FITM NEWS ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม 2556  

>> เรือ ่ งหนาว

ๆ ของชาวเทคโน หนาวนี้ที่จีนจา

>> เลข

1 นั้น สําคัญไฉน มหัศจรรยของเลข 0 กับ 1 ในแวดวงดิจติ ัล

>> ไมใชแคกาบหนอไม

แผนไมอัดจากกาบหนอไมไผตง

>> 1

นี้ ในใจของนายก

The Man No. 1 ผศ. ดร.อนิราช มิ่งขวัญ

คณบดีคณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม

1

F ront view หา กถาม ว า เดื อนใ ดเป นเดื อนที่ ช อบที่ สุ ด โดย ส ว นตั ว แ ล ว ชอบเดื อ นมกราคมค ะ เพราะเป น เดื อ นที่ จ ะได ใ ช โ อกาสความใหม ข องป ในการส ง ความสุ ข ความปรารถนาดี และแสดงความรู สึ ก ที่ ดี ต อ กั น โดยไม เ คอะเขิ น รวมถึ ง เป น ช ว งที่ เ หมาะแก ก ารละวางในสิ่ ง ที่ เ คยคิ ด หรือทําผิดพลาด แลวใหชวงเวลานีเ้ ปนจุดเริม่ ตนของการทําสิ่งใหม ๆ วากันดวยเรื่องความใหม...ขอถือฤกษเปดตัว FITM NEWS ฉบับที่ 1 ไวเปนอีกชองทางหนึ่งสําหรับการสื่อสารระหวางเรากับคุณ FITM NEWS นี้ ถือกําเนิดมาจาก “ขาวชาวเทคโน” ที่เปนสื่อประชาสัมพันธขาวของคณะ เราจับขาวชาวเทคโนมาแตงตัวใหม เปน FITM NEWS ซึ่งหมายถึงขาวสาร ของคณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม (Faculty of Industrial Technology and Management NEWS) โดยจะเปนวารสารราย 3 เดือน มี ค อลั ม น 8 คอลั ม น อั ก ษรตั ว ต น ของชื่ อ คอลั ม น ต ามชื่ อ วารสาร FITM NEWS นี้ มี ทั้ ง ความรู ข า วสาร และปกิ ณ กะ ที่ จ ะทํ า ให เ รา ไดใกลคุณและคุณรูจักเรามากขึ้น FITM NEWS ฉบับปฐมฤกษนี้เปดตัวในธีม (Theme) “1” เพื่อใหสมกับ เป น ฉบั บ ที่ 1 เป ด ตั ว ในเดื อนที่ 1 ของป 2556 ฉบั บ นี้ จะมี บ ทสั ม ภาษณ สุภาพบุรุษหมายเลข 1 คณบดีคนใหมของคณะ เลข 1 มหัศจรรยแคไหน ในแวดวงดิจิทัล และ 1 ในคณะเทคโนฯ คืออะไร ติดตามไดในฉบับเลยคะ ท า ยสุ ด นี้ ขอให ป งู เ ล็ ก เป น ป ที่ รื่ น ไหล ทํ า การสิ่ ง ใดขอให พ บกั บ ความราบรื่นนะคะ แลวพบกันใหมในฉบับฤดูรอน เดือนเมษายน สวัสดีคะ บรรณาธิการ

สารบัญ

Front view……………………………………………2

Not only (teach) ……………………………………..6

I was there…………………………………………3

Extraordinary……………………………………………8

หนาวนี้ที่จีนจา ตอนที่ 1

Today’s story…………………………………......4 มหัศจรรยของเลข 0 กับ 1 ในแวดวงดิจิทัล

Main dish…………………………………………..5 The Man No. 1

แผนไมอัดจากกาบหนอไมไผตง

1 นี้ ในใจของนายก (สโมสรนักศึกษา)

Who What Where When………………………….7 See you soon…………………………………………8

FITM NEWS คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 129 หมู 21 ตําบลเนินหอม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25230 โทร 0-3721-6500-4 ตอ 7034

e-mail: [email protected] facebook: www.facebook.com/fitmnews

2 FITM NEWS

I was there view

เรื่อง: ผศ. ดร.ฑิฆัมพร ทวีเดช ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม

ไดยิน คนที่เคยอยูเ มือ งนอกเมือ งนามานานมัก จะพูด วา “ที่ ไ หนก็ ไ ม ดี เ ท า กั บ บ า นเรา” ฟ ง แล ว ก็ ต อ งยึ ด ถื อ คําโบราณวา “ฟงหูไวหู” เพราะที่เห็นจากรูปภาพ โทรทัศน หรือ เวลามีขา วคนสํา คัญ ในประเทศของเราไปเมือ งนอก ทํ า ไมมั น ดู น า อยู น า เที่ ย ว ดู ดี ก ว า บ า นเราเยอะเลย จริงไหมคะทานผูอาน เปนใครก็แอบฝนวา จะไดไปบาง สักครั้งละ “พี่ออย......จีนตอบรับ Paper1 ของพวกเราแลว พี่ตองไปนําเสนองาน ตุ ล าคมนี้ ” อาจารย แ ม ว 2โทร.หาฉั น ด ว ยเสี ย งดั ง ลั่ น ทุ ง ปนความดี ใ จ เพราะนี่คือความสําเร็จของพวกเราที่ชวยกันทําวิจัยที่ไดรับทุนวิจัยกลุม จากคณะฯ เมื่อตนป 2555 “...ไปจีน ไปจี้หลิน ไปจีน ไปจี้หลิน....” ฉั น รั บ โทรศั พ ท ด ว ยความงงไปชั่ ว ขณะ ไม แ น ใ จว า ตั ว เองควรจะดี ใ จ หรื อ เปล า เพราะมั น กะทั น หั น กว า ที่ คิ ด ไว ม าก ผลงานที่ นํ า ไปเสนอชื่ อ “On an Application EMA Technique to Nonprofit Organization for Sustainable Management: a Case Study from Thailand” ในการประชุม วิชาการ 2nd/2012 International Conference on Energy, Environment and Sustainable Development (EESD 2012) นอกจากฉันแลวก็มีอาจารยแอร3 ไปดวยอีกคนหนึ่ง ซึ่งนําเสนอเรื่อง “The Study of Heating Value and Rate of Return of Biogas Production in King Mongkut’s University of Technology North Bangkok (Prachinburi Campus)” เราเตรี ยมตัวเดิน ทางกันอยา งฉุก ละหุก ไหนจะตอ งวิ่ งทํา วีซ า ทําพาสปอรต ไหนจะตองตรวจขอ สอบปลายภาคและสง คะแนนใหทั น ตามกําหนดของคณะฯ แถมหนนี้เปนครั้งแรกที่มีการสงเกรดแบบออนไลน ตองมานั่งทําความเขาใจระบบอยูพักใหญ แลวไหนจะยืมเงิน ติดตอที่พัก ซื้อตั๋วเครื่องบิน โอย !!!!! จะไปเมืองนอกกับเขาทั้งทีทําไมชีวิตมันตอง ลําบากอยางนี้ ... แตเราก็ผานมันมาได จนถึงวันที่เรานั่งรอขึ้นเครื่อง ที่ ส นามบิ น สุ ว รรณภู มิ สํ า หรั บ ฉั น นี้ เ ป น ครั้ ง แรกในชี วิ ต ที่ ไ ด ม าเห็ น สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งเคยไดยินมาวาเปนสนามบินแหงอนาคต ประเทศไทย ไดจางนาย Helmut Jahn สถาปนิกชาวเยอรมัน เปนผู ออกแบบสนามบิน สุวรรณภูมิซึ่งเปนสถาปตยกรรมสไตล Bauhaus จุดเดนของสไตลนี้คือ การตัดทอนองคประกอบที่ไมจําเปน เลือกใชวัสดุประเภทเหล็กและกระจกใส เน นประสิ ทธิ ภาพการใช ส อยและการสร า งจุ ด เด น เพื่ อ เป น สั ญ ลั ก ษณ สนามบินที่ยิ่งใหญ เปนจุดที่บงบอกหรือ Landmark ไดวา นี่คือประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการออกแบบ ที่เนนการประหยัดพลังงาน เชน มีการนํา ระบบพื้ น หล อ เย็ น มาใช ทํ า ให ป ระหยั ด พลั ง งานในระบบปรั บ อากาศ ผนั ง กระจกฉาบสารที่ ช ว ยสะท อ นความร อ นจากแสงและดู ด กลื น แสง เพื่อใหแ สงสองผานเพียงพอตอการใชงาน สําหรับหลังคาผืนผาใบ ที่มีการออกแบบเปนรูปทรงจั่วสามเหลี่ยม ทําใหความรอนลอยอยู ใต หลังคา ไมสงผานมายังดานลางไดม ากนัก เมื่ออุณหภูมิดานบน และดานลางมีความแตกตางจึงทําใหเกิดกระแสลมลอดผาน เปนตน

หนาวนีท้ ี่จตอนที นี จ่ า 1

เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ ห า ทุ ม ของวั น ที่ 11 ตุ ล าคม 2555 ระ หว า งนั่ ง รอ เ รี ย ก ขึ้ น เ ค รื่ อ ง “แอร พี่ไมไดเอาเสื้อผา กั น ห น า ว ม า เ ล ย น ะ เพราะเห็ น แอร บ อกว า อุณหภูมิที่นั่นแค 18 องศา ก็สบาย ๆ เลย พี่เอาสูทผาฝายมาอยางเดียว ถ าหนาวตายแน เ ลย” ฉั นเอ ยปากกั บอาจารย แ อร ด วยความกั งวลใจ “พี่ แอรเช็คจากกูเกิลแลว ไมหนาว แอรก็เอามาแตลําลอง” อาจารยแอร ตอบอยา งมั่น ใจ เรานั่ งเครื่อ งบิ นจากสุ วรรณภู มิถึ งสนามบิน ปกกิ่ ง เวลาโดยประมาณ 6.00 น. ตามเวลาในปกกิ่ง พนักงานบนเครื่องบินประกาศ “ ....อุณหภูมิ 4 องศา.....” เราสองคนหันมองหนากันทันที อะไรจะเกิดขึ้น กับเรา เราจะเอาตัวรอดกันอยางไรดี สําหรับฉันแลว คําเดียวที่ทองอยูในใจ ---ไมหนาว ไมหนาว เราไมหนาว --- และสัญญากับตัวเองดวยวา จะไมเลาใหที่บานฟงเปนอันขาด ไมงั้นโดนสมน้ําหนา ฐานไมเชื่อฟง ที่สนามบินปกกิ่ง เรา Transfer4 เพื่อไปสนามบินฉางชุน จากนั้นนั่งรถ ตอไปยังเมืองจี้หลินเพื่อเขาพักโรงแรม Wuzhou Garden Hotel ซึ่งเปน สถานที่ จั ด Conference5 ด ว ย ครั้ ง นี้ ม หาวิ ท ยาลั ย Northeast Dianli ในเมื อ งจี้ ห ลิ น ของจี น เป น เจ า ภาพจั ด การประชุ ม โดยมี ม หาวิ ท ยาลั ย Shanghai University of Electric Power และ Hong Kong Industrial Technology Research Center เปนเจาภาพรวม ขณะนั้นเวลาประมาณ 13.00 น. ตามเวลาในทองถิ่น ซึ่งเร็วกวาเวลาในประเทศไทยหนึ่งชั่วโมง กอนเขาหองพัก เราแวะไปลงทะเบียนเขาประชุมซึ่งมีนักศึกษาจีนทําหนาที่ รับลงทะเบียน 7 คน พูดภาษาอังกฤษไดหนึ่งคน ใหคําแนะนํา ประสาน แกไขปญหาตาง ๆ ให เรารูสึกประทับใจในอัธยาศัยของเขา ซึ่งหลังจาก ไดพู ดคุ ยกั บผู เ ขา รว มประชุม คนอื่ น ๆ ทุก คนก็พู ดถึ งความประทั บใจ ในเด็กหนุมคนนี้เปนเสียงเดียวกัน การประชุมครั้งนี้มีบทความวิจัยสงเขารวม และนําเสนอผลงานประมาณ 76 เรื่อง ผูเขารวมประชุมสวนใหญเปนชาวจีน 90% ชาวยุ โรปประมาณ 1% นอกนั้ นเปน คนในแถบเอเชีย เช น มองโกเลีย ไตหวัน ไทย เปนตน หลังจากไมไดยินเสียงภาษาไทยมาสองวันแลว ฉันกับอาจารยแอร ดีใจและตื่นเตนมาก เมื่อไดยินเสียงคนพูดภาษาไทย เรามองหาและตามหา ทันที เขาเหลานั้นมาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนอาจารย 1 คน มาพรอมกับนักศึกษาปริญญาโท 3 คน เพื่อมานําเสนอผลงานวิจัยเชนกัน พวกเราดีใจที่ไดเจอกัน คุยกันอยูนาน และนัดพบกันในการประชุมวันถัดไป ... ถึงตรงนี้ ฉันก็ขอถือโอกาสนัดพบผูอานในฉบับหนาดวยนะคะ 4

1

เอกสารที่เปนบทความวิชาการหรือบทความวิจัย ดร.สุมิตรา ไชยญาติ รองคณบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ 3 ดร.ธณัฏฐยศ สมใจ อาจารยภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม 2

การเปลี่ยนเครื่องบิน การประชุมขนาดใหญ มีระยะเวลาการประชุมหลายวัน มีผูเขารวมประชุมเปนจํานวน ประมาณรอยคน มีกิจกรรมหลายอยางระหวางการประชุมเชน สวนของนิทรรศการ เปนตน 5

FITM NEWS

3

T oday’s story เรื่อง: อาจารยสุปติ กุลจันทร ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหัศจรรยของเลข 0 กับ

1

ในแวดวงดิจิทลั

สําหรับเรื่องราวเลข “0” กับ เลข “1” ในแงความเปนมา ทานผูอานก็ไปถามกับอากู (Google Search Engine) เอาเองได ไมยาก ซึ่งทานผูอานก็จะพบวา มันมีประวัติ อันยาวนาน และหลาย ๆ อารยธรรม ก็ มีเ รื่ อ งราวที่ ส อดคล อ งกั บ เลข “0”และ “1” ไมแพกัน ที่เราคุนเคยกันก็ “หยิน” กับ “หยาง” ก็มีการกลาวถึงความสัมพันธกับเลข “0” และ เลข “1” เชนกัน แตที่จะเลาใหทานผูอาน ไดตระหนักคือ เลขเพียงสองตัวกับความเปน นักสังเกตของมนุษย ที่ทําใหมีการแทนที่สถานะ “ปด” ดวยเลข “0” และสถานะ “เปด” ดวยเลข “1” นั้น ทําใหเกิด รากฐานของการพัฒนาเครื่องไม เครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพมากมาย เริ่ ม จากทฤษฎีก ารคํ า นวณวงจรดิจิ ทั ล วิ ธีก ารออกแบบวงจรดิ จิ ทั ล และพั ฒ นาต อ ๆ กั น มาจนกลายมาเป น iPad iPhone ที วี แอร หรือแมกระทั่งเกม Hay Day ที่หลายคนเลนอยางเอาเปนเอาตาย รวมทั้ง คนใกลตัวผมดวย นอกจากนั้นยังรวมไปถึง เครื่องคอมพิวเตอร สมรรถนะสูง ที่มีความสามารถคํานวณการเปลี่ยนแปลงของสภาวะโลก ลวงหนา (Supercomputer for Climate Change) อยางเชน การพยากรณ อากาศลวงหนาของสํานักขาว CNN สามารถคาดการณลวงหนาได ถึง 10 วัน ซึ่ งมีประโยชนตอการดํารงชีวิ ตของมนุษยชาติโดยตรง สิ่งที่กลาวมา ทั้งหมดนั้นอยูบนพื้นฐานของเลข “0” กับ “1” ทั้งสิ้น

The Man No.1 ผูชวยศาสตราจารย ดร.อนิราช มิ่งขวัญ จะมีสักกี่คนที่กลาคิดแบบหลุดกรอบ และจะมีสักกี่คนที่กลาบอกวา ไมมีอะไรที่เปนไปไมได ผูชวยศาสตราจารย ดร.อนิราช มิ่งขวัญ คณบดี ค นใหม ค ณะเทคโนโลยี แ ละการจั ด การอุ ต สาหกรรม ยินดีที่จะเปดมุมมองความคิดและตัวตนใหทราบกัน กับบทบาทใหม: คณบดีคณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม ถามองในฐานะคณบดีความรับผิดชอบจะเปลี่ยนไปคือตองคิดในภาพรวมของคณะวา ต อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลง หรื อ พั ฒ นาอะไรบ า ง ต อ งคงรู ป แบบ ของการบริ ห ารจั ด การที่ ดี อ ยู แ ล ว หรื อ ทํ า ให ดี ยิ่ ง ขึ้ น มี รู ป แบบการดํ า เนิ น การ ที่กระชับ รวดเร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น บทบาทใหมของผมก็คงจะเปนการ คิดใหมในภาพรวมของคณะ เนื่องจากเดิมผมเปนรองคณบดีฝายวิชาการ รองคณบดี ฝายวิจัย และรองคณบดีฝายสารสนเทศ มองงานหนาเดียว มีลูกนองแคคนหรือสองคน แตขณะนี้ผมเปนคณบดี ตองมองภาพทั้งหมด และตองพาคนทั้งหมดไปสูทิศทางที่ดีขึ้น ใหได และผมก็ตองทําใหทุกคนที่ทํางานดวยเชื่อมั่นใหไดวาเราเปนผูนําที่ดี เรื่องของ การยอมรับนี่ก็เปนอีกเรื่องหนึ่งที่สําคัญตอจุดยืนในตําแหนงนี้ “…ขณะนีผ้ มเปนคณบดี ตองมองภาพทั้งหมดและตองพาคนทัง้ หมด ไปสูท ศิ ทางทีด่ ขี นึ้ ใหได” Bird Eye View คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม 15-16 ปตามอายุของคณะนี่ผมวาชวงแรกเปนชวงลงเมล็ด เราก็ตองรดน้ํา พรวนดิน ประคับประคอง ทํารากฐานใหมั่นคง จึงเปนชวงของการจัดหาบุคลากร อาคาร ครุ ภั ณ ฑ แต ป จ จุ บั น เราเปรี ย บได กั บ ต น ไม ที่ โ ตเต็ ม ที่ มั น ต อ งออกดอกออกผล มั น ต อ งมี ผ ลงาน ซึ่ ง จะสั ง เกตว า ระยะหลั ง ๆ เรามี ผ ลงานวิ ช าการทั้ ง งานวิ จั ย และบริก ารชุมชน เราไดรับฟดแบคจากบัณ ฑิตที่จ บออกไป ตอนนี้แ ละตอ ๆ ไป คงตองเนนการรับใชและบริการสังคม ตอบสนองความตองการของภูมิภาค ในสวนของ งานการศึกษาเราก็มีนักศึกษาเต็มทุกหลักสูตร เหลือเพียงแตคิดตอวาจะขยับตอไป ในเวทีระดับประเทศ ระดับอาเซียน พัฒนาหลัก สูตรระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อขยับ ฐานความรูเฉลี่ยของประชากรประเทศ ผมวา 15 ปที่ผานมาเปนเวลาที่พอเหมาะ พอควรที่เราตองออกไปสูเวทีวิชาการที่ชัดเจนขึ้น มองอนา มองอนาคตของคณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรมไวอยางไร

ท า นผู อ า นคงจะมองเห็ น แล ว ว า จากสิ่ ง ที่ ดู ง า ย ๆ อย า งเลข “0” กับ “1” ทีศ่ ัพทเฉพาะทางเรียกวาเลขไบนารี (Binary Number) เมื่อมีการ พัฒนาตอยอด และประยุกตใชกันมา ก็จะกลายเปนสิ่งที่นาทึ่ง สามารถ สร า งสิ่ ง ต า ง ๆ มากมาย อย า งไรก็ ต ามมั น ก็ อ าจจะถึ ง จุ ด อิ่ ม ตั ว ของเลขไบนารี แ ล ว ก็ ไ ด เพราะอี ก ไม น านเราจะได ใ ช เ ทคโนโลยี คอมพิวเตอรที่เรียกวา ควอนตัม (Quantum) ซึ่งจะไมไดมีเพียง เลข “0” กับ “1” อีกตอไป

4 FITM NEWS

ผมมองวาคณะเปนคณะที่มีศักยภาพสูงและสามารถตอบโจทยความตองการแทบจะ ทุ ก เรื่ อ งของงานทางด า นอุ ต สาหกรรมทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน เพราะมี หลายศาสตร ป ระกอบขึ้ น เป น คณะภายใต ภ าควิ ช าต า ง ๆ ภาควิ ช าการจั ด การ อุ ต สาหกรรมที่ ส ามารถดู แ ลเรื่ อ งสายธุ ร กิ จ และสายการผลิ ต ของอุ ต สาหกรรม ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทงั้ แขนงวิทยาการสารสนเทศ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย เทคโนโลยีเครือขาย เทคโนโลยีระบบธุรกิจ ซึ่งทั้งสองภาควิชานี้แทบจะเรียกไดวา เป น แกน ของระบบธุ ร กิ จ ได เ ลย ภาควิ ช าเทคโนโลยี ก ารออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ และจัดการอุตสาหกรรมกอสรางก็จะสามารถตอบโจทยที่เกี่ยวของกับการกอสราง ทั้งการออกแบบและการบริหารจัดการ ภาควิชาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิต เครื่ อ งจั ก รกลอุ ต สาหกรรมเกษตรจะเกี่ ย วข อ งกั บการประยุ ก ต ค วามรู ดานวิศวกรรมเครื่องกลเพื่อ ใชในการออกแบบและผลิตเครื่องมือเพื่อรองรับ

M ain dish 

ก็ ต ามที่ เ รามองและเชื่ อ ว า มี ท างออกก็ จ ะเห็ น ทางออก บางทีเราอาจจะมองไมเห็นทางออกเพราะ สวางเกินไป แตถาหองมัน มืดหมดเราก็จะเห็นวา แสงสวางวามันมาจากไหน

”ถาเรามีความสุข ความรูสึกสุขนี้ มันก็จะเหมือนคลื่น ที่กระเพื่อม ใหคนรอบ ๆ ตัว มีความสุขได” 

อุต สาหกรรมเกษตรและอาหาร สุ ดท า ยภาควิ ช า การจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม มี บ ทบาทในส ว นของการสนั บ สนุ น กิ จ กรรม ทอ งเที่ย วและบริก าร ฉะนั้น ถ ามองภาพรวมแล ว ไมวาจะมีปญหาหรือโจทยความตองการเรื่องอะไร เข า มา คณะเราไม มี ขี ด จํ า กั ด ในการแก ป ญ หา เหลานั้น ดวยศักยภาพเชนนี้คณะนาจะมีอนาคตที่ดี ที่จะกาวไปอยูในจุดที่เปนตําแหนงในระดับตน ๆ ของภูมิภาคหรือระดับประเทศไดครับ ในมุมมอง ของผม ผมมองคณะเปน “One Stop Service” ไดเลย สําหรับทุกความตองการ ทั้งการใหการศึกษา การเรีย น การวิจัย และการใหบริก ารทางวิชาการ เราจะต อ งตอบให กั บ ชุ ม ชนและอุ ต สาหกรรม ในภูมิภาคนี้ไดหมด ในอนาคตของคณะตองเปน กําลังสําคัญใหกับวิทยาเขตในดานของการใหบริการ ด า นการศึ ก ษาสํ า หรั บ ชุ ม ชนและอุ ต สาหกรรม ในภูมิภาคนี้ กับคติในการดําเนินชีวิต ‘Nothing impossible’ ถ า จ ะ ใ ห ถู ก ต อ ง มั น ก็ ต อ ง เ ป น Nothing is impossible แตตัวผมไมชอบอะไรที่มันยาว ๆ และผมก็ ไ ม มี ก ฎเกณฑ ไม ใ ช ห มายถึ ง ไม เ คารพ กฎเกณฑ แต เ ราไม มี ก รอบในเรื่ อ งของความคิ ด พูดถึงคติ Nothing impossible นี่เมื่อเราคิดวา ไม มี อ ะไรที่ เ ป น ไปไม ไ ด เราจะไม ม ามั ว มอง ถึ ง อุ ป สรรค แต เ ราจะไปคิ ด ว า มี โ อกาสที่ จ ะ possible ไดอ ย างไร ดั ง นั้น ความเปน อุ ปสรรค มันจะถูกกําจัดไปหมด ดังนั้น ลําดับตอไปก็จะคิดถึง วิ ธี ก าร หนึ่ ง สอง สาม ยกตั ว อย า งเรื่ อ งการไป ดวงจันทร กอนหนานี้ก็จ ะบอกวาเปนเรื่องเพอฝน เปนไปไมได แตเมื่อมีคนคิดวามันตองไปดวงจันทรได กระบวนความคิดก็จะถูกคิดตอวาจะสงจรวดใหพน วงโคจรของโลกไดอยางไร จะหายใจในอวกาศได อย า งไร ไม มี อ ะไรที่ ทํ า ไม ไ ด แต อ าจช า หน อ ย อยูที่เวลา เทคโนโลยี ทรัพยากร และคน ถามี

4 อยางนี้ ผมวาทําไดหมด ดังนั้นเมื่อผมจะทํางาน ผมจะคิดเพียงวาตองการเวลาเทาไร ใชทรัพยากร อะไรบาง ยังขาดเทคโนโลยีอะไรอีก บาง และใคร เปนคนที่มีศักยภาพจะทําตรงนี้ได ซึ่งผมวาหลักคิด แบบ Nothing impossible จะเปนการกําจัด ค ว า ม คิ ด เ ชิ ง ล บ ที่ จ ะ ส กั ด กั้ น ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ในการทํางาน ผมวาสําคัญที่กาวแรกนี่ละ ...ถากาวกาวแรกไดเมื่อไร กาวตอ ๆ ไปมันก็จะ งายขึ้น ระยะทางระหวางตัวเรากับเปาหมายก็จะ คอย ๆ เขาใกลกันมากขึ้น ‘Anirach VS Steve Jobs’ ผมยอมรับกลายๆ วาผมเปนสาวกของเทคโนโลยี ไม ไ ด ห มายความแค แ อ ป เป ล หรื อ สตี ฟ จอบส “ผมก็ คื อ ผม สตี ฟ จอบส ก็ คื อ สตี ฟ จอบส ” หลายคนที่อานเรื่องราวของสตีฟ จอบส จะบอกวา สตีฟ จอบสไมใชผูที่คิดคนเทคโนโลยี แตเรื่องเดน ของเขาอยู ที่ มุ ม มองว า อะไรคื อ ใช อะไรคื อ ที่มีประโยชนสําหรับผูใชผลิตภัณฑ ดังนั้นผลิตภัณฑ ที่ออกมาจึงสามารถเขาถึงผูบริโภคได ดังนั้นสวนที่ ผมกับสตีฟ จอบสคลาย ๆ กัน คือ ทําผลงานใหได ตามความต อ งการของเจ า ของงาน เหมื อ นเอา ตัว เองเข า ไปนั่ ง แทนเจ าของงานหรื อ ผู รับ บริ ก าร ซึ่ ง อาจไม ใ ช ผ ลงานที่ สุ ด ยอดที่ สุ ด แต ดี เ พี ย งพอ และเหมาะสมกั บ ผู รั บ บริ ก าร อย า งที่ บ อกว า ผมก็ คื อ ผม จอบส ก็ คื อ จอบส แต ห ลั ก ๆ ที่ คิ ด คลายกัน คือเราตองมีกรอบและทิศทางของตัวเอง ที่ชัดเจน ไมวิ่ง ตามใคร ยึดผลงานเปนที่ตั้ง เขาใจ ความต อ งการและตอบโจทย ค วามต อ งการ ของสังคมหรือผูใชได แนวคิดที่ดีและการดําเนินงาน ที่ ดี ข องสตี ฟ จอบส มั น ได ถู ก ถ า ยทอดมาตามสื่ อ ตาง ๆ ซึ่งผมก็อานและศึกษาอยูพอสมควร แตผม ก็ มี ท างของผม ที่ เ น น ส ว นดี ข องคนซึ่ ง ผมเชื่ อ ว า ทุก คนมีดีและอยามองปญหาเปนหลัก เพราะเมื่อ เรามองป ญ หาเราก็ จ ะเห็ น แต ป ญ หา แต เ มื่ อ ไร

ไลฟสไตลของ The Man No.1 ผมมี วิธี คิด ในการดํ าเนิน ชีวิต งา ย ๆ คือ ผมมองว า ทุก ๆ วั นที่ เราตื่ นจะเป นวั นที่ ดี เราอยูป ราจีน บุ รี เราได เ ปรี ย บนะ มองออกไปวิ ว ก็ ดี ไม ต อ งแออั ด ไมตองรถติด อากาศดี จะรอนสักหนอยผมก็ยังมอง วาสบาย เงื่อนไขการทํางานที่นี้ก็ ดีอยู แ ล ว พอไป บวกกั บ มัน ไม มี อะไรเปน ไปไมไ ด ก็ เ หลื อเพี ย งแค มองหาทางออก มองหาคนที่ดี มองหาแนวคิดที่ดี มองหาสิ่ ง ดี ๆ ในวั น นั้ น ทํ า ดี วั น ละอย า งน อ ย หนึง่ เรื่องที่จะตอบตัวเองไดเมื่อหมดวันวาเปนวันที่ดี ก็จะทําใหหัวเราะกับตัวเองได ถาเรามีค วามสุข ความรูสึก สุขนี้มันก็จะเหมือ น คลื่น ที่ก ระเพื่อ มใหค นรอบ ๆ ตัว มีค วามสุขได สว นวั น เสาร อ าทิ ตย ผมก็เ ป นสามี ที่ ดี เป น พอ ที่ ดี และเปนเพื่อนที่ดี ...พูดถึง ไลฟสไตลอื่น ๆ ผมเปน พวกคลั่งไคลเทคโนโลยี อะไรที่เปนเทคโนโลยีใหม ๆ ผมศึกษาหมด พวกนี้มันเปนประโยชนเพราะผมเปน อาจารย ด า นไอที . ..ผมคุ ย ด ว ยได ง า ย อยากจะ หั ว เราะก็ หั ว เราะ อยากจะร อ งไห ผ มก็ ร อ งไห ไ ด แตสิ้นวันผมตองหัวเราะใหได และความดีสิ่งดีที่ทํา ในแต ล ะวั นมั น จะเป น ภูมิ คุ ม กั น และให คุ ณ อยู กั บ ตัวเองได ผมไมอยากเทียบกับคนที่ยิ่งใหญอะไรนะ มันนากลัว แตผมก็มีทิศทางของผมและผมก็มั่นใจ ในทิศทางของผม และผมก็หวังวาคนที่ทํางานกับผม จะมั่นใจในตัวผม อวยพรปใหม ขออาราธนาสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย สิ่ ง ที่ ทุ ก ท า นเคารพ ให คุ ม ครองผู อ า นทุ ก ท า น ใหมีความสุข ความเจริญ สุขภาพแข็ง แรง มีโ ชคดี ตลอดปใหมนี้ครับ

FITM NEWS 5

N ot only (teach) onlZtezview

แผนไมอัด

จากกาบหนอไมไผตง เรื่อง: อาจารยสุรัตน ศรีจันทร

ภาควิชาเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ และจัดการอุตสาหกรรมกอสราง

กระบวนการผลิตแผนชิ้นไมอัดนั้นเริ่มดวยการนําเศษกาบหนอไมมาผึ่งแดดใหแหงกรอบ (ภาพที่ 2) บดดวยเครื่องบดไมใหเปนชิ้นเล็ก ๆ (ภาพที่3) จนไดขนาดที่คางตะแกรง เบอร2 และเบอร3* จากนั้นนําเศษกาบหนอไม แตละเบอรมาผสมกาวชนิด “กาวไดไอโซ ไซยาเนต” แลวนําเศษกาบหนอไมที่ผสมกาวแลวไปโรยบนตะแกรงทําแผนขนาด 40 × 40 เซนติเมตร ที่มีการรองไวดวยแผนกันความรอนอีกชั้นหนึ่ง เพื่อปองกันไมใหแ ผนไม ที่จะอัดไหม หรือติดกับแผนเหล็กของเครื่องอัดแผน (ภาพที่ 4) นําเขาเครื่องอัดแผน ดวยความรอนโดยใชอุณหภูมิประมาณ 120 องศาเซลเซียส และแรงดันอัดแผน 150 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร เปนเวลา 5 นาที จากนั้นถอดชิ้นไมที่อัดออกผึ่งอากาศ ประมาณ 7 วัน เพื่ อให แผ นไม อัดคงตัว (ภาพที่ 5) จากนั้นนํ าไปทดสอบคุณ สมบั ติ ดานกายภาพและคุณสมบัติดานความแข็งแรง





............................. ‘ไผตง’ เปนไมเศรษฐกิจที่สําคัญชนิดหนึ่งที่มีการ เพาะปลู ก แพร ห ลายทั่ ว ประเทศ เนื่ อ งจากเป น พื ช ที่ ส ามารถ ใชประโยชนไดหลายอยางทั้งเพื่อการบริโภค และอุปโภค โดยหนอ ของไมไผตงเปนที่นิยมนํามาทําอาหารรับประทานกันมาก อีกทั้ง ยังสามารถแปรรูป เก็บเอาไวไดนาน เชน หนอไมดอง หนอไม กระปอง เปนตน สวนลําตนของไมไผตงก็เปนที่นิยมนํามาทํา เปนเครื่อ งเรือ น เครื่อ งใชส อย ตลอดจนสิ่ งปลู กสรา งชั่ว คราว ไผตงสามารถปลูกไดทุกพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรีก็นิยมปลูกไผตง กันมาก ในการผลิ ต หน อ ไม ก ระป อ งของโรงงานอุ ต สาหกรรมนั้ น จะเริ่มดวยการลอกเปลือกหรือกาบหนอไมออกทิ้งใหเหลือแตเนื้อ หนอไม (ภาพที่ 1) ซึ่งในแตละวันจะมีเศษกาบหนอไมจํานวนมาก โรงงานจะตองใชรถบรรทุกขนเศษกาบหนอไมเหลานี้ไปทิ้งเฉลี่ย วันละ 2-3 เที่ยว คณะผูวิจัยจึงไดมีแนวคิดที่จะนําเอาเศษกาบ หนอไมไผตงที่เหลือทิ้งเหลานี้มาใชผลิตเปนแผนชิ้นไมอัดเพื่อ ใช เป น วั ส ดุ ท ดแทนไม ซึ่ ง จะช ว ยลดปริ ม าณการตั ด ไม ทํ า ลายป า ไดโดยตรง และเปนการอนุรักษสิ่งแวดลอมไดอีกทางหนึ่ง 





พบวาแผนไมอัดที่ทําจากเศษกาบหนอไมทั้งสองขนาดมีคาความชื้น อยูในเกณฑ มาตรฐาน แต จะมี ค าการพองตั วและค าดู ดซึ ม น้ํ าสู งมากและไม ผ านเกณฑ ม าตรฐาน จึงมีขอแนะนําในการนําแผนไมอัดจากเศษกาบหนอไมไปใชงานวาเหมาะกับการใชงาน ภายในอาคาร และควรหลีกเลี่ยงการสัม ผัสกับความชื้น ในดานความแข็งแรงพบวา เฉพาะแผน ไมอัดที่มีความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตรเทานั้นที่รับน้ําหนัก กดดัดไดผานเกณฑมาตรฐาน สวนที่ความหนาแนน 400 และ 600 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ไมผานเกณฑมาตรฐานนี้ เนื่องจากงานวิจัยนี้เปนการทดสอบแผนไมอัดที่มีความหนาแนนของแผนไมเกิน 800 กิ โ ลกรั ม ต อ ลู ก บาศก เ มตร ซึ่ ง จั ด เปน แผ น ไม อั ด ชนิ ด ความหนาแน น ปานกลาง จึงเหมาะจะนําไปใชในงานตกแตงภายในอาคาร หรืองานที่รับน้ําหนักไมสูงนักหรือไมตอง รับน้ําหนัก เชน งานฝาเพดาน งานผนังเบาสําหรับกั้นหองในอาคาร งานเครื่องเรือน เป น ต น หากต อ งการจะนํ า ไปใช ใ นงานที่ ต อ งรั บ น้ํ า หนั ก มากขึ้ น หรื อ งานที่ ต อ งทน ตอสภาวะแวดลอมสูง ก็จําเปนตองเพิ่มความหนาแนนของแผนไมอัดใหสูงขึ้น และอาจ ตองทําการเคลือบผิวหนาแผนดวยวัสดุปองกันความชื้นจําพวกเมลามีน หรือน้ํายาเรซิน อื่น ๆ เปนตน --------------------------------------*ตะแกรงเบอร2 และเบอร 3 หมายถึง ตะแกรงที่มีขนาดรูตะแกรงดานกวางและดานยาว เทากับ 0.6 และ 0.5 มิลลิเมตร ตามลําดับ

ขอมูลเพิ่มเติมติดตอที่: [email protected] 6 FITM NEWS

W  ho What Where When    

เมื่ อ วั น ที่ 28 พฤศจิ ก ายน 2555 สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ ทอดพระเนตรนิ ท รรศการ “วั น วิ ช าการโรงเรี ย นนายร อ ย พระจุลจอมเกลา ประจําป 2555” โอกาสนี้ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมกับสํานักวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มจพ. ไดนําผลงานปริญญานิพนธ เรื่อง ระบบนํารองอัตโนมัติอากาศยานไรคนขับภายในอาคารดวย Network Protocol ของนายจตุพล พงษนาค และนายกิติพงศ พงศทองเมือง ที่มีอาจารยเนติ นามวงศ เปนอาจารยที่ปรึกษา เขารวมแสดง ในการนี้ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศไดมอบหมายใหอาจารยสุปติ กุลจันทร ผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิจัย และบริการวิชาการ พรอมดวยนายวัชรพงศ อักษรชู นายเอกพล ทรรศนียศิลป และนายเอกราช บุญจง นักศึกษาชั้นปที่ 3 เปนผูแทนในการนําเสนอผลงาน

01

02

เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2555 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ปราจี น บุ รี ได จั ด “พิ ธี ถ วายสั ต ย ป ฏิ ญ าณเพื่ อ เป น บุ ค ลากรที่ ดี แ ละเป น พลั ง ของแผนดิน” เพื่อเปนการถวายความจงรักภักดีและรวมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ถวายเปนราชสักการะเปนราชสดุดีแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวันเฉลิม พระชนมพรรษา คณะผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา นําโดย ผศ.พีระศักดิ์ เสรีกุล รองอธิการบดีประจําวิทยาเขต มจพ.ปราจีนบุรี รวมถวยพระพรอยางพรอมเพรียง

03

คณะเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรมจัดงาน “วันเทคโนฯ วิจัย” ณ หองสัมมนาวิลลาวิชชาลัย เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2555 เพื่อปนการสงเสริมการทําวิจัยและประกาศเกียรติคุณหนวยงาน และบุคลากรที่มีผลงานดีเดนดานการวิจัยของคณะ ในครั้งนี้หนวยงานวิจัยดีเดิ่นที่มีจํานวนเงินวิจัย ตอคนสูงสุด ไดแก ภาควิชาเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ และจัดการอุตสาหกรรมกอสราง และหน ว ยงานที่ มี สั ด ส ว นนั ก วิ จั ย ต อ บุ ค ลากรสู ง สุ ด ได แ ก ภาควิ ช าเทคโนโลยี ก ารออกแบบ และผลิตเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมเกษตร รางวัลนักวิจัยดีเดน ไดแก ดร.สุนาริน จันทะ รางวัล นักวิจัยรุนใหมดีเ ดน ไดแก อาจารยสุพ าภรณ ซิ้มเจริญ และรางวัลการแสดงผลงานวิจัยดีเดน ไดแก ผศ.ยุทธนา เกาะกิ่ง 04

คณะเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม รวมจัดงานกีฬาบุคลากร มจพ.ปราจีนบุรี เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555 เพื่อสราง ความสัมพันธอันดี และเชื่อมความสามัคคี ระหวางบุคลากร แต ล ะหน ว ยงานในวิ ท ยาเขตปราจี น บุ รี งานนี้ ไ ด รั บ ความรวมมือจากบุคลากรเปนอยางดี และบรรยากาศในงาน เปนไปดวยความสนุกนาน

FITM NEWS 7   

E xtraordinary

1

นี้ ในใจ

นายก [สโมสรนักศึกษา] นายนฤภัทร อังกูรไพศาล / ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นปที่ 3 อาคารโรงอาหารแหงหนึ่งเคยเปนหองเรียนของนักศึกษาหาสิบกวาชีวิต กับคณาจารยและเจาหนาที่สักสิบคน อาคารนั้นอยูลึกเขาไปในปาที่มีทางเขาเปนลูกรังหางจากถนนหลักเกือบ 3 กิโลเมตร พื้นที่ของอาคารสวนหนึ่งถูกแบงเปน 4 หองยอยเพื่อใชเปนหองเรียน อีกสวนหนึ่งเปนรานอาหาร ซึ่งมีเพียง 2 รานที่เปดใหบริการและเตรียมอาหารเทากับ จํานวนผูที่จะมาใชอาคาร ภาพที่ผ มเห็นคือ พี่ นอง ที่รวมทุกขรวมสุข รวมเปนหนึ่ง นั่นคือหมายเลข 1 ของที่นี่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ถาไมมีพวกเขาในวันนั้น คงจะไมมีชื่อวิทยาเขตนี้บนแผนที่ประเทศไทย เพราะในยุคหนึ่งนั้นเกิดเหตุการณ ฟองสบูแตก ทําใหหลายโครงการตองชะลอลง แตเพราะ ครูอาจารย และรุนพี่ ชวยกัน ทําใหวิทยาเขตของเราเดินหนาตอ จนผานพนวิกฤตินั้นมาได และพัฒนาจนถึงปจจุบันนี้ ขอบคุณที่ทําใหพวกผมมีโอกาสขึ้นมายืน ณ ที่ที่รวบรวมความหวัง ความฝน ของพวกทาน เจตนารมณ ของพวกทานจะถูกสานตอไปตลอดกาล

2541 … 2556

“...เลข 1 ในหัวของผมตอนนีม้ อี ยูอ ยางเดียวคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี และจะเปนหมายเลข 1 ตลอดไป...”

ปริศนาคนหาคํา 

S ee you soon E

รวมสนุกกับการคนหาคําในเทศกาลปใหม เพียงแคลากเสนลอมรอบอักษรตามแนวตั้ง แนวนอน หรือแนวทแยง ที่ประกอบเปนคําใหครบทั้ง 10 คํา ตอไปนี้ JANUARY Z A B O E L Q L P P N Q G M S

N M U S I C R T U A K I J Z D

HAPPY Z D X Q B L I W C R F I L L Q

J C B R H C O U N T D O W N Z

COUNTDOWN A O S N Z A Y B X Y L W V U T

N Y B T E Y H G K L H J A A K

U S R P B W N A R H K Y F Y L

A N B M G D Y S Q A R Y A I E

NEW YEAR R D W R W R K E O Q Y W M W S

Y L M A X Z Y U A I W E I R K

P M X R X Y L E F R A A L M N

PARTY A Q S H F D R P S O A I Y W O

Z A F I R E W O R K S Z D Q E

GIFT X B A Z X Q O U O D F S A L R

MUSIC W C A R D R U I H A P P Y X M

FIREWORKS

CARD

FAMILY DAY

ส ง คํ า ต อ บ พ ร อ ม ร ะ บุ ชื่ อ -ที่ อ ยู ม า ที่ ง า น ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยี และการจั ด การอุ ต สาหกรรม 129 หมู 21 ต.เนิ น หอม อ.เมื อ ง จ.ปราจี น บุ รี 25230 ห รื อ ที่ [email protected] กอนวันที่ 10 มีนาคม 2556 ผูโชคดีตอบถูก 20 ทานแรก รับไปเลยของที่ระลึกจากเรา ติดตามเฉลยยอนหลังและรายชื่อผูโชคดีไดที่ www.facebook.com/fitmnews

ติดตาม FITM NEWS ฉบับตอไปเดือนเมษายน 2556 และเขามาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกันไดที่ www.facebook.com/fitmnews หรือ [email protected]

FITM-NEWS_01-01-2556.pdf

ต อไปยังเมืองจี้หลินเพื่อเข าพักโรงแรม Wuzhou Garden Hotel ซึ่งเป น. สถานที่จัด Conference5 ด วย ครั้งนี้มหาวิทยาลัย Northeast Dianli. ในเมืองจี้หลินของจีนเป นเจ าภาพจัดการประชุมโดยมีมหาวิทยาลัย. Shanghai University of Electric Power และ Hong Kong Industrial. Technology Research Center เป นเจ าภาพร วม ขณะนั้นเวลา ...

1MB Sizes 0 Downloads 154 Views

Recommend Documents

No documents