติ และวงการวิจัยของเรานะครับ >> ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อที่ [email protected]

ศูนย์การเรียนรู้

เทคโน...OK!

ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร อุ ต สาหกรรมเป็ น คณะที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ ในการออกแบบ สร้ า ง และจั ด การระบบธุ ร กิ จ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ ห้ มี ก า ร ดำ � เ นิ น ก า ร อย่างมีประสิทธิภาพ มีเจตนารมณ์ที่จะประยุกต์ องค์ความรู้เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม มีงานวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อนำ�ไปสู่การปฏิบัติจริง รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสอดรับกับความต้องการของชุมชน คณะฯ มีความพร้อมที่จะบริการวิชาการ ในโครงการ “ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ แ ละวิ ช าการ เพื่ อ ชุ ม ชนและความยั่ ง ยื น ” กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต และผู้ ป ระกอบการ OTOP เป็ น หนึ่ ง ตั ว อย่ า ง ที่ ไ ด้ ใ ห้ ค ณะของเราจั ด การบริ ก ารวิ ช าการ และอบรมเกี่ ย วกั บ การเขี ย นแผนธุ ร กิ จ การนี้ ภาควิ ช าการจั ด การอุ ต สาหกรรมได้ รั บ หน้ า ที่ ถ่ายทอดองค์ความรู้ ทั้งด้านเทคโนโลยี ทักษะ และประสบการณ์สู่ผู้ประกอบการ อีกทั้งยังได้ให้ ผูป้ ระกอบการได้ลงมือปฏิบตั จิ ริงตลอดการดำ�เนิน กิจกรรม เพื่อให้ได้รับความรู้อย่างเต็มศักยภาพ คณะฯ สามารถถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ตามความต้องการของท่านในลักษณะ “Make to Order” ทัง้ ในรูปแบบของ การสัมมนา การฝึกอบรม การบรรยายพิ เ ศษ โดยไม่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยใด ๆ เพียงรวมกลุ่มผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกัน มาให้ได้ 5-10 คน แล้วติดต่อโดยตรงมาที่ คุณอัชรินทร์ หมายเลขโทรศัพท์ 083-300-2629

FITM NEWS 7

Who What Where When ศิลปวัฒนธรรม 4 ภาค ลานปาล์ม

เดินวิ่งเทิดพระเกียรติ

คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม

ปลูกต้นไม้ลดโลกร้อน

อาคารปฏิบัติการเครื่องจักรกลเกษตร

18 พฤศจิกายน 2557

26 พฤศจิกายน 2557

26 พฤศจิกายน 2557

เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ภาควิชาการจัดการ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม และสโมสร นักศึกษา คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม ได้จัดโครงการ ศิลปวัฒนธรรม 4 ภาค ณ บริเวณ ลานปาล์ ม อาคารคณะเทคโนโลยี แ ละการจั ด การ อุตสาหกรรม เพือ่ เผยแพร่ศลิ ปะ และวัฒนธรรมของไทย โดยมีศิลปะการแสดงแต่ละภูมิภาคของไทย ทั้งยังมี การจำ � ลองขนบธรรมเนี ย มประเพณี ไ ทย รวมถึ ง มี การจำ�หน่ายอาหารประจำ�ภูมภิ าคแก่ผเู้ ข้าร่วมงานอีกด้วย

เมื่ อ วั น ที่ 26 พฤศจิ ก ายน 2557 สโมสรนั ก ศึ ก ษา คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม ได้จัดงาน “เดินวิ่งเทิดพระเกียรติ” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ วิ ท ยาเขตปราจี น บุ รี โดยกิ จ กรรมนี้ มี นั ก ศึ ก ษา และบุ ค ลากรภายใน มหาวิ ท ยาลั ย มาร่ ว มเดิ น วิ่ ง เทิ ด พระเกี ย รติ เพื่ อ เป็ น การเฉลิมพระเกียรติและสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวโรกาสครบรอบ 86 พรรษาของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

เมือ่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร เพื่ออุตสาหกรรม ได้จัดโครงการ “ปลูกต้นไม้ลดภาวะ โลกร้ อ น” เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว และรักษาสิ่งแวดล้อมของคณะให้ยั่งยืน โครงการนี้ ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ พี ร ะศั ก ดิ์ เสรี กุ ล รองอธิการบดี มจพ.วิทยาเขตปราจีนบุรี พร้อมด้วย บุคลากร และนักศึกษาของคณะฯ ร่วมกันปลูกต้นไม้ ณ บริ เ วณอาคารปฏิ บั ติ ก ารเครื่ อ งจั ก รกลเกษตร ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม

เทคโนฯ วิจัยครั้งที่ 5 โรงแรมวิลล่าวิชชาลัย

ปีใหม่...ยีนส์เด่น ห้องพวงแสด

บริการวิชาการ... โรงแรมวิลล่าวิชชาลัย

23 ธันวาคม 2557

24 ธันวาคม 2557

25 ธันวาคม 2557

เมื่ อ วั น ที่ 23 ธั น วาคม 2557 คณะเทคโนโลยี และการจัดการอุตสาหกรรม ได้จัดงาน “เทคโนฯ วิจัย” ครั้ ง ที่ 5 ประจำ � ปี 2557 ซึ่ ง งานนี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.อนิ ร าช มิ่ ง ขวั ญ คณบดี ฯ กล่ า วเปิ ด งาน โดยภายในงานมี ก ารนำ � เสนอผลงาน ของนั ก วิ จั ย รุ่ น ใหม่ การเสวนาโดยคณะผู้ บ ริ ห าร การบรรยายในหัวข้อ “การสืบค้นฐานข้อมูลวิจยั ออนไลน์” และการประกาศรางวัลนักวิจัยประเภทต่าง ๆ อีกด้วย

เมื่ อ วั น ที่ 24 ธั น วาคม 2557 คณะเทคโนโลยี และการจัดการอุตสาหกรรม ได้จัดงานส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ 2558 ณ ห้องประชุมพวงแสด อาคารคณะ เทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มจพ.วิทยาเขต ปราจีนบุรี โดยบุคลากรได้แต่งกายในธีม “ยีนส์เด่น” ซึ่ ง ภายในงานได้ มี ก ารรั บ ประทานอาหารร่ ว มกั น การประกวดร้องเพลงจากบุคลากรใหม่ การแสดงเด็ก และการจับรางวัลจากผู้บริหารและบุคลากรของคณะ อีกด้วย

เมื่ อ วั น ที่ 25 ธั น วาคม 2557 ภาควิ ช าการจั ด การ อุ ต สาหกรรม คณะเทคโนโลยี แ ละการจั ด การ อุตสาหกรรม ได้จดั งานบริการวิชาการ “โครงการประชุม เชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำ�แผนธุรกิจ” แก่กลุม่ วิสาหกิจชุมชน ภายในจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ณ โรงแรมวิ ล ล่ า วิ ช ชาลั ย มจพ.ปราจีนบุรี

8 FITM NEWS

FITM-NEWS-9.pdf

(อันนี้ก็MustSeeListของฉันจากสมัยเรียน ป. โท). ลอนดอนทาวเวอร์โดยเฉพาะสถานีเซนต์พอล. ที่อยู่หน้ามหาวิหารเซนต์พอล (St.Paul Cathedral). แบบว่า...โผล่ออกมาจากใต้ดิน ...

3MB Sizes 1 Downloads 195 Views

Recommend Documents

No documents