การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อ แก้ไขปัญหาความยากจน กรณีศึกษาชุมชนสร้อยมาลา เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร People’s Participation in Strengthening the Community for Problem Solving of Poverty: A Case Study of Soimala Community, Nongkham District, Bangkok

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญศรี ฉิรินงั 13/03/57

มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา  ปั จ จุ บั น ประชาชนส่ ว นใหญ่ ข อง ประเทศต้ อ งประสบกั บ ภาวะความ ยากจน อยู่ ใ นภาวะที่ ข าดแคลนไม่ มี ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และการมี หนี้สิน

13/03/57

2

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ)  ชุมชนสร้อยมาลา ประสบปัญหา

การเป็นหนี้สิน ทั้งในระบบและนอก ร ะ บ บ ปั ญ ห า ร า ย ไ ด้ น้ อ ย ก ว่ า รายจ่าย ปัญ หาขาดเงินทุนในการ ประกอบอาชีพ และปัญหาการขาด การศึ ก ษา และขาดทั ก ษะในการ ประกอบอาชีพ 13/03/57

3

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ)  ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการมีส่วน ร่ ว มของประชาชนในการเสริ ม สร้ า ง ความเข้ ม แข็ ง ของชุ ม ชน เพื่ อ แก้ ไ ข ปัญหาความยากจน  เพื่ อ น าไปสู่ แ นวทางการปฏิ บั ติ ใ น การแก้ไขปัญหาการความยากจน และ ความเข้มแข็งของชุมชนต่อไป

13/03/57

4

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาความยากจน และ ความเข้มแข็งของชุมชนสร้อยมาลา

2. เพื่อศึกษาสภาพความต้องการแก้ไขปัญหา ความยากจน และการสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชนสร้อยมาลา

วิธีการดาเนินการวิจัย 1. การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การ วิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ วิ ธี ก ารเก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ใ ช้ ก า ร สัมภาษณ์เป็นกลุ่ม (focused group interview) ร ว ม ทั้ ง การสั ม ภาษณ์ แ บบเจาะลึ ก เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล (in-dept interview) จานวน 30 คน 13/03/57

6

เด็กและเยาวชน อายุ 13-22 ปี จานวน 6 คน ผู้อยู่ในวัยแรงงาน อายุ 23-35 ปี จานวน 6 คน ผู้อยู่ในวัยแรงงาน อายุ 36-55 ปี จานวน 6 คน

ผู้สูงอายุ อายุ 56-65 ปี จานวน 6 คน กรรมการชุมชน/ผู้นากลุม่ ทั้งที่เป็นทางการและไม่ เป็นทางการ จานวน 6 คน 13/03/57

7

การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล (Data Triangulation) ผู้วิจัยใช้ การตรวจสอบบุคคล โดยนาข้อมูล ที่ได้จากภาคสนาม มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่างบุคคลที่ให้ ข้อมูล ว่าถ้าเปลีย่ นแปลงบุคคลที่ให้ ข้อมูลแล้ว ข้อมูลทีไ่ ด้จะเหมือนกัน หรือไม่ การตรวจสอบความเชือ่ ถือได้ (Credibility) ผู้วิจัยได้บันทึกเสียงการสัมภาษณ์ ตลอดการรวบรวมข้อมูล และมีการ ใช้คาพูดของผู้ให้ขอ้ มูลเพื่อยืนยัน ความจริง และความชัดเจนในทุก ประเด็นของการวิเคราะห์และการ รายงานผล

13/03/57

การตรวจสอบสามเส้าด้านวิธี รวบรวมข้อมูล (Methodological Triangulation) ผู้วิจัยเก็บรวบรวม ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ กัน ด้วย วิธีการสนทนา การสอบถาม การ สัมภาษณ์ และเก็บข้อมูลจาก เอกสาร แล้วนาข้อมูลมาตรวจสอบ ยืนยันกัน

การตรวจสอบ ข้อมูล

การยืนยันผล (Confirm Ability) ผู้วิจัยตรวจสอบความ ตรงของข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล ด้วยการนาข้อสรุปเสนอต่อชุมชน เพื่อขอความคิดเห็นและการ ยืนยันผล

8

วิธีการดาเนินการวิจัย 3. น าข้ อ มู ล ที่ ผ่ า นการตรวจสอบข้ อ มู ล แล้ ว มา วิเคราะห์ตีความแบบอุปนัย (Analytic Induction) เพื่อ สร้างข้อสรุปจากปรากฏการณ์ที่ได้ศึกษา และตอบคาถาม การวิจัย

13/03/57

9

ประเด็นที่ 1 สภาพปัญหาความยากจน และความเข้มแข็งของ ชุมชนสร้อยมาลา

ประชาชนใน ชุมชนมีรายได้ที่ ไม่เพียงพอต่อ รายจ่ายและค่า ครองชีพสูง

ทุกครัวเรือน ต้องพยายาม ทางานมากขึ้น โดยไม่มีเวลาที่ จะเข้าร่วม กิจกรรมพัฒนา ชุมชน

ส่งผลให้ชุมชน ขาดกลไกการ พัฒนา ขาด ระบบภูมิคุ้มกัน ทางด้านการเงิน เกิดปัญหา หนี้สิน

ผู้ปกครองมี ความเครียด มี เวลาให้บุตร หลานน้อยลง และไม่สามารถ ส่งเสริม การศึกษาของ บุตรหลานได้

ประเด็นที่ 2 สภาพความต้องการแก้ไขปัญหาความยากจนและ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสร้อยมาลา ให้ความสาคัญ กับการสร้าง ความเข้มแข็ง ของสถาบัน ครอบครัว

การแก้ ปัญหาใน ระดับชุมชน ร่วมมือกับ ภาคีภายนอก

13/03/57

ส่งเสริมให้มี การจัดทา บัญชี ครัวเรือน 11

ประเด็นที่ 2 สภาพความต้องการแก้ไขปัญหาความยากจนและ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสร้อยมาลา (ต่อ) การร่วมมือ กับชุมชน การจัดการ ด้านศึกษาแก่ เด็กและ เยาวชนใน ชุมชน

ให้ความรู้แก่ ชุมชนในการ จัดทาโครงการ สวัสดิการ ชุมชน 13/03/57

การแก้ ปัญหาใน ระดับเขต

จัดฝึกอบรม เพิ่มพูนความรู้ และทักษะแก่ ผู้นาชุมชน

ส่งเสริมกิจกรรม ภายในชุมชนที่มี ส่วนช่วยแก้ ปัญหาความ ยากจน 12

ประเด็นที่ 2 สภาพความต้องการแก้ไขปัญหาความยากจนและ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสร้อยมาลา (ต่อ) การจัด จาหน่ายสินค้า ราคาถูกแก่ ประชาชน

ให้ความสาคัญ กับการศึกษา และพัฒนาการ ของเด็กและ เยาวชน

13/03/57

การแก้ปัญหา ในระดับ กรุงเทพมหานคร

ส่งเสริมการ ฝึกอาชีพแก่ ผู้ที่ว่างงาน

ร่วมมือกับชุมชน ในการแสวงหา วิธีแก้ปัญหา หนี้สินของคนใน ชุมชนอย่าง ยั่งยืน

13

บทสรุปและข้อเสนอแนะ ควรมีการ แก้ไขกฎ ระเบียบ วาระผู้นา ชุมชนที่มา จากการ เลือกตั้ง

สารวจและ กาหนดความ ต้องการของ ชุมชนในการ พัฒนาอาชีพ 13/03/57

14

Questions and/or Comments

Thank you

KM-01-MPA.pdf

People's Participation in Strengthening the Community for Problem. Solving of Poverty: A Case Study of Soimala Community,. Nongkham District, Bangkok.

2MB Sizes 1 Downloads 458 Views

Recommend Documents

No documents