ในเครือขายอินเตอรเนตนั้น มีกลไกที่สําคัญสวนหนึ่งนั่นก็คือ โปรโตคอล (Protocol) ซึ่งในเครือขายอินเตอรเนตนั้นจะเรียกวา Internet Protocol (IP) เปนขอตกลงเพื่อใหการรับ สงขอมูล ในเครือขายมีแบบแผนเดียวกัน ในกลไกของ Internet Protocol นั้นมีสวนที่สําคัญคือ ไอพีแอดเดรส (IP Address) ใชในการอางอิงคอมพิวเตอร หรืออุปกรณตางๆ ในระบบอินเตอรเนตทั่วโลก หากจะเปรียบเทียบไอพีแอดเดรสของระบบอินเตอรเนต สามารถเปรียบเทียบไดกับหมายเลขโทรศัพทเพื่อใหสามารถอางอิงผูรั บและผูสง ปจจุบัน Internet Protocol ที่ใชกันทั่วไปนั้นเปนเวอรชั่น 4 (IPv4) ซึ่ง ใชมาตั้งแต ค.ศ. 1981 แต จากการเติบโตอยางรวดเร็วของระบบอินเตอรเนตทําใหมีการคาดการกันวาไอพีแอดเดรสที่จะใชในอนาคตนั้นอาจมีไม เพียงพอตอความตองการ จึงจําเปนตองมีการพัฒนาโปรโตคอลเวอรชั่นใหมขึ้น และนั่นคือจุดเริ่มตนในการพัฒนาโปรโตคอลเวอรชั่น 6 (IPv6)

IPv6 เปนโปรโตคอลที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย IETF (The Internet Engineering Task Force) เพื่อใหสามารถมีไอพีแอดเดรส ไดเพียงพอตอความ ตองการในอนาคต รวมทั้งปรับปรุงคุณภาพ และความปลอดภัย (security) ในการใชงานใหมีมากยิ่งขึ้น IPv6 เริ่มมีการใชงานที่ประเทศญี่ปุนและ เกาหลี ทั้งนี้ เพราะทั้งสองประเทศเปนประเทศแรกๆ ที่ เริ่มมีปญหาการขาดแคลนไอพีแอดเดรส ตอมาประเทศจีนและทางฝงยุโรปก็เริ่มมีการใชงาน IPv6 สวนสหรัฐอเมริกานั้นยังไมประสบปญหาการขาดแคลนไอพีแอดเดรสจึงยังคงใช IPv4 อยู ขณะที่ประเทศไทยนั้นยังอยูในชวงการทดสอบการใช งานซึ่งมี บริษัทที่ รวมทดสอบไดแก CAT, AsiaInfonet, CS-Loxinfo, JI-Net, Samart และ Internet Thailand เดิม IPv4 นั้นมีขนาดไอพี แอดเดรส 32 บิต ซึ่งเทากับวาจะมีจํานวนหมายเลขไอพีแอดเดรสเทากับ 232 หมายเลข (ประมาณ 4.3×109 หมายเลข) โดยหมายเลขไอพีแอดเดรสนั้นจะถูกระบุดวยเลขฐานสิบ เชน 192.168.2.100 สวน IPv6 สามารถเพิ่มจํานวนบิตของไอพี แอดเดรสไดมาก ขึ้นเปน 128 บิต นั่นหมายความวาจะมีจํานวนไอพีแอดเดรสไดมากถึง 2128 หมายเลข (ประมาณ 3.4×1032 หมายเลข) โดยจะถูกระบุดวยเลขฐานสิบหก แทน ซึ่ง จากการเพิ่มจํานวนบิตใน IPv6 ทําให จํานวนไอพีแอดเดรสที่เพียงพออยางแนนอน

รูปที่ 1 แสดงหมายเลขไอพีแบบ IPv4

หลายทานอาจจะสงสัยวา ทําไมจาก IPv4 แลวจึงขามไป IPv6 โดยไมมี IPv5 ที่เปนแบบนี้เนือ่ งมาจาก IPv5 นั้นมีการสํารองไวสําหรับ Stream Protocol เพื่อการรับสง ขอมูลที่เปนแบบ real-time เทานั้น และยังไมมกี ารใชงานจริงในทางปฎิบัติ นัน้ เอง

คุณสมบัติ 1. การกําหนดคาแอดเดรส (Addressing) 2. การปรับแตงระบบ (Configuration)

3. การรับสงขอมูล (Data Delivery)

4. เสนทาง (Routing)

5. ความปลอดภัย (Security)

ขอดีของ IPv6 ความสําคัญ IPv6 นั้นมีจํานวนไอพีแอดเดรสที่มากกวา IPv4 ถึง การมีจํานวนไอพีแอดเดรสเพิ่มขึ้นทําใหสามารถเพิ่มอุปกรณ 8×1028 เทา สื่อสารเพือ่ ขยายขนาดของเครือขายได และตอบสนองการใช งานไดดียิ่งขึ้น สนับสนุนการปรับแตงระบบใหเปน แบบ การใชงาน automatically configuration นั้นมีความงาย IPv6 อัตโนมัติ หรือ automatically configuration ซึ่งไม เพราะไมตองปรับแบบ manual ซึ่งมีความยุงยากในการดูแล จําเปนตองกําหนดไอพีแอดเดรสตายตัว (Static จัดการเครือขาย Address) หรือ การกําหนดแบบครั้งคราว (DHCP) แบบ IPv4 IPv6 มีการปรับ Header ใหมีขนาดเทากันทําใหงาย ในการสงขอมูลมัลติมีเดียนั้น ความเร็วและความถูกตองของ ตอการประมาลผล นอกจากนี้ IPv6 ยัง สามารถ ขอมูลที่สงเปนสิ่งทีส่ ําคัญ และหากมีการจัด priority ของ จัดลําดับ ความสําคัญ (priority) ของ traffic เพื่อ ขอมูลยิ่งทําใหประสิทธิภาพในการทํางานและการใหบริการดี กําหนดคุณภาพของการใหบริการ (QoS) ยิ่งขึ้น IPv6 มีโครงสรางการหาเสนทางแบบลําดับชั้น ทําให IPv4 มีการจัดลําดับเสนทางเพียงบางสวนเทานั้น ทําให การสง packet จาก segment หนึ่งไปยังอีก ตารางเสนทาง (routing table) มีขนาดยาวและใหญมาก ซึ่ง แตกตางจาก IPv6 ที่มีขนาดตารางเสนทางเล็กเนื่องจาก segment หนึ่งเปนไปโดยงาย overhead ที่ใชประมวลผลที่ router มีขนาดนอยกวา ใน IPv4 มาตรฐานความปลอดภัยของไอพี (IP การมีมาตรฐานความปลอดภัยที่แนนอนและเหมือนกัน ทําให Security Standard : IPSec) ถูกกําหนดใหเปนเพียง การใชงานระบบอินเตอรเนตเปนไปโดยงาย และมีความ แคตัวเลือก ไมจําเปนตองใชในเครือขายก็ได แตใน ปลอดภัยของขอมูลที่เพิ่มมากขึ้น IPv6 IPSec ถูกกําหนดตามมาตรฐาน ใหเปน สิ่งที่ ตองใชเพื่อเพิ่มความปลอดภัยของเครือขาย

ในปจจุบันมีการตื่นตัวเกี่ยวกับการสื่อสารบนพื้นฐานของ NGN (Next Generation Network) โดยในอนาคตไดมีการวางแผน เพื่อใหการติดตอสื่อสารอยูบนโครงขายไอพีทั้งหมด ไมวาจะเปนโทรศัพทมือถือ โทรทัศน เครื่องใชไฟฟาในบานตางๆ ซึ่งหมายความวา จะตองใชไอพีแอดเดรสเปนจํานวนมากในการรองรับการใชงานและบริการ ทําใหการใชแค IPv4 นั้นไมเพียงพอ การเปลี่ยนมาใช IPv6 จะ เปนคําตอบที่สามารถแกไขปญหาไดอยางดี

ทีที่ม่มาาของข ของขออมูมูลล • IPv6 Advanced Protocols Implementation โดย Qing Li, Tatuya Jinmei, Keiichi Shima Edition : illustrated จัดพิมโดย Academic Press, 2007. • IPv6 Operations and Deployment Scenarios over IEEE 802.16 Network โดย Myung-Ki Shin, Youn-Hee Han, Hyoung-Jun Kim ETRI, Daejeon. เรียบเรียง: นาย กฤษฎา อุดมโภชน ตรวจทาน: ดร. เจริญชัย บวรธรรมรัตน ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ ศูนยทดลอง/ทดสอบ NGN ภูเก็ต สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ โครงการดําเนินการทดลองศึกษา และประเมินผลการปรับเปลี่ยนจากโครงขายดั้งเดิมเปนโครงขายไอพีในจังหวัดภูเก็ต

ipv6.PDF

IPv6 Operations and Deployment Scenarios over IEEE 802.16 Network โดย Myung-Ki ... งเดิมเป นโครงข ายไอพีในจังหวดภั ูเก็ต. Page 2 of 2. ipv6.PDF. ipv6.PDF.

259KB Sizes 0 Downloads 253 Views

Recommend Documents

No documents