คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เมษายน 2547

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3



สารบัญ

สารบัญ



ทําความรูจักกับโปรแกรม ARCVIEW เบื้องตน

1

ARCVIEW คืออะไร ARCVIEW ทําอะไรไดบาง GIS คืออะไร GIS ทํางานอยางไร รูจักกับสวนติดตอกับผูใชของ ARCVIEW ARCVIEW DOCUMENTS ARCVIEW PROJECTS แนะนําใหรูจัก VIEWS และ THEMES การใชงาน THEMES เบื้องตน รูจักกับตาราง (TABLES) รูจักกับ CHARTS รูจักกับ LAYOUTS รูจักกับ SCRIPT การใชระบบ HELP ของ ARCVIEW

1 1 2 3 4 5 5 6 7 8 9 10 10 11

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ARCVIEW

13

การสราง VIEW และ THEMES คาพิกัดทางภูมิศาสตร

13 21

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล การเปลี่ยนสัญลักษณที่ใชในการนําเสนอแผนที่ วิธีจัดชวงชั้นขอมูล การแกไขสวนประกอบตางๆ ของสัญลักษณ การกําหนดการแสดงผล THEME ดวย THEME PROPERTIES

23 23 26 28 31 ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ข ตารางขอมูลเชิงบรรยาย การใชงานตารางขอมูลเชิงบรรยาย การสืบคนขอมูล การสืบคนขอมูล การคํานวณคาสถิติจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย การสรางความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยาย การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ การสรางกราฟ องคประกอบของกราฟ การเปลี่ยนรูปแบบของกราฟ การสรางและจัดการโครงรางแผนที่ แนวคิดการออกแบบแผนที่เบื้องตน การควบคุมมุมมองในการทํางานกับโครงรางแผนที่ การสรางโครงรางแผนที่ การสรางโครงรางแผนที่ การกําหนดคุณสมบัติของหนาโครงรางแผนที่ การสรางกรอบองคประกอบแผนที่ การกําหนดคุณสมบัติของกรอบองคประกอบแผนที่ การสรางกราฟฟกประกอบแผนที่ การแกไขกราฟฟก การสรางตนแบบโครงรางแผนที่ การพิมพโครงรางแผนที่ การแปลงโครงรางแผนที่เปนไฟลภาพ

ชยกฤต มาลําพอง

37 37 40 41 42 43 49 49 50 51 57 57 58 58 59 60 62 63 67 68 72 73 73

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน

1

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน ArcView คืออะไร ArcView เปนโปรแกรมงานทางดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System: GIS) ที่ใชงานงาย ลักษณะการใชงานเปนแบบ Graphic User Interface ซึ่งสะดวกตอการใชงาน ไมวาจะเปนการ เรียกใชขอมูลภาพ ขอมูลตาราง การแสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ ตลอดจนสามารถสืบคนขอมูล วิเคราะหขอมูล และนําเสนอขอมูลไดในรูปแบบแผนที่ที่สวยงาม

ArcView ทําอะไรไดบาง ArcView เปนโปรแกรมที่สามารถทําแผนที่โดยมีอุปกรณสนับสนุนการวิเคราะหเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) การใหคาอางอิงทางภูมิศาสตร (Addresses Geocoding) แลวแสดงผลบนแผนที่ การสรางและการแกไข ขอมูลภูมิศาสตรและขอมูลตาราง การทําแผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Mapping) การนําเสนอในรูปแผนที่ที่มีคุณภาพ Graphic User Interface ArcView GUI (Graphic User Interface) จะอํานวยความสะดวกใหผูใชสามารถใชงาน ArcView ไดอยาง รวดเร็วและงายดาย โดยสามารถออกคําสั่งตางๆ ไดจากทั้ง Pull-down Menus, ปุม, และเครื่องมือตางๆ บน Tools Bar Access to External Databasses โปรแกรม ArcView จะมีสวนที่เรียกวา ArcView’s SQL Connect control ซึ่งจะสามารถเชื่อมโยงเขาใช งานและจัดการกับฐานขอมูลในระบบตางๆ ได เชน ORACLE, SYBASE, INGRES หรือ INFORMIX ได และสามารถ ใช SQL สืบคนหรือเขาถึงรายละเอียดขอมูลจากแหลงขอมูลดังกลาว Customization with Avenue ผูใชงานสามารถเขียนสคริปต (Script) ดวยภาษา Avenue เพื่อสราง เมนู (Menu) ปุม (Buttons) และ เครื่องมือ (Tools) เพื่อประยุกตใชงานในสวนที่ตองการ Extensions for advances functionality ArcView มีสวนขยาย (Extension) เพื่อเพิ่มความสามารถของโปรแกรมใหสูงขึ้น โดยมีสวนขยาย มาตรฐานที่ใหเมื่อผูใชติดตั้งโปรแกรมดังนี้ CadReader extensions สนับสนุนการเปดขอมูลประเภท CAD Database Themes extension ESRI’s Spatial Database Engine (SDE) เปนผลิตภัณฑที่มีมา ตางหากจาก ArcView ซึ่งสามารถดึงขอมูลจากฐานขอมูลภายนอก เขามาใชรวมกับฟเจอร (feature) ตางๆ ใน ArcView ได โดยมี อุปกรณ (Tools) อํานวยความสะดวกในการวิเคราะห และตัว ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

2

Digitizer extension IMAGINE Image extension JPEG (JFIF) Image extension

Database Themes Extension ของ ArcView นี้เองที่จะชวยให สามารถแสดงผลชั้นขอมูลที่เปนจุด (Point) เสน (Lines) และ วงรอบปด (Polygon) ของ SDE สนับสนุนการนําเขาโดย Digitizer เพื่อใชงานภาพที่อยูในรูปแบบของโปรแกรม ERDAS IMAGINE เพื่อใชงานภาพที่อยูในรูปแบบของ JFIF หรือในรูปของ JPEG ได

GIS คืออะไร GIS คือ ระบบสารสนเทศที่ใชในการแสดงผลแผนที่ และมีเครื่องมือในการสรางแผนที่ การวิเคราะห การ จัดการเกี่ยวกับแผนที่อยางเต็มรูปแบบ รวมถึงการหาความสัมพันธระหวางขอมูลหลายๆ ชุด นอกจากนี้ยังมีอุปกรณใน การวาดแกไขเพิ่มเติมแผนที่ และแกขอมูลในตาราง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูลก็จะมีผลตอแผนที่ที่ถูกทําขึ้นไว ทันที ผูใชสามารถทําอะไรกับ GIS ไดบาง GIS สามารถนําขอมูลตางๆ มาวิเคราะห เพื่อใหไดขอมูลใหมที่มีประโยชนยิ่งขึ้น ยกตัวอยางเชน ‰

‰

‰

‰

‰

‰

ชยกฤต มาลําพอง

ใชพิจารณาหาตําแหนงของลูกคา และพิจารณาวาหนวยบริการดังกลาวจะสัมพันธกับลูกคา และ มีการแขงขันของบริการประเภทเดียวกันบริเวณเดียวกันหรือไมอยางไร ตัดสินใจเพื่อสรางสิ่งอํานวยความสะดวก ธุรกิจตาง ศูนยการคา หรือบริการ หรือหาตําแหนงที่ อยูอาศัยของสัตวที่อยูในเขตพื้นที่สงวน หรือหาพื้นที่มีแนวโนมจะเกิดดินถลมหลังเกิดไฟปา แผนที่ประชากร และ การคาขาย และตัดสินใจวาบริเวณไหนควรทําการคา และ มีลูกคา กลุมเปาหมาย เปนเครื่องมือในการตัดสินใจวาควรจะมีการจัดสรรงบประมาณ ในการสรางถนน การบํารุงรักษา ทาง การวางผังเรงดวน การปองกันความสงบ วาควรจะทําที่ไหนเมื่อไหร เปนตน ปรับและรวบรวมให แผนที่ ตาราง กราฟ และภาพจากแหลงตางขอมูล สามารถใชงานรวมกัน ได ปรับปรุงขอมูลแผนที่โดยอัตโนมัติ ทันที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูล

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน

3

GIS ทํางานอยางไร

ƒ เชื่ อ มโยงข อ มู ล เชิ ง พื้ น ที่ แ ละข อ มู ล เชิ ง บรรยายเข า ด ว ยกั น สอบถามข อ มู ล เชิ ง พื้ น ที่ ไ ด จ ากข อ มู ล เชิ ง บรรยาย และสอบถามขอมูลเชิงบรรยายไดจากขอมูล เชิงพื้นที่ ƒ จัดการกับขอมูลเชิงบรรยายและข อมูลเชิงพื้นที่ผา น THEME

GIS ทําการเชื่อมโยงขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) บนแผนที่ไปยังขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) ตางๆ ของแตละขอมูล ซึ่งเปนความสามารถหลักๆ ของ GIS ทําใหสามารถเขาถึงขอมูลตางๆ ไดอยางรวดเร็ว ทั้งโดย การใชขอมูลเชิงพื้นที่หรือขอมูลเชิงบรรยายก็ได Feature หมายถึงวัตถุตางๆ ที่นําเสนอบนแผนที่ ไมวาจะเปนวัตถุที่เกิดขึ้น โดยธรรมชาติหรือวัตถุที่มนุษยสรางขึ้น ลวนแลวแตเรียกวา map feature ทั้งนั้น แตละ feature มีตําแหนง และสามารถนําเสนอให เปนรูรางหรือสัญลักษณซึ่งจะทําใหทราบถึงคุณสมบัติที่มากกวาที่ จะแสดงใหเห็นในแผนที่ของแตละสัญลักษณ Attributes หรือขอมูลเชิงบรรยาย ระบบ GIS จัดเก็บขอมูลที่เกี่ยวกับ feature ตางๆ ในแผนที่ในฐานขอมูล (Database) และทําการเชื่อมโดยเขา กับ feature เหลานั้น ขอมูลดังกลาวเรียกวาขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute) ขอมูลเชิงบรรยายของอาคารอาจจะประกอบไปดวย ชื่อ อาคาร เจาของ ประเภทของอาคาร ขนาด หรือเลขที่ เปนตน GIS Themes การจัดการเชื่อมโยงรวบรวม feature เขากับขอมูลเชิงบรรยาย เมื่อ จัดรวมเขาดวยกันแลวเราจะเรียกวา Theme ซึ่งแตละ Theme ก็จะ มีขอมูลทางภูมิศาสตรตางๆ เชน ถนน ทางน้ํา การถือครองที่ดิน จุดสองสัตวปา พรอมกับขอมูลเชิงบรรยายของแตละ feature GIS database ชุดของ theme ตางๆ ในพื้นที่ที่สัมพันธกัน ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

4

รูจักกับสวนติดตอกับผูใชของ ArcView Application windows Graphic user interface (GUI)

Menu bar Button bar Tool bar

Project windows Document windows

Status bar

หนาตาง Application ของ ArcView ประกอบไปดวย Graphical User Interface (GUI) สําหรับทุก หนาตางสามารถที่จะยาย เปลี่ยนขนาด ยอหนาตางและขยายใหเต็มจอได โดยมีองคประกอบตางๆ ดังรายละเอียดดังนี้ Project window หนึ่งหนาตาง Application ประกอบไปดวย หนึ่งหนาตาง Project ซึ่งแสดงชื่อของเอกสารตางๆ เชนตารางหรือ database อื่นๆ Document windows เปนสวนที่ใชแสดงผลขอมูลตางๆ ซึ่งขอมูลแตละประเภทกันจะ ทํางานใน Document window ของตัวเอง Graphical User Interface (GUI) ประกอบไปดวย เมนู (Menus) ปุม (buttons) และเครื่องมือ (tools) เรียงลงมา 3 แถบดานบนสุดของ Application window สวนของ Menu bar จะใหผูใชสามารถใชคําสั่งไดจาก pulldown เมนู สวน Button bar ใชสําหรับออกคําสั่งตางๆ ที่มีอยางรวดเร็ว และ Tool bar เปนเครื่องมือที่ตองการการนําเขาโดยใชเมาส กลาวคือเมื่อใช เมาสคลิกบน Tool bar เพื่อออกคําสั่งแลวรูปรางของ cursor จะ เปลี่ยนไปเพื่อใหเรานําเขาขอมูลหลังจากออกคําสั่งนั้นโดยใชเมาส Status Bar เมื่อเลื่อนเมาสไปบนเมนู ปุมหรือเครื่องมือตางๆ แถบแสดงสถานะ (status bar) จะแสดงใหเห็นวาปุมหรือคําสั่งตางๆ เหลานั้นใชทํา อะไร นอกจากนี้ยังแสดงผลใหเห็นวาขณะนั้น cursor อยู ณ ตําแหนงใดบนหนาจอ และสามารถบอกระยะที่จากจุดหนึ่งไปยังจุด หนึ่งไดอีกดวย

ชยกฤต มาลําพอง

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน

5

ArcView documents ArcView สนับสนุนการทํางานของขอมูลไดอยางหลากหลายประเภท และสามารถแสดงผลขอมูลตางๆ ไดในแตละหนาตางของมันเอง ซึ่งเรียกวา Document window แตละเอกสาร (document) มีหนาตา (interface) แตกตางกันออกไป ArcView document จะประกอบไปดวย Views เปนหนาตางแสดงผลของขอมูลเชิงพื้นที่แยกเปน theme เชน ขอมูลขอบเขตการ ปกครอง เมือง ทางน้ํา ถนน โรงเรียน กรรมสิทธิ์ที่ดิน ธนาคาร หรือ โรงแรม เปนตน Table แสดงขอมูลที่ใชแสดงขอมูลเชิงบรรยายตางๆ ที่แสดงอยูใน view เชน ชื่อเมือง ชื่อทางหลวง จํานวนประชากร ความสูงของพื้นที่เปน หรือ จํานวนบัญชีที่ธนาคารมี เปนตน Chart เปนการแสดงผลขอมูลตางๆ จากตารางในรูปแบบของกราฟ Layouts ใชสําหรับการนําเอาขอมูลแตละชนิดมานําเสนอรวมกัน เชนขอมูล ใน view ขอมูลจากตารางหรือขอมูลที่เปนกราฟ และสามารถที่จะ สั่งพิมพเปนแผนที่ที่มีคุณภาพไดอยางสวยงาม Scripts เปนหนาตางที่ใชในการเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมดวยภาษา Avenue ซึ่งเปนภาษาโปรแกรม (Programming language) ของ ArcView เอง ซึ่งภาษา Avenue นี้สามารถสรางฟงกชันขึ้นใชเองหรือนําเอา ฟงกชันเดิมที่มีอยูแลวมาประยุกตใชก็ได

ArcView projects

Views Tables Charts

Project Windows

Layouts Scripts

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

6

โปรเจค (Project) เปนหนวยใหญที่สุดในการแสดงผลของ ArcView ดังนั้นในหนึ่งโปรเจคจึงประกอบไป ดวย views, tables, charts, layouts, และ scripts ซึ่งหนาตางโปรเจคจะเปนสวนที่ผูใชจะสามารถสั่งใหซอนแสดงผล หนาตางอื่นๆ ตามแตตองการ หรือหากตองการที่จะใหแสดงผลขอมูลใดเพิ่มเติมก็สามารถเพิ่มเขาไปในหนาตางโปรเจค ได และเมื่อมีการบันทึก (save) โปรเจคก็จะทําการบันทึกรูปแบบหนาตางที่ไดเปดไวในขณะบันทึกดวย ทําใหเมื่อเรา เปนโปรเจคนั้นขึ้นมาใชอีกครั้งก็สามารถทํางานตอจากของเดิมไดโดยไมตองเปดหนาตางหรือเอกสารที่ตองการใหมอีก ครั้ง โปรเจคแตละโปรเจคจะจัดเก็บในรูปแบบของโปรเจคไฟล (Project file) ซึ่งมีรูปแบบเปน ASCII ไฟลและ มีนามสกุลเปน .apr เชน river.apr เปนตน หนาตางโปรเจค (Project windows) เปนเสมือนประตูในการเขาสูเอกสารหรือหนาตางอื่นตามตองการ โปรแกรม ArcView จึงสามารถเปดโปรเจคไดเพียงโปรเจคเดียวเทานั้น

แนะนําใหรูจกั Views และ Themes View GUI

View GUI

Table of Content

Map Display

ƒ Theme ประกอบดวยขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงบรรยาย ƒ Views สามารถประกอบดวย Themes มากกวา 1 Themes ƒ แตละ Themes จะมีชื่อ Themes และสัญลักษณแสดงใน Table of Contents

ArcView จะนําเสนอขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงบรรยายในแตละชุดของขอมูลในลักษณะที่เรียกวา Theme โดยที่การจัดการหรือการแสดงผลจะกระทําในสวนของ view ของโปรแกรม ArcView แตละ theme จะมีชื่อของ theme และมีสัญลักษณที่ใชแสดงเปนตัวแทนของวัตถุเหลานั้น

ชยกฤต มาลําพอง

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน

7

ในหนาตาง View สามารถที่จะแสดงผลพรอมกันไดหลาย theme ของพื้นที่หนึ่งใน View เดียวกัน ยกตัวอยางเชน theme แสดงทางดวน theme แสดงศูนยการคา theme แสดงธนาคาร และ theme แสดงความหนาแนน ของประชากร เปนตน หนาตาง View จะแบงออกเปนสองสวน ประกอบไปดวย Table of Contents และ Map display ในสวน ที่เปน Table of Contents มีรายชื่อของ themes เรียงกันลงมาพรอมกับสัญลักษณ ซึ่งสัญลักษณเหลานี้เราสามารถสั่ง ใหแสดงผลหรือไมก็ได แผนที่จะแสดงผล feature ในแตละ theme และ GUI ของหนาตาง view จะประกอบไปดวย เมนู (menu) ปุม (buttons) และเครื่องมือ (tools) เพื่อใหสามารถจัดการกับ theme ในแตละ view ได

การใชงาน Themes เบื้องตน เมื่อมี Theme อยูใน view ผูใชสามารถที่จะสั่งใหแสดงผลหรือซอน theme เหลานั้นหรือสั่งให theme ใดๆ active เพื่อการจัดการอยางอื่น และสามารถเปลี่ยนลําดับการแสดงผลของแตละ theme ได การสั่งใหแสดงผลของแตละ Theme ใน view สามารถทําไดโดยการคลิกบน check box ขางหนาของแต ละ theme ในสวนของ Table of contents และคลิกอีกครั้งเพื่อยกเลิกการแสดงผล ถาปรากฏเครื่องหมาย ; ใน check box หมายถึงวา theme นั้นจะแสดงผลใน view สวนของการแสดงผล (Map display) และเมื่อคลิกอีกครั้งให เครื่องหมาย ; หายไปก็จะเปนการยกเลิกการแสดงผล การสั่งยกเลิกการซอน theme เปนเพียงการยกเลิกการ แสดงผลใน view เทานั้นไมไดหมายถึงวา theme นั้นถูกลบทิ้งแตอยางใด อีกทั้งการจัดการใดเกี่ยวกับ theme ก็ไมจะ เปนตองสั่งให theme นั้นๆ แสดงผลทุกครั้งไป ผูใชจะสามารถจัดการอยางอื่นไดอีกมากมาย การทําให theme active สามารถทําไดโดยการไปคลิก บริเวณสวนแสดงชื่อและสัญลักษณของ theme ใน Table of contents เมื่อคลิกแลวบริเวณนั้นจะมีลักษณะนูนขึ้นมา ซึ่ง หมายถึงวา theme เหลานี้พรอมที่จะใหจัดการอยางอื่นตอไป และถาหากตองการใหมี theme ที่ active มากกวาหนึ่ง theme ก็สามารถทําไดโดยการกดปุม shift คางไวในขณะที่คลิกเลือก theme อื่น ArcView จะแสดงผล theme ตามลําดับที่เรียงอยูใน Table of contents คือเรียงลําดับจากขางลางขึ้น ขางบน ซึ่งหมายถึง theme ที่อยูดานบนจะแสดงผลซอนทับ theme ที่อยูขางลาง ในเปลี่ยนลําดับการแสดงผล theme เพียงคลิกเมาสบน theme ที่ตองการลําดับในสวนของ Table of Contents แลว ลาก (drag) เพื่อเปลี่ยนตําแหนงของ theme (ขึ้นหรือลง) ใน Table of Contents

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

8

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

รูจักกับตาราง (Tables)

ƒ ใช แ สดง รายละเ อี ย ด ขอมูลเชิงบรรยาย ƒ แ ส ด ง ข อ มู ล Record (rows) และ field (columns) ƒ แสดงขอมู ลเชิ งบรรยาย ของแตละ features ใน Themes นั้นๆ

โปรแกรม ArcView มี Table เพื่อใชในการแสดงผลขอมูลที่เปนตาราง Table ประกอบไปดวยขอมูลเชิง บรรยายเกี่ยวกับ feature บนแผนที่ แตละแถว (row) หรือ เรคคอรด (record) ในตารางจะแสดงขอมูลทุกอยางของ สมาชิกหนึ่งตัวจากทั้งกลุมที่นําเสนออยู สวนในแตละคอลัมน (column) หรือฟลด (field) จะแสดงคุณสมบัติอยางหนึ่ง ของสมาชิกทุกตัว เชน ชื่อประเทศ จํานวนประชากร หรือพื้นที่ เปนตน ผูใชสามารถทํางานกับขอมูลจากหลายๆ ตารางได นอกจากนั้นยังสามารถเขาถึงตารางไดหลากหลาย รูปแบบ ผูใชสามารถแสดงผล (display) สืบคน (query) และวิเคราะหขอมูลในตารางได และถาในตารางประกอบไปดวย ขอมูลที่สามารถระบุถึงตําแหนงของแผนที่บนพื้นโลกได เชนพิกัดภูมิศาสตร หรือที่อยู ผูใชก็สามารถที่จะแสดงคาพิกัด บน view ได Theme tables ประกอบไปดวยขอมูลอธิบายเกี่ยวกับ geographic feature ใน theme ผูใชสามารถที่จะ เรียกดูขอมูลเชิงบรรยาย (attribute) ไดโดยตรงจาก view ซึ่งโปรแกรม ArcView จะจัดการความสัมพันธระหวาง feature กับตารางขอมูลเชิงบรรยายเองโดยอัตโนมัติ

ชยกฤต มาลําพอง

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน

9

รูจักกับ Charts

ƒ ใชแสดงขอมูลในรูปแบบ กราฟ ƒ สามารถแสดงกราฟ เปรี ย บเที ย บข อ มู ล เชิ ง บรรยาย

เปนการนําเสนอขอมูลจากตารางออกมาในรูปของกราฟ เพื่องายตอการเขาใจ โดยขอมูลที่นํามาสราง กราฟจะอางอิงมาจากตาราง และสามารถที่จะเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผลได ผูใชสามารถใชกราฟในการแสดงผล การ เปรียบเทียบ การสืบคน ขอมูลเชิงบรรยาย ตัวอยางเชน ผูใชสามารถชี้ไปยังชิ้นสวนบนกราฟรูป pie เพื่อแสดงผล เรคคอรด (record) ที่ชิ้นสวนบนกราฟนั้นอางอิงถึง กราฟจะมีลักษณะที่เปน Dynamic นั่นคือหากมีการเปลี่ยนแปลง ขอมูลในตารางขอมูล ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของกราฟทันที ผูใชสามารถเลือกลักษณะ Charts ไดถึง 6 ชนิด ไดแก ‰

Area

‰

Bar

‰

Column

‰

Line

‰

XY scatter

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

10

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

รูจักกับ Layouts

ƒ สามารถสรางแผนที่แบบ ที่สามารถนําเสนอได ƒ แสดง document (view, tables, charts) และ รูปภาพ (graphic) ได ƒ สามารถแสดงขอมูลทาง เครื่อ ง printer และ plotter

ในสวนของ layout document ผูใชสามารถที่จะรวมเอาหลายๆ document และ สวนประกอบตางๆ ของ แผนที่มานําเสนอไวบนสวนนี้ เชน ลูกศรแสดงทิศเหนือ scale bar หรือ กราฟฟก (graphic) เชน neatline (border) และสัญลักษณของหนวยงาน (logo) เพื่อใหไดแผนที่ที่มีคุณภาพ ตัวอยางเชน ในหนึ่ง layout อาจประกอบไปดวยขอมูล แผนที่จาก 2 view กราฟเพื่อเปรียบเทียบขอมูล ลูกศรแสดงทิศของแผนที่ หัวแผนที่ (map title) เพื่อบอกวาเปนแผนที่ เกี่ยวกับอะไรมีจุดประสงคเพื่ออะไร เมื่อผูใชสราง layout ผูใชสามารถสงพิมพออก printer หรือ plotter ไดในหลาย รูปแบบ และสามารถบันทึกเปน template เพื่อใชงานภายหลังได

รูจักกับ Script

ƒ ใช สํ า หรั บ เขี ย นสคริ ป ต ภาษา Avenue ƒ สํา หรับสร างการทํ า งาน ใหมตามที่ตองการ

Script document เปนเหมือนกับ text editor ทั่วไป จะใชเพื่อเขียน Avenue ซึ่ง Avenue script นี้เปน การเขียนโปรแกรมเพื่อใหผูใชสามารถสั่งให ArcView ทํางานในระดับที่ยากขึ้นได หรือ สราง application ขึ้นเพิ่มเติมได ชยกฤต มาลําพอง

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน

11

การใชระบบ Help ของ ArcView ระบบ Help ในโปรแกรม ArcView เปนเครื่องมือที่มีประโยชนอยางยิ่งตอผูใช โดยผูใชสามารถเรียกดู หัวขอตางๆ ไดอยางงายดาย มีเนื้อหาครอบคลุมทั้งในสวนของ ArcView และ GIS Getting help for a button, tool or menu choice เพื่อแสดง Help Topic ของ ปุม (button) ทูล (tool) หรือ เมนู (menu) ที่ตองการจะใหแสดง Help Topic Getting help for dialog boxes สําหรับการแสดง Help topic ของ Dialog box ใหกดปุม F1 เมื่อ Dialog box นั้นๆ ถูกเปดใช Using the Contents tab ในการเรียกดูรายการของ Help ใน ArcView ทั้งหมด ใหเลือก หัวขอ Help topic จากเมนู Help แลวเลือก Contents tab การ ทํางานของ contents จะทํางานเหมือนหนังสือ ใชปุมเพื่อเขาไปสู หัวขอยอยของหัวขอที่เลือก และใชปุม เพื่อดูเนื้อหาของเรื่องที่ ตองการ Using the Index tab เมื่อตองการเรียกดูดัชนี (Index) ใน Help ใหเลือก Help topic จาก เมนู Help แลวคลิกแทบ Index พิมพคําที่ตองการคนดัชนี หรือ พิมพเพียงตัวอักษรแรกของคํา ดัชนีก็จะแสดงรายการคําที่พิมพลง ไปใหทันที ใหคลิกเลือกหัวขอที่ตองการจากรายการที่แสดง แลว คลิกปุมเพื่อแสดงคําอธิบายในหัวที่เลือก Using the Find tab เพื่อคนหาหัวขอของ Help จากบางสวนของคํา เลือก Help topic จาก เมนู Help แลวคลิก Find tab อันจะทําใหผูใชคนหาคําที่ ตองการหรือประโยคที่ตองการใน Help topic ได แทนที่จะคนหา โดย Category Using hypertext Help ของ ArcView มี hypertext เพื่อใหผูใชคลิกเพื่อเขาไปดู รายละเอียดไดระหวางอานขอความใน Help ซึ่งตัวหนังสือสําหรับ ใหคลิกดังกลาวจะเปนสีเขียว เรียกวา Jumps

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

13

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView การสราง View และ Themes ดังที่ไดกลาวไวแลวในบทแรกวา view เปนลักษณะ Interactive map ที่แสดงผล theme ของขอมูลเชิง ภูมิศาสตร ในหนึ่งโปรเจค (project) สามารถที่จะมีไดหลาย view และแสดง theme ของขอมูลไดจากหลายแหลง โปรเจคสามารถที่จะรวมเอาทั้ง view ที่แสดงขอมูลภูมิศาสตรในพื้นที่เดียวกันหรือตางพื้นที่กันก็ได Themes เปนรูปแบบขอมูลทางภูมิศาสตรที่มีลักษณะแตกตางกัน เชน ประเทศ ถนน อาคาร หรือทางน้ํา พรอมทั้งขอมูลเชิงบรรยายของรูปแบบขอมูลนั้นๆ ในแตละ theme สามารถที่จะสรางขึ้นไดจากแหลงขอมูลหลายแหลง รวมทั้งแผนที่ดิจิตอล (Digital) ที่มีอยูแลว ภาพ (Images) และขอมูลจากตารางตางๆ รูปแบบขอมูลใน theme ประกอบ ไปดวยขอมูลภูมิศาสตรโดยมีขอมูลอยู 3 รูปแบบไดแก จุด (points) เสน (lines) และวงรอบปด (polygons) ตัวอยางเชน theme อาจจะนําเสนอขอมูลทางหลวงในลักษณะของเสน (lines) แสดงตําแหนงที่ตั้งของธนาคารเปนจุด (point) และ แสดงเสนแนวแบงเขตประเทศเปนวงรอบปด (polygon) เปนตน ประเภทของขอมูลใน Theme รูปแบบขอมูลใน theme เปนตัวแทนการนําเสนอวัตถุตางๆ บนพื้นโลก แตละรูปแบบขอมูล จะมีตําแหนง ที่ตั้ง (Location) รูปรางลักษณะวัตถุที่จะนําเสนอ (point, line or polygon) และสัญลักษณที่จะชวยในการบงบอกวา แตละรูปแบบขอมูลคืออะไร ‰

‰

‰

จุด (points) นําเสนอวัตถุที่แสดงตําแหนงวัตถุที่มีขนาดเล็กจนไมสามารถที่จะบอกเปนพื้นที่ได เชน เสาหลัก บอน้ํา สถานีรถไฟ และโรงเรียนเปนตน เสน (lines) นําเสนอวัตถุที่มีความยาวแตมีลักษณะแคบจนไมสามารถนําเสนอแบบพื้นที่ (area) ได เชน ทางดวน ทางน้ํา ทางรถไฟ เปนตน วงรอบปด (polygons) ใชแสดงวัตถุที่ใหญเกินกวาที่จะนําเสนอเปนเสนหรือเปนจุด เชน ที่ดินทํา กิน พื้นที่ที่การสํามโนประชากร พื้นที่การตลาด ประเทศ และรัฐ เปนตน

การใหสัญลักษณของขอมูลใน Theme (Theme symbology) ซึ่งจะแยกออกเปนสัญลักษณของจุด (points) สัญลักษณของเสน (lines) และสัญลักษณของวงรอบปด (polygon) ตามประเภทของขอมูลซึ่งจะตองมีรูปแบบที่ แตกตางกัน เชน ‰

‰

‰

สัญลักษณแสดงจุด มักจะมีลักษณะที่บงบอกวาใชแทนวัตถุใดบนพื้นโลก เชน สัญลักษณแสดง โรงเรียนจะมีธงแดงอยูขางบนดวย และสัญลักษณของสนามบินก็จะมีเครื่องบินเล็กๆ อยูดวย สัญลักษณแสดงเสน จะมีทั้งเสนบางและเสนหนา เสนทึบ หรือเสนประ และอาจจะมีได หลากหลายสี สัญลักษณแสดงวงรอบปด หรือโพลีกอน จะประกอบไปดวยสี และลวดลายที่ใชเติมเขาไปใน พื้นที่นั้นๆ บางสีอาจจะเปนสีที่ตามธรรมชาติของวัตถุที่ตองการนําเสนอ เชนทะเลกับทางน้ําให ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

14

เปนสีน้ําเงิน สวนสาธารณะใหเปนสีเขียว สวนวัตถุอื่นที่ไมสามารถนําเสนอตามสีของธรรมชาติ ไดก็สามารถใชสีอื่นๆ ใหวัตถุแตละชนิดดูแตกตางกัน เมื่อผูใชเพิ่ม theme เขาไปใน view โปรแกรม ArcView สามารถที่จะนําเสนอ รูปแบบขอมูล โดยใชคา สัญลักษณที่ตั้งไวอยูแลว โดยจะสุมคาสีขึ้นมา ซึ่งคาตางๆ เกี่ยวกับการแสดงสัญลักษณนั้นสามารถที่จะเขาไปทําการ แกไขได ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป แหลงขอมูลสําหรับ Theme โปรแกรม ArcView สามารถที่จะนําขอมูลจากแหลงตางๆ มานําเสนอได โดยไมตองมีการแปลงรูปแบบ ของขอมูลอยูหลายชนิด โดยมีรายละเอียดดังนี้ ‰

‰

‰

‰

‰

Shapefile เปนรูปแบบหนึ่งของ ArcView GIS สําหรับใชจัดเก็บตําแหนงและขอมูลเชิงบรรยาย ของรูปแบบขอมูลตางๆ Shapefile สามารถที่จะสรางขึ้นในโปรแกรม ArcView จาก spatial data ที่มีอยูแลว หรือจะสราง Shapefiles เปลาๆ ขึ้นมาก็ได แลวจึงเพิ่มรูปแบบขอมูลที่ตองการเขาไป โดยการวาดขึ้นเอง รูปแบบขอมูลที่อยูใน Shapefiles สามารถแสดงผลไดอยางรวดเร็วและ เปลี่ยนแปลงแกไขรูปรางและขอมูลเชิงบรรยายได Coverage จากโปรแกรม Arc/Info เปนรูปแบบ Spatial data แบบหนึ่งซึ่งเปนที่นิยมอยาง กวางขวางที่พบในการทําแผนที่ดิจิตอลในระบบ GIS ผูใชสามารถเพิ่ม coverage ของ Arc/Info เขาไปไดเปน theme หนึ่งใน ArcView หากผูใชตองการที่จะเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูลบน theme ที่นําเขาจากโปรแกรม Arc/Info ผูใชตองทําการ convert ใหเปน Shapefile กอน ผูใชสามารถเรียกดู Arc/Info Map LIBRARIAN หรือ ฐานขอมูล ArcStorm libraries ใน ArcView ไดโดยการเพิ่มชั้นขอมูลของ library เปน theme ได ดวย ArcView ‘s CAD reader extension ผูใชสามารถใชไฟลที่มาจากโปรแกรมประเภท Computer Aided Design (CAD) มาเพิ่มเปน theme ในโปรแกรม ArcView โดยโปรแกรม ArcView สามารถที่จะใชไฟลรูปแบบของ Microstation DGN (เฉพาะจาก Windows) และไฟลที่ สรางขึ้น จากโปรแกรม AutoCAD ในรูปแบบของ DWG (เฉพาะจาก Windows) และ DXF ESRI’s Spatial Database Engine (SDE) เปนโปรแกรมที่แยกจาก ArcView สามารถทําให เขาถึง รูปแบบขอมูล ตางๆ ที่จัดเก็บในตารางฐานขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของได ซึ่งผูใชสามารถที่ จะแสดงผลชั้นขอมูลของ SDE นี้เปนหนึ่ง theme

แหลงของขอมูลเชิงพื้นที่นอกเหนือจากที่กลาวมาแลว ผูใชสามารถที่จะสราง theme ใน ArcView ไดจาก ภาพ หรือขอมูลในรูปแบบของตาราง ดังนี้ Image data ขอมูลภาพ (Image) เปนขอมูลที่มีลักษณะเปนจุดภาพ (Pixel) แต ละจุดภาพจะมีคาเฉพาะตัวอยู ตัวอยางเชนภาพขอมูลดาวเทียม ภาพถายทางอากาศ และขอมูลที่ทําการสแกน (scan) เขา หรือ ขอมูลที่ทําการเปลี่ยน (Convert) จากขอมูลรูปแบบงานพิมพปกติ มาเปนดิจิตอล (digital format) เปนตน ผูใชสามารถเพิ่มขอมูลภาพ เปนหนึ่ง theme และแสดงผลใน ArcView ไดตามปกติ ภาพ เหลานั้นโดยสวนใหญแลว จะใชเปนภาพฉากหลัง (Background) สําหรับแสดงผลหรือตัดภาพขอมูลเชิงพื้นที่อื่น ๆ เชน ทางหลวง ชยกฤต มาลําพอง

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

15 หรืออาคาร เปนตน ซึ่ง รูปแบบของภาพที่โปรแกรม ArcView สนับสนุนใชงานใหเปน theme ไดมีดังนี้

‰

TIFF,TIFF/LZW compressed

‰

ERDAS;IMAGINE(ตองมี ArcView ‘s IMAGINE image extension)

‰

BSQ,BIL and BIP

‰

Sun raster files

‰

BMP

‰

Run-length compressed files

‰

BMP

‰

Run-length compressed files

‰

JPEG (ดวย ArcView ‘s JPEG image extension)

‰

Image catalogs

ARC/INFO GRID Tabular data ‰

ขอมูลเชิงตารางนั้นรวมถึงขอมูลเกือบทุกประเภท แตโดยมากแลว จะเปนขอมูลอธิบายถึงรายละเอียดของรูปแบบขอมูล ตางๆ โดย การรวมเอาขอมูลเหลานี้เขาไปกับ theme โดยใสขอมูลเชิงบรรยาย เพื่อใหพรอมแสดงผลและสืบคนขอมูลของแตละรูปแบบขอมูลในแต ละ theme ในบางตารางจะประกอบไปดวยขอมูลที่จะบงบอกถึง ตําแหนงของพื้นที่ที่แสดงผลโดยตรงบน view เชน ที่อยูของลูกคา จุดจอดรถประจําทางตามแนวถนน หรือหรือพิกัดภูมิศาสตรของจุด ดูนก เปนตน ƒ New Project ƒ สราง View ใหม ƒ ชื่อ View ใหมจะปรากฏใน Project Windows

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

16 การสราง View

ผูใชสามารถสราง view ใหมในโปรเจคได ซึ่งโปรเจคดังกลาวอาจจะเปนโปรเจคใหมหรือเปนโปรเจคเดิม ก็ได ในโปรเจคหนึ่งๆ สามารถมีไดหลาย view โปรเจคที่ถูกสรางขึ้นใหมจะไมมี view หรือ document ใดๆ (tables, charts, layouts) อยูเลย ชื่อของโปรเจคใหมที่สรางขึ้นจะเปน untitled.apr ทุกครั้ง ซึ่งผูใชสามารถเปลี่ยนชื่อนี้ไดเมื่อทํา การบันทึก (save) โดยการสราง view สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰

เลือกไอคอน Views ในหนาตางโปรเจค

‰

คลิกปุม New บนหนาตางโปรเจค เพื่อสราง view ใหม

‰

ArcView จะสรางหนาตาง view ใหมให

เมื่อผูใชสราง view ใหมขึ้นมาในโปรเจค จะไมมี theme ใดๆ อยูเลย กลาวคือจะเปน view วางๆ และ หลังจากที่ไดเพิ่ม view เขาไปแลวก็จะมีรายชื่อของ view ปรากฏอยูในหนาตางโปรเจค (project windows) โดยชื่อของ view จะเปน viewX โดย X หมายถึงหมายเลขของ view เชน View1 เปนชื่อของ view แรกที่ถูกเพิ่มเขาไปในโปรเจค แตอยางไรก็ตามผูใชสามารถที่จะเปลี่ยนชื่อของ view ไดใน View Properties dialog box การนําเขา Theme การเพิ่ม theme เขาไปใน view เพื่อแสดงผลขอมูลเชิงพื้นที่นั้น โปรแกรม ArcView จะทําการอางอิงถึง ไฟลตางๆ ตามที่ระบุ เพื่อนํามาแสดงผล ไมไดเปนการคัดลอกไฟลมาไวในโปรเจคแตอยางใด ดังนั้นไฟลที่เปนขอมูล จะตองคงอยูเสมอเมื่อเรียกใชโปรเจคที่จะมีการอางถึง ƒ เลือก Add Theme button

ƒ เลือกขอมูลที่ตองการ

ƒ ขอมูลที่เลือกจะปรากฏ Theme ใหมใน View

ชยกฤต มาลําพอง

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

17

Theme ที่แสดงรูปแบบขอมูล จะอยูบนพื้นฐานของขอมูลเชิงพื้นที่ เชน shapefile, Arc/Info coverage, CAD drawing และชั้นขอมูลในรูปแบบของ Arc/Info Map Library หรือ ArcStorm database ได ในแหลงขอมูลเชิง พื้นที่เหลานี้ ขอมูลแสดงตําแหนงจะเปนในรูปแบบพิกัด x, y ขอมูลจุดจัดเก็บในรูปของพิกัด x, y เพียงคูเดียว เสน และ ขอบเขตของวงรอบปดจะถูกจัดเก็บพิกัดเปนชุดของพิกัด x, y ในการเพิ่ม theme เขาไปใน view สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰ ‰

คลิกปุม Add Theme จาก tool bar หรือ เลือกเมนู View -> Add Theme เมื่อปรากฏ dialog box ขึ้นมา ใหเลือก Feature Data Source จาก Data Source Types list ที่ อยูดานลาง

‰

เลือกดูโฟลเดอรตางๆ ไดจาก list ดานขวามือ จะปรากฏชื่อ theme ตางๆ ที่มีอยูดานซายมือ

‰

คลิกปุม OK ขอมูลที่เลือกจะปรากฏใน view

การเลือกขอมูลที่ตองการนั้น ผูใชสามารถเลือกขอมูลเพื่อจะเอาไปสรางเปน theme โดยการคลิกบนแถบ สีที่ปรากฏ ถาตองการเลือกมากกวาหนึ่งพรอมๆ กัน ใหกดปุม Shift ไวขณะที่คลิกเลือกขอมูลอื่นที่ตองการ add เปน theme แตละละขอมูลที่เลือกจะเปนแตละ theme ใน view เมื่อผูใชเพิ่ม theme เขาไปใน view โปรแกรม ArcView จะแสดงผลของ theme ใน view ในสวนของ Table of Contents ตามคาที่ถูกตั้งไว (default) แตอยางไรก็ตาม โปรแกรม ArcView จะยังไมแสดง theme ใหมที่เพิ่ม เขาไปใน view จนกวาผูใชจะคลิกเลือกใน check box ของ theme ที่ตองการใหแสดงผล กอนที่ผูใชจะสามารถเพิ่ม theme จากไฟลที่มาจากโปรแกรมประเภท CAD ไดตอง ทําการ load CAD Reader extension ไวกอน การ load extension ทําไดโดยการทําใหหนาตางโปรเจคแอคทีฟกอน แลวเลือก Extensions จากเมนู File แลวคลิกบน Check box ของ CadReader Extension ขอมูลที่ประกอบดวยรูปแบบขอมูลหลายประเภท ขอมูลชนิดที่เปน Arc/Info coverage หรือโปรแกรมประเภท CAD สามารถมีรูปแบบขอมูลไดมากกวา หนึ่งชนิด ในขณะที่โปรแกรม ArcView แตละ theme สามารถนําเสนอรูปแบบขอมูลไดเพียงหนึ่งชนิดเทานั้น เมื่อผูใช เพิ่ม Theme ประเภท Arc/Info coverage หรือประเภท CAD เขาไปไปใน view ผูใชสามารถที่จะเลือกไดวาจะเลือก แสดงรูปแบบขอมูลชนิดใด เมื่อขอมูลที่ตองการจะเพิ่มเขาไปใน theme มีรูปแบบขอมูลมากกวาหนึ่งชนิด จะปรากฏใหเห็นไดใน โฟลเดอรที่ปรากฏดานซายของ Add theme dialog box และเมื่อคลิกไปบนโฟลเดอรดังกลาวจะปรากฏชนิดของรูปแบบ ขอมูลตางๆ ที่มีอยูในขอมูลนั้นๆ เมื่อไมตองการใหแสดงผลรูปแบบขอมูลยอยใหคลิกซ้ําในแตละโฟลเดอรอีกครั้งหนึ่ง

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

18

ตารางแสดงการเปรียบเทียบรูปแบบของขอมูลระหวาง Arc/Info กับ ArcView Arc/INFO Corresponding Description feature types ArcView feature types Point Represent features found at discrete locations Points Arcs Represent linear features Lines Polygons Represent areas enclosed by specific boundaries Polygons Label points Points inside polygons that have the same attributes as the Point polygons Nodes The endpoints of arc features Points Routes Polygon features composed of one or more Arcs or parts Lines of an arc Regions Polygon features composed of one or more polygons Polygons Annotation Text stored in coverage to label the features it contains Text การนําเขา Image Theme Image theme มาจากขอมูลที่เปนภาพ (image data source) เชน ขอมูลภาพถายทางอากาศ หรือ ขอมูลภาพดาวเทียม ขอมูลภาพเหลานี้จะเก็บคาขอมูลเชิงพื้นที่ไวในแตชองหรือในลักษณะชุดของขอมูลที่เปนแถว (row) และคอลัมน (column) ในแตละเซลล (cell) จะมีคาประจําอยูซึ่งบันทึกลงไปโดยอุปกรณที่เปน optical หรือ electron ตัวอยางเชนในแตละจุดภาพ (pixel) ของขอมูลดาวเทียมแทนคาการสะทอนของชวงคลื่นจากพื้นผิวโลกเปนตน ผูใชสามารถเพิ่ม Arc/Info grid เขาไปเพื่อเปน theme ที่แสดงผลภาพเปนแบนดเดียว (single band) ใน Arc/Info grid แตละเซลลประกอบไปดวยตัวเลขแทนคาของ รูปแบบขอมูล ทางภูมิศาสตรที่เฉพาะเจาะจง เชน ชนิดดิน การใชที่ดิน คาความสูง ความลาดชัน ในการเพิ่ม theme ที่เปนภาพเขาไปใน view สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰

ทําให View ที่ตองการแอคทีฟ

‰

คลิกที่ Add Theme button หรือเลือกเมนู View ->Add Theme

‰

‰

ใน Add Theme dialog box ใหเลือก Data Source Types list เพื่อเลือก Image Data Source แลวใช Add Theme file browser ในการคนหาวาขอมูลภาพเหลานั้นอยูในโฟลเดอรใด เมื่อพบ แลวใหคลิกไปบนขอมูลภาพนั้น แลวตอบ OK ภาพนั้นก็จะเพิ่มเขาไปใน theme ใน view ที่แอคทีฟอยู

การนําเขา Theme จากชุดขอมูลคาพิกัด x, y ในกรณีที่ขอมูลที่มีเปนขอมูลที่ประกอบไปดวยคาพิกัด x, y โปรแกรม ArcView สามารถที่จะนําเอา ขอมูล x, y นั้นมาสราง เปน theme ได โดยอางอิงขอมูลนั้นเปน event table ซึ่งใหผูใชสามารถเอาขอมูลที่มีพิกัดทาง ภูมิศาสตรเหลานั้นมาสรางเปนแผนที่ไดถึงแมขอมูลดังกลาวจะไมขอมูลเชิงพื้นที่ (spatial data) ไฟลที่จัดเก็บตําแหนงของ รูปแบบขอมูล เปนพิกัด x, y พิกัดเหลานี้ อาจจะไดมาจากการอานคาจาก แผนที่ การอานคาจาก view การสํารวจภาคสนาม หรือการใช GPS (Global Positioning System) คาพิกัด x, y ดังกลาว สามารถที่จะเปนระบบพิกัด (coordinate) หรือเปนหนวย (unit) ก็ได เชน ลองจิจูด-ละติจูด หรือเมตร เปนตน ชยกฤต มาลําพอง

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

19

ผูใชสามารถเพิ่ม INFO, dBASEIII, dBASEIV หรือขอมูลที่เปนตัวหนังสือ (text file) โดยใชคอมมา (,) หรือแท็ปเปนตัวแบงระหวางขอมูลแตละฟลด (field) โปรแกรม ArcView จะอานไฟลทีละบรรทัดและนําขอมูลที่ถูกขั้น ดวยเครื่องหมายแท็ปหรือคอมมาแยกไวตามเซลล (cell) โดยที่บรรทัดแรกของไฟลจะเปนชื่อฟลด (field name) ของ ตาราง การนําเขา theme จากชุดขอมูลพิกัด x,y สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰

เพิ่มตารางขอมูลเขาไปในโปรเจค โดยคลิกไอคอน Tables ในหนาตางโปรเจค จากนั้นคลิกปุม Add บนหนาตางโปรเจค

‰

เลือกไฟลขอมูลที่ตองการ

‰

เลือกเมนู View -> Add Event Theme

‰

ใช Add Event Theme Dialog Box เพื่อสราง theme จากตาราง ƒ เพิ่มขอมูลในสวน Tables

ƒ ขอมูลคาพิกัด x,y

ƒ กําหนดคาในไดอะลอกบอก

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

20 ตารางขอมูลเชิงบรรยายของ Theme

ƒ แสดงรายละเอี ย ดข อ มูล เชิ ง บรรยายของ ประเภทขอมูลใน Theme ƒ 1 record คือ 1 feature ƒ มี Field ชื่อ shape แสดงประเภทขอมูล

ขอมูลบาง theme จะมาจากแหลงขอมูลเชิงพื้นที่ เชน Arc/Info coverage และ ArcView shapefiles และ บาง theme มาจากแหลงขอมูลเชิงตารางที่มีตําแหนงทางภูมิศาสตร (event themes) มี theme ของตาราง ประกอบดวยขอมูลคําอธิบายเกี่ยวกับรูปแบบขอมูลเหลานั้น theme ที่มาจากขอมูลภาพจะไมมีตารางมากับ theme นั้น ทุกๆ รูปแบบขอมูล ใน theme จะมีเพียงหนึ่งเรคคอรด (record) ในตารางของ theme ซึ่งเรคคอรดดังกลาวจะอธิบายถึง คุณลักษณะของรูปแบบขอมูลนั้น แตละฟลด (field) ในตารางของ theme ประกอบไปดวยคาของขอมูลเชิงบรรยาย เมื่อ ผูใชไดเพิ่ม theme ที่แสดงขอมูลเชิงพื้นที่ (spatial data) หรือขอมูลเชิงตาราง (tabular data) เขาไปใน view แลว ผูใช สามารถที่จะเขาถึงตารางของแตละ theme ไดโดยการคลิกที่ปุม Open Theme Table โปรแกรม ArcView จะจัดการ เชื่อมโยงระหวาง รูปแบบขอมูล ใน theme นั้นๆ กับขอมูลเชิงบรรยายทันที โดยที่ผูใชไมจําเปนตองเรียกตารางของ theme เหลานั้นขึ้นมากอนก็ได ในแตละ theme ที่สรางขึ้นจากฐานขอมูลเชิงพื้นที่ หรือขอมูลเชิงตาราง ที่ประกอบดวยฟลดชื่อ Shape ใชเก็บชนิด (point, line หรือ polygon) ของแตละ รูปแบบขอมูล ใน theme ฟลดเหลานี้จะมองเห็นตารางของ theme จากทุกตารางที่มีอยูในโปรแกรม ArcView เมื่อ theme ที่สรางขึ้นจากโปรแกรม Arc/Info coverage สวนที่ เปน feature กับ attribute จะมี ความสัมพันธโดยใชสวนที่เรียกวา geometry fields ในตาราง ซึ่งฟลดนี้จะแสดงใหเห็นวารูปแบบขอมูลที่แสดงอยูเปน ชนิดใด ในทุก ๆ รูปแบบขอมูลที่ สรา งจากโปรแกรม Arc/Info จะมีตัวเลขสองชุด ที่จ ะประกาศไว ได แ ก Coverage# และ Coverage-ID (PC Arc/Info) โดย Coverage หมายถึงชื่อ Coverage นั้นๆ ซึ่งฟลดดังกลาวนี้จะ เรียกวา Identification fields ขอมูลที่มาจากโปรแกรมวาดภาพประเภท CAD จะสัมพันธกับตารางที่เก็บคุณลักษณะตางๆ ของวัตถุ เชน สีของวัตถุ ลายเสน ความหนาของเสน และอื่นๆ ซึ่ง ตารางของ theme สําหรับขอมูล CAD แตละ feature ก็จะมี ขอมูลอธิบายคุณลักษณะเปนเรคคอรดไปเชนเดียวกัน

ชยกฤต มาลําพอง

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

21

การจัดเก็บขอมูล Project เมื่อผูใชทําการบันทึก (save) โปรเจค (project) ทุกๆ เอกสาร (documents) ในโปรเจค (views, tables, charts, layouts และ scripts) จะถูกบันทึกเปนไฟล .apr ซึ่งจะมีการปรับปรุงและจัดเก็บตามลักษณะที่ แสดงผลในขณะนั้นทุกประการ เชน หนาตางใดที่เปดอยูก็จะจัดเก็บอยูในลักษณะนั้น หรือสีที่เคยกําหนดไวเชนใดใน view ก็จะยังคงเปนสีนั้น ดังนั้นเมื่อเปดไฟลนี้ขึ้นมาดูหรือเพื่อทํางานตออีกครั้งก็จะไดเห็นลักษณะเชนเดิมกอนทําการ บันทึก นอกจากนี้ผูใชยังสามารถใช Save Project As เพื่อทําการบันทึกโปรเจคนั้นในที่ใหม หรือเปลี่ยนชื่อโปรเจคตาม ตองการ

คาพิกัดทางภูมิศาสตร ในการทํางานกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรนั้น ตําแหนงของขอมูลตางๆ ในแผนที่ จะตองถูกอางอิงถึง ตําแหนงจริงของวัตถุที่อยูบนพื้นโลกเสมอ ตําแหนงของวัตถุบนผิวโลกที่มีลักษณะเปนรูปสเฟยรอยดถูกวัดในรูปขององศา (degree) ละติจูด และ ลองจิจูด หรือเรียกอีกอยางวาพิกัดภูมิศาสตร (geographic coordinate) ละติจูดมีคาเปน 0 องศาที่เสนอีเควเตอร (equator) ไปถึง 90 องศาเหนือที่ขั้วโลก สวนลองจิจูด 0 องศาที่เสนเมอริเดียนหลัก (Prime Meridian) ไปจนถึง 180 องศาตะวันออก และ 180 องศาตะวันตก ณ เสนเวลาสากล (International Date) โดยมีสวนยอยขององศาเปนลิบดา และฟลิบดา ตามลําดับ สวนการอางอิงบนแผนที่นั้น ตําแหนงของวัตถุตางๆ จะถูกวัดในสองระนาบ ระบบระนาบแสดงพิกัดนี้จะ แสดงระยะจากจุดเริ่มตน (origin) ไปยังอีกจุดหนึ่งไดจากสองแกน คือแกน X ในแนวแสดงทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก และในแนวตั้งคือแกน Y แสดงทิศเหนือ-ใต เนื่องจากในความเปนจริงแลว พื้นผิวโลกมีลักษณะเปนรูปโคง แตการแสดงขอมูลบนแผนที่เปนแผนราบ ในการแปลงตําแหนงจากผิวโคงไปเปนผิวราบจึงตองมีการใชสูตรคํานวณทางคณิตศาสตรที่เรียกวา Map projection เพื่อรักษาคุณลักษณะเชิงพื้นที่ใหถูกตองตามความเปนจริงใหมากที่สุด คุณลักษณะทางพื้นที่ การทํา Map projection เปนการแปลงตําแหนงของขอมูลบนผิวโคงของโลกไปเปนแผนที่ที่เปนแผนราบ กระบวนการนี้จะทําใหพื้นที่เดิมที่เคยเปนสวนโคงเกิดการผิดเพี้ยนทั้งรูปราง พื้นที่ ระยะทาง และทิศทาง โปรเจคชั่นที่ แตกตางกันแตละชนิดจะเหมาะสมกับสวนตางๆ บนพื้นผิวโลกที่ตางกัน และโปรเจคชั่นแตละชนิดก็จะมีคุณสมบัติในการ รักษาคุณลักษณะเชิงพื้นที่ตางกันดวย คุณลักษณะดังกลาวไดแก ระยะทาง (distance) พื้นที่ (area) รูปราง (shape) และทิศทาง (direction) เมื่อใดที่ตองการทํา Projection โปรแกรม ArcView สามารถใหผูใชทํางานกับขอมูลไดโดยที่ไมตองทําโปรเจคชั่น แตอยางไรก็ตามผูใชก็ ควรที่จะใชโปรเจคชั่นเพื่อใหเกิดวามถูกตองในการทํางานเชิงพื้นที่

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

22

ถาผูใชตองการที่จะวัดคาอะไรก็ตามเพื่อชวยในการตัดสินใจที่สําคัญ ผูใชตองทําโปรเจคชั่นเพื่อลดความ ผิดเพี้ยนของขอมูลที่ตองการวัด ยกตัวอยางเชน ถาตองการรักษาคาของพื้นที่ (Area) จะตองใชโปรเจคชั่น equal area ถาตองการรักษารูปราง (shape) ใหใชโปรเจคชั่น conformal ถาตองการรักษาระยะใชโปรเจคชั่น equidistant และถา ตองการรักษาทิศทางใหใชโปรเจคชั่น azimuthal เปนตน ในกรณีที่ขอมูลเปนขอมูลที่ครอบคลุมพื้นที่ทั้งโลกการผิดเพี้ยนจะเห็นไดอยางชัดเจนและมีผลตอการ ทํางานเชิงพื้นที่ ดังนั้นผูใชควรจะทราบคุณลักษณะของโปรเจคชั่นชนิดตางๆ ซึ่งถือเปนเรื่องสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตองดูวางานที่ทําตองการเปรียบเทียบอะไร เชนรูปราง พื้นที่ ระยะทางหรือทิศทางของขอมูลตางๆ ในแผนที่ แตถา ขอมูลครอบคลุมพื้นที่เพียงสวนเล็กๆ คาความผิดเพี้ยนตางๆ ก็จะไมปรากฏชัดเจนและมีผลนอยมากตอแผนที่ Theme ที่มาจาก grid หรือ image ของ Arc/info สามารถที่จะจัดวางเขากับ theme ปกติที่ไมไดทํา โปรเจคชั่นได เนื่องจากกริดและภาพดังกลาวจะไมมีผลการการทําโปรเจคชั่นแตอยางใด การกําหนดระบบพิกัดทางภูมิศาสตรให View การกําหนดระบบพิกัดทางภูมิศาสตรใหกับ view สามารถทําไดดังนี้ ‰

ทําให View ที่ตองการแอคทีฟ

‰

เลือกเมนู View -> Properties…

‰

คลิกปุม Projection บนไดอะลอกบอก View Properties

‰

กําหนดคาตางๆ ตามตองการในไดอะลอกบอก Projection Properties

ƒ เลือกเมนู View -> Properties

ƒ กําหนดคา Map Projection ใหถูกตอง

ชยกฤต มาลําพอง

ƒ กําหนดคา Map Unit ตามตองการ

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

23

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล การเปลี่ยนสัญลักษณที่ใชในการนําเสนอแผนที่

ƒ Buble-click เพื่อเปด Legend Editor

Legend editor เปนสวนที่ชวยใหผูใชสามารถปรับแตงแผนที่ใหสวยงามและสามารถสื่อถึงขอมูลที่สําคัญ ให ผู ดู เ ข า ใจได ง า ย ผู ใ ช ส ามารถเลื อ กสั ญ ลั ก ษณ ไ ด ห ลากหลายประเภท สามารถจั ด กลุ ม การแสดงผลให ข อ มู ล เปลี่ยนแปลงแกไขคําอธิบายสัญลักษณ และสามารถเปลี่ยนแปลงสัญลักษณแสดง feature ตางๆ นอกจากนี้ผูใชยัง สามารถตรวจดูการเปลี่ยนแปลงใน Legend editor กอนที่จะสั่งใหมีผลจริงตอการแสดงผลใน view ผูใชสามารถเขาใชงาน Legend editor ไดจากหลายทาง โดยขั้นแรกใหเลือกกอนวาจะใช Legend editor กับ theme ไหนโดยคลิกเลือก theme นั้นใหแอคทีฟ แลวใหตามขั้นตอนดังตอไปนี้ ‰

เลือกเมนู Theme -> Edit Legend หรือ

‰

คลิกปุม Edit Legend บน tool bar หรือ

‰

ดับเบิ้ลคลิกบนสัญลักษณของ theme นั้นในสวนของ Table of Contents

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

24 การเลือกประเภทสัญลักษณ

ArcView มีรูปแบบของการใชสัญลักษณอยู 6 ประเภทใหเลือกไดแก Single symbol เปนคาเดิม (default) ที่ตั้งไวของประเภทสัญลักษณ สัญลักษณ ประเภทนี้จะแสดงผลใหทุกๆ ขอมูลใน theme มีสัญลักษณเดียวกัน สัญลักษณประเภทนี้มีประโยชนในกรณีที่ตองการทราบวา theme ตางๆ อยูสวนไหนของแผนที่มากกวาที่จะสนใจในรายละเอียดอื่นๆ Unique value สัญลักษณประเภทนี้ใชสําหรับแสดงขอมูลเชิงบรรยายในสัญลักษณ ดวย สามารถที่แสดงผลขอมูลตางๆ ดวยสัญลักษณตางกัน เปน ชนิดของสัญลักษณที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการแสดงผลขอมูลที่ เปนชุด เชน ขอบเขตการปกครอง ขอบเขตการคา เปนตน Graduated color สัญลักษณประเภทนี้เหมาะสําหรับแสดงผลของสีแบบชวงชั้น เหมาะที่จะใชในการแสดงผลขอมูลที่เปนตัวเลข ชนิด progression หรือ ของมูลที่เปนชวงชั้น (range) เชน อุณหภูมิ ขอมูลประชากร หรือขอมูลการซื้อขายรายป Graduated symbol สัญลักษณประเภทนี้ใชแสดงผลแตละขอมูลดวยสัญลักษณเดียว โดยจัดขนาดเปนแบบชวงชั้นใหเพื่อแสดงขอมูลประเภท progression สัญลักษณประเภทนี้มีประโยชนสําหรับขอมูลแสดง ขนาดหรือจํานวน ซึ่งจะใชสัญลักษณประเภทนี้ไดกับขอมูลที่เปน เสนและจุดเทานั้น Dot density ผูใชสามารถแสดงขอมูลที่เปนวงรอบปดโดยใชจุด (dot) แสดง ขอมูลเชิงบรรยาย วิธีนี้เหมาะที่จะแสดงผลประชากร การทํา การเกษตร ปริมาณน้ํามันดิบที่กระจายอยูในพื้นที่ ยกตัวอยางเชน แผนที่ที่ใช dot density แสดงความหนาแนนของประชากรวามี ประชากรกระจายตัวอยูบริเวณใดบาง เชนติดทางน้ํา หรือใกลถนน เปนตน Chart symbol ผูใชสามารถแสดงผลขอมูลเชิงบรรยายไดอยางหลากหลายโดยใช รูปแบบของกราฟวงกลมหรือกราฟแทง โดยที่แตละสวนของกราฟ วงกลมหรือกราฟแทงนั้นจะสัมพันธกับขอมูลเชิงบรรยายที่ผูใชได กําหนด และขนาดของกราฟแตละสวนของจะขึ้นอยูกับคาตัวเลข บอกขนาดในขอมูลเชิงบรรยาย สัญลักษณประเภทนี้มีประโยชน สําหรับการเปรียบเทียบขอมูล ยกตัวอยางเชน การเพิ่มของ ประชากร หรือจํานวนประชากรของสัตวแตละชนิดที่พบในปาสงวน เปนตน

ชยกฤต มาลําพอง

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

25

ƒ Single Symbol

ƒ Unique Value

ƒ Graduated Color

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

26

ƒ Dot Density

ƒ Chart Symbol

วิธีจัดชวงชั้นขอมูล เมื่อใชสัญลักษณประเภท Graduated symbol หรือ Graduated color ผูใชสามารถที่จะแบงกลุมของ ขอมูลเองได ขอมูลที่ตางกันจะนําไปสูการแบงกลุมขอมูลที่ตางกันดวย จากคามาตรฐานเริ่มตนของโปรแกรม ArcView จะใชการแบงกลุมขอมูลชนิด Natural breaks ที่แบง ขอมูลออกเปน 5 กลุม ผูใชสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงแกไขการจัดกลุมดังกลาวได ไมวาจะเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดกลุม หรือเปลี่ยนจํานวนกลุม โดยใชปุม Classify บน Legend Editor การเปลี่ยนชวงชั้นของขอมูลโดยการใช Classification dialog box สามารถทําไดโดยการคลิกที่ปุม Classify ผูใชสามารถเลือกวิธีการจัดกลุมไดตามตองการ ไดแก จํานวนกลุมที่ตองการจัดแบง และวิธีการปดเศษ ทศนิยม กอนที่ผูใชจะเลือกวิธีการจัดกลุม ผูใชตองกําหนดวาจะใชขอมูลเชิงบรรยาย (attribute) ชุดไหนในการจัดกลุม โดยที่ โปรแกรม ArcView ไมจํากัดจํานวนกลุม (class) ที่ตองการจัด วิธีการกําหนดจุดแบงของคาตางๆ เพื่อสรางกลุมของขอมูลขึ้นมาในโปรแกรม ArcView มีวิธีการอยู หลายแบบ ไดแก

ชยกฤต มาลําพอง

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

27

Natural breaks

Quartile

Equal interval Equal area

การจัดกลุมประเภทนี้จะทําการกําหนดชวงของขอมูลตามกลุมของ ขอมูลเชนขอมูลที่มีคาใกลเคียงกันและมีความถี่มากก็จะอยูในชวง ของขอมูลเดียวกันเปนตน การจัดกลุมขอมูลแบบ quartile นั้น ในแตละกลุมขอมูลจะมีจํานวน ขอมูลเทากัน การจัดกลุมโดยวิธี quartile นี้ เปนการจัดกลุมที่ดู เหมือนจะเขาใจไดงายที่สุด แตก็ทําใหเกิดการเขาใจผิดเมื่อ พิจารณาขอมูลได เชน จํานวนประชากรอาจจะไมเหมาะสมที่จะใช การจัดกลุมโดยวิธีนี้ เพราะเมืองที่มีประชากรนอยอาจตกอยูในกลุม (class) เดียวกับเมืองที่มีประชากรมากก็ได ตัวอยางแผนที่ประเทศสหรัฐอเมริกา แผนที่ดังกลาวมี 48 รัฐถูก จัดเปน 6 กลุม รัฐมิชิแกนมีซึ่งมีประชากรประมาณ 6 ลานคน ตก อยูในกลุมเดียวกับรัฐแคลิฟลอเนีย ซึ่งมีประชากรโดยประมาณถึง 30 ลานคน ผูใชสามารถหลีกเลี่ยงความผิดพลาดนี้ไดโดยการเพิ่ม จํานวนกลุม เชนควรจัดเปน 8 กลุม ไมใช 6 กลุม วิธีการจัดกลุมแบบ Equal interval นี้จะแบงชวงของขอมูลออกเปน ออกเทาๆ กันในแตละกลุม วิธีการจัดกลุมขอมูลแบบ equal area ใชจัดกลุมขอมูลโดยพิจารณา ผลรวมของพื้นที่ในแตละคลาสที่ใกลเคียงกันที่สุด โปรแกรม ArcView จะพิจารณาวาขอมูลทั้งหมดที่มีที่ใชไดมีพื้นที่โดยรวมอยู เทาใด แลวจึงหารดวยจํานวนกลุม ก็จะไดพื้นที่ของแตละกลุมเทาๆ กัน ซึ่งวิธีนี้จะคลายกับวิธี quantile ถาพื้นที่ของแตละ ขอมูล ใกลเคียงกัน ซึ่งวิธี equal area นี้จะดูแตกตางจากวิธี quantile ก็ ตอเมื่อพื้นที่ของขอมูลแตละตัวแตกตางกันมากๆ

การทํา Normalizing ขอมูล การทํา Normalize มีสามารถทําได 2 วิธี คือ ‰

‰

By percent of total วิธีการนี้แทนที่จะนับคาตามปกติของขอมูล (ประชากร, การซื้อขาย) ผูใช สามารถทําการ normalize ขอมูลเหลานี้โดยหารดวยผลรวมของคาทั้งหมด จะไดผลลัพธเปนคา เปอรเซ็นต (percent of total) By the value of another attribute วิธีที่สองของการทํา normalize คือการหารขอมูลที่ใชใน การจัดกลุมดวย ขอมูลอื่น เชนการหาคาความหนาแนนของประชากรตอหนวยพื้นที่ โดยการ หารขอมูลจํานวนประชากรดวยขอมูลมูลพื้นที่ เปนตน

ในบางกรณีขอมูลอาจจะถูกทํา Normalize ไปแลว ดังนั้นผูใชไมควรที่จะNormalize ซ้ําอีกครั้ง ตัวอยางเชน ขอมูลที่มองเห็นเปนคาเปอรเซ็นตแลว (อัตราการหยาราง = .34) หรือคาความหนาแนน (จํานวนประชากร ตอหนวยตารางกิโลเมตร = 320) ถาเห็นขอมูลเชนนี้หมายถึงขอมูลดังกลาวไดทําการ normalize เปนที่เรียบรอยแลว

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

28 การจัดการชั้นขอมูล

ArcView จะยอมใหมีการเปลี่ยนแปลงแกไขการจัดกลุมขอมูล โดยการจัดการในสวนของ Legend Editor Dialog Box โดยสามารถเพิ่มหรือลดจํานวนกลุมขอมูลไดตามตองการ และยังสามารถจัดลําดับของกลุมใหม ตัวอยางเชน เมื่อตองการยายกลุมที่ไมมีขอมูลซึ่งอยูดานลางสุดของทุกกลุมมาไวขางบนสุดเปนตน นอกจากนั้นผูใชสามารถที่จะทําการกําหนดคาชวงของกลุมขึ้นเองได ดวยการแกไข คาที่ตองการใหจัด กลุม (Values) และผูใชสามารถเปลี่ยนคําอธิบายสัญลักษณที่จะปรากฏใน Table of Contents เพียงคลิกไปบน value หรือ label ที่ตองการจะเปลี่ยนแปลงแกไขใน legend editor หลังจากลบหรือพิมพขอมูลเพิ่มเติมเรียบรอยแลวกด เมื่อเปลี่ยนแปลงจนเปนที่พอใจแลวใหคลิกบนปุม Apply เพื่อ redraw คาหรือลาเบลใหมใน View

ƒ แกไขคาของขอมูล

ƒ เพิ่มชั้นขอมูล

ƒ แกไขคําอธิบายของขอมูล

ƒ ลดชั้นขอมูล

การแกไขสวนประกอบตางๆ ของสัญลักษณ ผูใชสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขสัญลักษณตางๆ เพื่อเปลี่ยนแปลงการแสดงผลของแผนที่ไดดังนี้

ƒ การเรียงขอมูล ƒ Ramp Colors

ชยกฤต มาลําพอง

ƒ Flip Symbol ƒ Undo change

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

Sorting values and labels

Flipping symbols

Ramping colors

Using Undo

29 ผูใชสามารถจัดเรียงชุดขอมูลตามคาของขอมูล (value) หรือจาก คําอธิบายขอมูล (label) ใน legend editor โดยใชปุม Sort Ascending (จัดเรียงจากนอยไปมาก) หรือปุม Sort Descending (จัดเรียงจากมากไปนอย) เชนเดียวกันผูใชสามารถที่จะจัดเรียงโดย ใชฟลด Count ที่ปรากฏเมื่อเลือกใชการใหสัญลักษณดวยวิธี unique value ไดดวย โดยที่การจัดเรียงในฟลด value และ count จะเรียงแบบคาตัวเลข สวนการเรียงในฟลด label จะจัดเรียงแบบ ตัวอักษร ผูใชสามารถที่จะกลับ (reverse) สัญลักษณไดดวยการคลิกที่ปุม Flip Symbol ใน Legend Editor ตัวอยางเชน ถาคลาสทั้งหมดถูก ใหสัญลักษณสีไล shade จาก แดงไปขาว เมื่อคลิกที่ปุม Flip Symbol จะทําใหเปลี่ยนสีไลโทนใหมจากขาวไปแดงแทน การกลับ แบบนี้จะไมเปลี่ยนลําดับการแสดงผลของคาของขอมูล (value) หรือคาอธิบายขอมูล (labels) แตอยางใด ปุม Ramp Colors ใหคุณสามารถสรางการไลโทนสี (Ramp) ใน คลาสที่จัดกลุมไวทั้งหมด โดยการเลือกสีสองสีที่ตองการจะไลโทน สีดังกลาวจะเลือกจากภายในสัญลักษณที่ปรากฏอยูกอนแลวหรือจะ กําหนดขึ้นใหมหรือจะเลือกจากชุดของ Color Ramp ที่มีอยูแลวก็ ได ปุมยกเลิกการกระทําครั้งลาสุด (Undo button) ทําใหผูใชสามารถที่ จะยกเลิกการทํางานกอนหนานี้ ซึ่งสามารถ undo ไดมากที่สุด 5 ครั้ง

การทํางานกับ Null values

ƒ การกําหนดคา Null values

Null value คือคาที่ผูใชไมตองการนํามาจัดกลุมดวย ซึ่งมีอยู 2 ประเภทไดแกในรูปแบบที่เปน Database file เชน dBase และอีกประเภทหนึ่งคือขอมูลที่นําเขาโดยการปอนคาเขาไป ArcView จะกรองเอาขอมูลที่เปน null value ออกเองโดยอัตโนมัติใหสัมพันธกับรูปแบบของ database ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

30

คาของ Null values เปนขอมูลที่มีการนําเขาแตเปนขอมูลที่ไมสามารถระบุคา หรือขอมูลที่ใชไมได หรือ เปนขอมูลที่ไมเหมาะสมกับ feature เหลานั้นก็ได ถาขอมูลในแตละฟลดประกอบไปดวย null value ผูใชจะตองระบุกับ ArcView ดวยเพื่อที่โปรแกรมจะไดไมรวมขอมูลดังกลาวเขาไปในการจัดคลาส สวนใหญแลวขอมูล Null value ที่เปนตัวเลขจะเห็นไดอยางชัดเจน เชน –9999 หรือตัวเลข 0 บางครั้งก็ เปน Null value ไดเชนกัน สวน Null value ที่เปนตัวอักขระ อาจจะเปนฟลดวางหรือมีขอความ “none” เปนตน การเปลี่ยนสัญลักษณโดยใช Symbol Window ƒ Fill Palette

ƒ Pen Palette

ƒ Marker Palette

ƒ Font Palette

ƒ Color Palette

ƒ Palette Manager

การเปลี่ยนสัญลักษณโดยใช Symbol Windows เปนการใช Palette ตางๆ (โดยรวมเรียกวาหนาตาง สัญลักษณ หรือ Symbol Window) ผูใชสามารถเปลี่ยนสัญลักษณที่เคยแสดงในแตละ theme ได ซึ่ง Palette เปน หนาตางที่รวบรวมเอาสัญลักษณมากมายไวดวยกันทั้งจากไฟลที่ผูใชสามารถเรียกมาใชไดเลยหรือจากไฟลที่ผูใชสราง ขึ้นเอง ซึ่งมีทั้ง palette สําหรับเปลี่ยนสี ใสสีหรือใสลวดลายใหวงรอบปดเปลี่ยนลักษณะเสน เปลี่ยนสัญลักษณของจุด และ palette สําหรับเปลี่ยนรูปแบบตัวหนังสือ ผูใชสามารถที่จะใสสีใหมเขาไปในวงรอบปดที่ตองการ เปลี่ยนขนาดหรือ ความหนาของเสน เปลี่ยนรูปราง เปลี่ยนขนาดและเปลี่ยนสีของสัญลักษณที่เปนจุด และเปลี่ยนรูปแบบตัวหนังสือที่ ตองการจาก Palette ตางๆ เหลานั้น เชนเดียวกันผูใชสามารถที่จะเปลี่ยนตัวหนังสือที่ตองการจากฟอนตเดิมใหเปน marker symbol ไดดวย Palette Manager จะใชเพื่อ Load, Save, Clear หรือสราง Default Palette หรือ Reload System Palette โปรแกรม ArcView มี Palette เพิ่มเติมมาใหสําหรับบางงานที่ตองการสัญลักษณเฉพาะทาง ซึ่งสัญลักษณตางๆ นั้นจะจัดเก็บอยูในโฟลเดอร Symbols สําหรับรายชื่อของไฟลเหลานี้สามารถดูไดจาก Help เรื่อง ArcView Palette Files หรือในกรณีที่ผูใชสามารถมีสัญลักษณที่ออกแบบไวใชงานเองก็สามารถใช Palette Manager นําเขา (Import) สู โปรแกรม ArcView เพื่อใชงานได ซึ่งรูปแบบของไฟลที่สามารถนําเขามีอยูหลายรูปแบบ ไดแก GIFF, MacPaint, Windows Bitmap, SunRaster file, TIFF และ Xbitmap การกําหนด Scale ใหสัญลักษณ ในการทํางานบางอยางมีความจําเปนที่เครื่องหมายหรือเสนสัญลักษณจะตองขยายใหญขึ้นเมื่อทําการ ขยายภาพเขาไปดูใกลๆ (Zoom in) โปรแกรม ArcView สามารถใหผูใชกําหนดมาตราสวนของสัญลักษณไดเมื่อมีการ เปลี่ยนมาตราสวนของการแสดงผลบน View คามาตรฐานเริ่มตนของสัญลักษณไมไดถูกกําหนดมาตราสวน ซึ่งหมายความวาขนาดของสัญลักษณจะ เหมาะสมกับ View ที่แสดงผลอยู ผูใชสามารถกําหนดใหสัญลักษณเหลานั้นมีมาตราสวนหรือไมมีใน Advanced Option Dialog Box โดยคลิกที่ปุม Advanced Button ใน Legend Editor ผูใชสามารถที่จะกําหนดมาตราสวนของสัญลักษณได

ชยกฤต มาลําพอง

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

31

โดยอางอิงจากมาตราสวนของแผนที่ที่แสดงใน View โดยคาที่ตั้งไวจะเปนมาตราสวนเทากับ View ซึ่งเมื่อมีการขยาย มาตราสวนของแผนที่สัญลักษณเหลานี้ก็จะขยายตาม นอกจากการกําหนดมาตราสวนของสัญลักษณแลว โปรแกรม ArcView ยังสามารถกําหนดการหมุน (Rotate) สัญลักษณที่เปน Marker โดยการระบุมุมของสัญลักษณ Marker ใน Marker Palette ผานทาง Advanced Option Dialog Box (จาก Legend Editor) เพื่อกําหนดมุมโดยเติมคาตัวเลขลงไป นอกจากนั้น ArcView ยังสามารถใช การหมุน Marker Symbol แบบอัตโนมัติไดดวย การตั้งคา Offset ซึ่งเปนคาของระยะที่กําหนดจากพิกัดเดิมที่สัญลักษณนั้นๆ อยู ออกไปไดตามตองการ โดยใช Advanced Option Dialog Box เพื่อปอนคา Offset ที่ตองการจะ มีหนวยเปน point (1 point = 1/72 นิ้ว) การ Save และ Load Legend โปรแกรม ArcView สามารถบันทึกสัญลักษณ ที่เคยกําหนดไวและเรียกมาใชไดภายหลัง เมื่อผูใชเรียก สัญลักษณที่เคยทําการบันทึกไวขึ้นมาใชอีกครั้ง ซึ่งการเรียกใชสัญลักษณนี้ โปรแกรม ArcView จะใหเลือกรูปแบบ ตางๆ ตามที่ไดตั้งไว ไดแก การจัดแบงกลุมขอมูล (Classification) และรูปแบบของสัญลักษณ เพื่อนํามาใชกับขอมูลที่ ตองการ

การกําหนดการแสดงผล Theme ดวย Theme Properties ƒ การแสดงภาพเฉพาะบริ เ วณที่ อ ยู ใ น เงื่อนไขที่กําหนด ƒ แสดงคําอธิบาย (Label) ใน Theme ƒ กําหนด Scale ในการแสดง Theme ƒ สราง Link ระหวาง Theme กับขอมูล ประเภทตางๆ ที่กําหนด ƒ กําหนด Password ปองกันไมใหคนอื่นมา แกไข Theme Properties ที่กําหนดไว

Theme Properties เปนสวนที่ใชควบคุมการแสดงผลของ Theme ซึ่งจะควบคุมการแสดงผล สวนประกอบของแตละ Theme การกําหนดคําอธิบายใหขอมูลดวยคาจากขอมูลเชิงบรรยาย การปรับมาตราสวนของ การแสดงผล และการสราง Hot Link เพื่อใหผูใชงานคลิกไปบนขอมูลเพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติมตามที่ตองการ นอกจากนั้นยังสามารถกําหนดผูที่จะสามารถแกไข Theme Properties โดยการกําหนดรหัสผานได

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

32 การเลือกขอมูลที่ตองการแสดงผล ƒ Theme ตําแหนงเมือง

ƒ Subset of Theme features เลือกแสดงเฉพาะเมืองที่มี จํานวน Households มากกวา 50,000

ƒ การสร า งเงื่ อ นไข เพื่ อ ระบุ ข อ มู ล ที่ ตองการแสดงผล

การแสดงผล Theme ใน View นั้น โปรแกรม ArcView จะนําขอมูลทุกตัวที่อยูใน Theme มาทําการ แสดงผล อยางไรก็ตามผูใชสามารถที่จะเลือกการแสดงผลเฉพาะขอมูลที่ตองการไดโดยการใช Query Builder (ใน Theme Properties Dialog Box) เพื่อแสดงขอมูลเฉพาะสวนที่ตองการที่อยูใน Theme ยกตัวอยางเชน ผูใชสามารถ แสดงผลเฉพาะทางหลวงสายหลักจาก Theme ที่รวมเอาทางหลวงทุกอยางไวดวยกัน และในกรณีที่ผูใชตองการเก็บเอา Theme ที่ใชแสดงผลเฉพาะขอมูลที่ตองการไว สามารถทําไดโดยการคัดลอกจาก Theme ตนฉบับ แลวเปลี่ยนชื่อ Theme ที่คัดลอกมาไวเพื่อบงบอกวา Theme นี้แสดงผลอะไร การสรางเงื่อนไขเพื่อใชในการเลือกขอมูลที่ตองการนั้น จะใชสวนของ Query โดยการกําหนดเงื่อนไขวา จะเลือกฟลดใด เครื่องหมายที่ใช (Operator) ในการเปรียบเทียบ และคา (Value) อะไร ผูใชสามารถที่จะรวมเอาเงื่อนไข หลายเงื่ อ นไขเข า ด ว ยกั น เพื่ อ เลื อ กดู ข อ มู ล ที่ ต อ งการมากกว า หนึ่ ง ฟ ล ด หรื อ มากกว า หนึ่ ง กลุ ม ตามค า ที่ ต อ งการ ยกตัวอยางเชนผูใชมี Theme ขอมูลของผูบริโภคซึ่งประกอบไปดวย ขอมูลสํามะโนประชากรตางๆ และผูใชตองการ เรียกดูเฉพาะคาที่เกี่ยวกับราคาที่อยูอาศัย และรายไดตอครอบครัวที่ตองการ ผูใชสามารถตั้งเงื่อนไขไดดังนี้ (assessment > 150,000) and (income > 60,000) ในการใหเงื่อนไขหลายเงื่อนไขพรอมๆ กันนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองบอกใหชัดเจนไมเชนนั้นโปรแกรม อาจทํางานผิดพลาดได ควรจะมีการใชวงเล็บเปดและปดกลุมเงื่อนไขตางๆ ใหเปนกลุม หากไมมีวงเล็บโปรแกรมจะทํา การหาคาจากซายไปขวาเปนหลัก

ชยกฤต มาลําพอง

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

33

การกําหนดคาการแสดงผลตามมาตราสวน ƒ กําหนด Scale ที่ตองการใหแสดงหรือซอน Theme Scale denominator threshold = 10,000,000

ƒ Scale denominator = 9,000,000

ƒ Scale denominator = 15,000,000

เปนการควบคุมให Theme ใดๆ แสดงผลโดยการกําหนดขอบเขตของมาตราสวนที่จะแสดงผล เพื่อให การแสดงผลของแผนที่ชัดเจนและดูงาย การตั้งคา Scale Threshold นั้นจะใชสวนของ Theme Display Property เพื่อ กําหนดคาชวงของมาตราสวนที่เหมาะสมในการแสดงผล ยกตัวอยางเชน ในขณะที่แสดงผลที่ตั้งของตัวเมือง อาจจะไม สามารถแสดงผลของถนนของเมืองนั้นได แตเมื่อขยายภาพเขาไปในมีมาตราสวนที่ใหญขึ้น จะสามารถมองเห็นถนน ของเมืองนั้นได เปนตน ในบางครั้งเมื่อ Theme บาง Theme มีมาตราสวนที่ไมเหมาะสมก็จะทําใหไมสามารถที่จะแสดง ผลได ถึงแมวา Theme นั้นจะถูกสั่งใหแสดงผลก็ตาม การกําหนดคําอธิบายใหกับขอมูลใน Theme ผูใชสามารถเพิ่มตัวอักษรที่เปนคําอธิบายตางๆ เขาไปใน View ได เพื่อใชอธิบายขอมูลตางๆ ที่อยูใน Theme ซึ่งตัวหนังสือเหลานั้นอาจไดมาโดยการพิมพขึ้นเองใน View หรือใชขอมูลที่มาจากตารางอธิบาย Theme นั้นๆ หรือจะเปน Theme ของตัวหนังสือที่เกิดจากโปรแกรม Arc/Info หรือโปรแกรม AutoCAD ก็ได ตัวหนังสือแตละตัวถือวาเปนวัตถุหนึ่งชิ้น (Graphic Elements) ซึ่งสามารถที่จะกําหนดตําแหนงที่จะให ตัวอักษรอยูหรือจะเปลี่ยนแปลงขนาดโดยขึ้นอยูกับ View ได ตัวหนังสือเหลานี้สามารถที่จะยึดติดกับ Theme นั้นๆ ได หมายความวาเมื่อสั่งให Theme นั้นแสดงผล ตัวหนังสือก็จะปรากฏดวย ซึ่งกระบวนการดังกลาวสามารถทําไดโดยเลือก ที่ Attach Graphics จากเมนู Graphic ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

34 การกําหนดคําอธิบายใหกับขอมูลใน Theme สามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 การใชปุมคําสั่ง Label ‰

เลือก Theme ที่ตองการใสคําอธิบายใหแอคทีฟ

‰

เลือกเมนู Theme -> Properties…

‰

เลือกไอคอน Text Labels ใน Theme Properties Dialog Box

‰

‰

กําหนดฟลดที่ตองการใหนํามาแสดงคําอธิบาย และตําแหนงการวางคําอธิบาย จากนั้นจึงคลิก ปุม OK คลิกปุมคําสั่ง Label แลวคลิกบริเวณขอมูลใน View ที่ตองการแสดงคําอธิบายขอมูล ƒ กําหนด Field ที่ตองการใหเปนคําอธิบาย

วิธีที่ 2 การใช Auto-label ‰

เลือก Theme ที่ตองการใสคําอธิบายใหแอคทีฟ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Theme -> Auto-label…

กําหนดคาตางๆ ตามตองการใน Auto-label Dialog Box โดยมีรายละเอียดดังนี้ Placing Text เปนการจัดรูปแบบของการวางตัวอักษรคําอธิบาย ซึ่งจะมี 2 ตัวเลือก ตัวเลือกแรก (Use Theme’s Text Label Placement Property) เปนการกําหนดใหมีการจัดวางตัวอักษรตามคาที่ถูกตั้ง ไวในสวนของ Text Labels Theme Property สวนในตัวเลือกถัด มา (Find Best Label Placement) เปนการกําหนดใหโปรแกรม ArcView หาตําแหนงที่เหมาะสมในการวางตัวอักษรใหเองโดย อัตโนมัติ ‰

ชยกฤต มาลําพอง

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

35

Overlapping and Duplicate Label เปนการกําหนดการแสดงผลของคําอธิบายในกรณีที่คําอธิบายที่จะ แสดงมีการซอนทับกัน หรือมีการซ้ําซอนการของขอมูล ƒ หาตําแหนงในการวาตัวอักษรที่เหมาะสม ƒ จัดการ Overlap and Duplicate ของตัวอักษร ƒ จัดวางคําอธิบายเฉพาะ View ที่กําลังทํางานอยู

คําอธิบายตางๆ ที่แสดงผลอยูใน View นั้น โปรแกรม ArcView จะกําหนดใหคําอธิบายตางๆ ที่ปรากฏ ขยายใหญขึ้นเมื่อทําการ Zoom In และเล็กลง เมื่อทําการ Zoom Out การสราง Hot link การสราง hot link เพื่อใหผูใชสามารถคลิกไปบน ArcView ที่ตองการ เพื่อดูขอมูลเพิ่มเติมที่ถูกเชื่อมตอ ไวแลวกับขอมูลนั้น ขอมูลดังกลาวสามารถเปนไดทั้งแฟมขอมูลตัวอักษร (text file) หรือเปนดอกคิวเมนตตางๆ ใน ArcView (view, table , chart , layout) หรือโปรเจคอื่นๆ ของ ArcView นอกจากการแสดงผลแลว hot link ยังสามารถ ที่จะเรียกใช Avenue สคริปต ซึ่งอาจจะเรียกใชฟงกชั่นไดหลากหลายในสคริปตนั้นก็ได ยกตัวอยางเชนมีจุดแสดงตําแหนงวัดตางๆ อยู เมื่อคลิกไปบนจุดนั้นๆ อาจจะมีการแสดงภาพวัดขึ้นมา หรือมีคําอธิบายประวัติวัดซึ่งเปนไฟลอื่นๆ ก็ได หรืออาจจะมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวสั้นๆ เพื่อใหนาสนใจขึ้น ผูใชสามารถที่จะสราง hot link ไดจากไดอะลอกบอกของ Theme Properties โดยเลือกที่สวนของ Hot link จากนั้นจึงกําหนดฟลดที่ตองการเชื่อมตอ (field) และกําหนดรูปแบบการเชื่อมตอ (predefined action) หรือสคริตที่ ตองการสั่งใหทํางาน (script) โดยมีรายละเอียดดังนี้ Field ตารางของแตละ theme จะตองมีฟลดที่เก็บขอมูลของ hot link ซึ่ง อาจจะเปนการระบุตําแหนงของไฟลอักษรหรือไฟลภาพ หรือโปร เจคของ ArcView หรือดอกคิวเมนตอื่นๆ ในโปรเจคปจจุบันก็ได Predefined action เปนการกําหนดรูปแบบการเชื่อมโยง Script เปนการเชื่อมโยงหาสคริปต ในกรณีที่มีสคริปตที่สรางจาก Avenue อยู

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

36 รูปแบบของไฟลภาพที่สามารถแสดงผลโดยใช hot link ไดไดแก ‰

X-Bitmap

‰

XWD

‰

MacPaint

‰

GIF

‰

Microsoft DIB

‰

TIFF และ TIFF/LZW

‰

Sun raster files

ƒ Hotlink Icon ƒ สรางฟลดและกําหนดคาในฟลดเพื่อระบุ Hotlink ƒ กําหนดรูปแบบการทํา Hotlink ใน Theme Properties ƒ ใชปุมคําสัง่ Hotlink เพื่อทํางานใน View

ชยกฤต มาลําพอง

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

37

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย การใชงานตารางขอมูลเชิงบรรยาย ตารางขอมูลเชิงบรรยายในโปรแกรม ArcView เปนการแสดงรายละเอียดตางๆ ของขอมูลเชิงพื้นที่ใน รูปแบบของตาราง ซึ่งตารางที่ใชแสดงขอมูลดังกลาวอาจจะมาจากแหลงที่มาตางกัน หรืออาจจะเกิดขึ้นจากโปรแกรม ArcView เองก็ได ซึ่งผูใชสามารถที่จะทําการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตารางเหลานั้นไดโดยการใชเครื่องมือของโปรแกรม ArcView เอง ตารางสองตารางสามารถที่จะนํามาตอเชื่อม (joined) หรือทําการเชื่อมโยง (link) เขาดวยกันไดโดยที่ผูใช สามารถเรียกดูรายละเอียดขอมูลที่เพิ่มเติมจากการเชื่อมตอเหลานั้นไดจากการแสดงผลของแผนที่ ที่มาของขอมูลในตารางของโปรแกรม ArcView อาจจะเปนขอมูลจากโปรแกรม dBASE หรือตาราง info ของโปรแกรม Arc/Info หรืออาจจะเปนไฟลตัวอักษรธรรมดา หรือขอมูลที่เรียกใชจากฐานขอมูล SQL ซึ่งผูใชสามารถที่ จะเอาขอมูลจากแหลงตางๆ และหลายรูปแบบเพื่อสรางเปนตารางขอมูลเชิงบรรยายในโปรแกรม ArcView การสรางตารางขอมูลเชิงบรรยายจากขอมูลที่มีอยู รูปแบบขอมูลที่โปแกรม ArcView สนับสนุนและสามารถนํามาใชไดทันทีไดแก ขอมูลจากโปรแกรม dBASEIII, dBASEIV, INFO หรือไฟลตัวอักษรที่คั่นขอมูลที่ตองการใหปรากฏในแตละฟลดดวยเครื่องหมายคอมมา (,) หรือแทบ (tab) ซึ่งการเพิ่มตารางเหลานี้เขาไปสามารถทําไดดังนี้ ‰

‰

คลิกไอคอน Tables จากหนาตางโปรเจค จากนั้นจึงคลิกปุม Add หรือเลือกคําสั่งจากเมนู Project -> Add Table เลือกขอมูลจาก Add Table Dialog Box

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

38 การสรางตารางขอมูลเชิงบรรยาย

โปรแกรม ArcView สามารถสรางตารางขอมู ลเชิงบรรยายใหมขึ้นมาเพื่อใชงาน โดยการสรา ง ตารางขอมูลเชิงบรรยายขึ้นมาใหมนั้นจะผูใชตองเริ่มตั้งแตการสรางไฟลขอมูล การเพิ่มฟลดเพื่อใชในการจัดเก็บขอมูล และการเพิ่มเรคอรดขอมูล รวมถึงการจัดการขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายใหม โดยมีรายละเอียดดังจะไดกลาว ตอไปนี้ การสรางไฟลตารางขอมูลเชิงบรรยาย สามารถทําไดดังนี้ ‰

คลิกไอคอน Table ในหนาตางโปรเจค

‰

คลิกปุม New

‰

‰

เลือกโฟลเดอรที่ตองการใชจัดเก็บไฟลใหมที่เกิดขึ้น แลวกําหนดชื่อของตารางขอมูลเชิงบรรยาย ที่จะเกิดขึ้นใหม คลิกปุม OK

ƒ สรางตารางขอมูลเชิงบรรยายใหม ƒ กําหนดโฟลเดอรในการจัดเก็บ

ArcView จะสรางตารางใหโดยที่ยังไมมีฟลด (field) หรือเรคคอรด (record) ใดๆ เกิดขึ้น โดยตารางที่ถูก สรางขึ้นมาใหมนี้จะเปนตารางในรูปแบบของโปรแกรม dBASE (เชน trade.dbf) หลังจากที่สรางตารางขึ้นมาใหมแลว ผูใชก็สามารถที่จะเพิ่มฟลด หรือขอมูลที่ตองการลงไปไดตามตองการ

ชยกฤต มาลําพอง

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

39

การเพิ่มฟลดใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยาย หลังจากที่ผูใชสรางตารางใหมขึ้นมาแลว จะตองสรางฟลดใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยายเพื่อใชสําหรับ จัดเก็บขอมูล โดยมีขั้นตอนดังนี้ ‰

เลือกตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Edit -> Add Field…

‰

กําหนดคาตามตองการ

โดยการกําหนดคาผูใชตองกําหนดรายละเอียดของฟลดที่ตองการสราง ดังนี้ Name เปนการกําหนดชื่อของฟลด Type เปนการกําหนดคาที่ตองการใหฟลดนั้นๆ จัดเก็บ โดยจะแยกเปน Number เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนตัวเลข String เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนตัวอักษร Boolean เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนตรรกะ ซึ่งสามารถมีได 2 คา คือ จริง (True) หรือเท็จ (False) เทานั้น Date เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนวันที่ Width เปนการกําหนดความกวางของฟลดที่จะสามารถเก็บคาได การลบฟลดออกจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย เมื่อผูใชไมตองการที่จะใชฟลดใดๆ สามารถที่จะลบฟลดที่ไมตองการทิ้งไปได โดยมีขั้นตอนดันี้ ‰

เลือกฟลดที่ตองการ โดยการคลิกเลือกหัวฟลดในตารางขอมูลเชิงบรรยาย

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Edit -> Delete Field กอนที่จะทําการใดๆ กับตารางอันดับแรกตองทําใหตารางนั้นสามารถแกไข ไดกอนโดยเลือกคําสั่งจากเมนู Edit -> Start editing เมื่อตัวอักษรใน ตารางเปนตัวเอียงก็หมายความวาตารางดังกลาวสามารถที่จะทําการ เปลี่ยนแปลงแกไขได เมื่อตองการสิ้นสุดการแกไขขอมูลเลือกคําสั่งจากเมนู Theme -> Stop editing

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

40 การเพิ่มขอมูลใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยาย

หลังจากที่เพิ่มฟลดใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยาย ผูใชสามารถที่จะเพิ่มเรคคอรด (record) ขอมูลเขาไป ในตารางไดจากเมนู Edit -> Add Records โดยที่คาเริ่มตนในแตละเรคคอรดจะเปน 0 กรณีที่ถูกกําหนดใหเปนตัวเลข หรือวันที่ และจะถูกเริ่มตนเปนเรคคอรดเปลาในกรณีที่ถูกกําหนดใหเปนตัวอักษรหรือคาถูกผิด การลบขอมูลออกจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย ผูใชสามารถที่จะลบเรคคอรดที่ไมตองการทิ้ง โดยคลิกปุมเครื่องมือ Select จากนั้นคลิกเลือกเรคคอรดที่ ตองการลบ แลวเลือกคําสั่งจากเมนู Edit -> Delete Records ทุกเรคคอรดที่เลือกไวจะถูกลบทิ้ง การแกไขขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยาย ในกรณีที่ตองการเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายใหใชปุมเครื่องมือ Edit จากนั้นคลิก ไปบนเซลลที่ตองการแลวพิมพคาใหมลงไป การแกไขขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายโดยการคํานวณ ในบางกรณีแทนที่จะเพิ่มคาตางๆ เขาไปในแตละเรคคอรดโดยการพิมพคาเขาไป ผูใชสามารถที่จะทํา การคํานวณคาที่ตองการเขาไปในหลายเรคคอรดพรอมๆ กันได โดยใช Fields Calculator โดยมีขั้นตอนดังนี้ ‰

คลิกบนฟลดที่ตองการจะคํานวณเพื่อใหแอคทีฟ

‰

เลือกที่ปุม Calculate เพื่อ หรือเรียกใชคําสั่งจากเมนู Field -> Calculate…

‰

สรางเงื่อนไขในการคํานวณคาตางๆ ใหฟลดใน Field Calculator Dialog Box ตามตองการ

ƒ Calculate Icon

ชยกฤต มาลําพอง

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

41

การสืบคนขอมูล ในโปรแกรม ArcView ผูใชสามารถที่เลือกขอมูลในแตละเรคคอรดของตารางขอมูลเชิงบรรยายได โดย การกําหนดหรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของการเลือกขอมูลจากปุมเครื่องมือ Query Builder ซึ่งจะทําใหผูใชเลือกคนเอา เฉพาะขอมูลที่สนใจได

ƒ Query Builder Icon ƒ เลือก Query Builder เพื่อเลือกขอมูลที่ ตองการ ƒ กําหนดเงื่อนไขตามตองการ ƒ ขอมูลที่ถูกเลือกจะแสดงแถบสีเหลือง

การกําหนดเงื่อนไขที่ตองการสามารถที่จะใชเงื่อนไขเพียงเงื่อนไขเดียวหรือหลายๆ เงื่อนไขรวมกันไดใน ฟลดหนึ่งๆ นอกจากนั้นยังสามารถที่จะรวมเอาเงื่อนไขโดยการกําหนดจากหลายฟลดหรือจากกลุมขอมูลหลายๆ กลุม ได ยกตัวอยางเชน ถาสนใจที่จะดูขอมูลของลูกคาที่มีกิจการมูลคามากกวา 150,000 บาท และมีรายไดมากกวา 60,000 บาทตอเดือนก็สามารถกําหนดเงื่อนไขไดดังนี้ prop_value > 50000 and income > 60000 ในการกําหนดเงื่อนไขตางๆ การใชเครื่องหมายวงเล็บครอมกลุมเงื่อนไขที่ตองการไวเปนชุดๆ เปนเรื่อง สําคัญมาก อันจะทําใหเงื่อนไขที่ตั้งขึ้นไมเกิดขอผิดพลาด ในกรณีที่ไมมีการใชเครื่องหมายวงเล็บกํากับ ระบบจะคิด เงื่อนไขจากซายไปขวาเสมอ ซึ่งในบางกรณีอาจจะทําใหผลการสืบคนขอมูลมีความแตกตางกัน Prop_value > 200000 or income > 600000 and income < 100000 ไมเทากับ Prop_value > 200000 or (income > 600000 and income < 100000) ขอมูลที่ถูกเลือกอยูจะถูกทําแถบสีเหลืองทั้งในตารางขอมูลเชิงบรรยายและขอมูลใน view แตอยางไรก็ ตามโปรแกรม ArcView จะยอมใหผูใชสามารถเปลี่ยนไปเปนสีที่ตองการได จํานวนของเรคคอรดที่ถูกเลือกจะแสดงเปน ตัวเลขอยูที่ทูลบาร ผูใชสามารถที่จะใชปุม Promote เพื่อทําใหเรคคอรดที่ถูกเลือกทั้งหมดเลื่อนอยูบนสุดของตาราง

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

42 การแกไข/ปรับปรุงการสืบคนขอมูล

ผูใชสามารถเลือกขอมูลตามเงื่อนไขขึ้นมาใหมโดยใช Query Builder Dialog Box กําหนดเงื่อนไขใหม หรือกําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม จากนั้นใชปุมคําสั่งบน Query Builder Dialog Box เพื่อดําเนินการดังนี้ ‰

ปุม New Set ใชสําหรับกําหนดเงื่อนไขการเลือกขอมูลใหม

‰

ปุม Add to Set ใชสําหรับเพิ่มขอมูลเรคคอรดใหมใหกับชุดขอมูลที่ถูกเลือกไว

‰

ปุม Select From Set ใชสําหรับเลือกขอมูลจากชุดขอมูลที่ถูกเลือกไวโดยใช

นอกจากนั้นยังมีปุมคําสั่งที่เกี่ยวกับการเลือกอีก 3 ปุม ไดแก ‰

ปุม Select All ใชในกรณีที่ตองการเลือกขอมูลทั้งหมด

‰

ปุม Select None ใชสําหรับกรณีที่ตองการยกเลิกการเลือกที่มีอยูทั้งหมด

‰

ปุม Switch Selection ใชในกรณีที่ตองการสลับการเลือก

ƒ เลือกขอมูลใหม ƒ เพิม่ การเลือกจากที่เลือกไวเดิม ƒ เลือกขอมูลจากที่ถูกเลือกไวเดิม

ƒ Select All

ƒ Select None

ƒ Switch Selection

การคํานวณคาสถิติจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย โปรแกรม ArcView สามารถคํานวณและแสดงผลคาทางสถิติของฟลดในตารางขอมูลเชิงบรรยาย ถา มีเรคคอรดในตารางขอมูลเชิงบรรยายถูกเลือกไว ArcView จะแสดงผลคาทางสถิติที่คํานวณเฉพาะเรคคอรดที่ถูกเลือก แตถาไมมีเรคคอรดใดถูกเลือกไว ArcView จะแสดงผลการคํานวณจากทุกเรคคอรดในฟลดที่เลือกไว โดยคาทางสถิติที่ ArcView สามารถคํานวณได ไดแก

ชยกฤต มาลําพอง

‰

Sum

‰

Maximum

‰

Count

‰

Range

‰

Mean

‰

Variance

‰

Minimum

‰

Standard Deviation

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

43

ƒ Summarize

ƒ เลือกฟลดที่ตองการจัดกลุมการคํานวณ ƒ กําหนดรูปแบบการคํานวณตองการ ƒ ไดตารางแสดงผล

การคํานวณคาสถิติจากตารางขอมูลเชิงบรรยายสามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰

‰ ‰

เลือกฟลดที่ตองการจัดกลุมการคํานวณในตาราง โดยการคลิกที่ชื่อฟลดในตารางขอมูลเชิง บรรยาย คลิกปุมคําสั่ง Summarize หรือเลือกใชคําสั่งจากเมนู Field -> Summarize กําหนดคาใน Summary Table Definition Dialog Box โดยกําหนดโฟลเดอรและไฟลที่ตองการ เก็บผลลัพธจากการคํานวณ จากนั้นเลือกฟลดที่ตองการนํามาคํานวณ และเลือกฟงกชั่นที่ ตองการคํานวณ จากนั้นคลิกที่ปุม Add คาที่กําหนดจะปรากฏเปนฟลดหนึ่งที่แสดงผลลัพธใน ไฟลผลลัพธ ถาตองการฟลดผลลัพธเพิ่มใหกําหนดฟลดที่ตองการคํานวณ เลือกฟงกชั่นการ คํานวณ และคลิกปุม Add ไดตามตองการ ในกรณีที่ตองการลบฟลดผลลัพธที่กําหนดไว ใหเลือกฟลดที่ตองการ จากนั้นใชปุม Delete เพื่อ ลบฟลดผลลัพธออกไปจากรายการการคํานวณ

เมื่อผูใชทําการคํานวณสรุปผลตาราง ArcView จะสรางไฟลในรูปแบบของโปรแกรม dBASE ซึ่งเปนไฟล ผลลัพธที่เกิดจากการคํานวณขึ้นมา ซึ่งตารางดังกลาวสามารถที่จะทําการเชื่อมโยงเขากับตารางในแตละ theme เพื่อที่ ผูใชจะไดสามารถสืบคนขอมูลเพื่อแสดงผลคาตางๆ จากตารางสรุปผลการคํานวณได

การสรางความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยาย ในบางครั้งเมื่อตองการเขาถึงขอมูลจากหลายตารางพรอมๆ กัน ตัวอยางเชน ขอมูลการเปนเจาของที่อยู อาศั ย อาจจะต อ งการข อ มูล ภาษี ข องแต ล ะครั ว เรื อ น หรือ ข อ มูล อื่ น ๆ ที่ สัม พั น ธ กั น ดว ยจากตารางอื่ น ๆ โปรแกรม ArcView สามารถที่จะสรางความสัมพันธกันระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยายสองตารางไดเพื่อที่จะไดเรียกดูขอมูล เพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับขอมูลเชิงพื้นที่ตางๆ ใน theme นั้นๆ ได เมื่อเกิดตารางที่ไดสรางใหเกิดการสัมพันธกันแลว ผูใช สามารถใชที่จะเอาขอมูลเหลานั้นมาสรางเปนกราฟ วิเคราะหหรือแสดงผลขอมูลที่ตองการได ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

44

ตารางขอมูลเชิงบรรยายหลายๆ ตารางที่มีความสัมพันธกัน จะสามารถทําการตอเชื่อม (Join) หรือ เชื่อมโยง (Link) เขาหากันได ซึ่งจะใชวิธีการใดก็ขึ้นอยูกับความสัมพันธของขอมูลระหวางตารางเหลานั้น ซึ่ง ความสัมพันธของขอมูลระหวางตารางดังกลาวมีอยู 3 รูปแบบ คือ One-to-one เปน

ชยกฤต มาลําพอง

Many-to-one

เปน

One-to-many

เปน

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

45

การเชื่อมความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยายจะตองใชฟลดที่มีขอมูลที่ตรงกันจากตารางที่ ตางกันเปนตัวตอเชื่อม โดยฟลดที่ใชในการเชื่อมความสัมพันธดังกลาวจะมีอยู 2 ชนิด คือ Primary Key จะเปนฟลดในตารางขอมูลเชิงบรรยายที่จะตองมีคาที่จัดเก็บอยูใน ฟลดไมซ้ํากัน ซึ่งจะใชเปนตัวชี้คาของขอมูลในเรคคอรดใน ตารางขอมูล Foreign Key จะเปนฟลดที่เก็บคาในอีกตารางขอมูลที่มีขอมูลตรงกันกับ Primary Key แตขอมูลในฟลด Foreign Key จะสามารถมีขอมูลที่ซ้ํากันได ƒ Primary Key

ƒ Foreign Key

การตอเชื่อมตารางขอมูลเชิงบรรยาย (Joining tables) การสรางการเชื่อมตอ การตอเชื่อม (Join) ตารางขอมูลเชิงบรรยาย สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰

เลือกฟลดที่ตองการใชเปนฟลด Primary Key และ Foreign Key ในตารางตนทาง (Source table) และตารางเปาหมาย (Destination table)

‰

คลิกเลือกตารางตนทางใหแอคทีฟ

‰

คลิกปุมคําสั่ง Join หรือเลือกคําสั่งจากเมนู Table -> Join

‰

ขอมูลจากตารางตนทางจะปรากฏที่ตารางเปาหมาย

การทําการตอเชื่อมตารางขอมูลเชิงบรรยายตั้งแตสองตารางขึ้นไป ใหทําการตอเชื่อมสองตารางแรกกอน แลวจึงตอเชื่อมตารางที่เกิดจากการตอเชื่อมเดิมเขากับตารางอื่นๆ ตอไปทีละตารางจนครบตามความตองการ การแสดงผลตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ไดทําการตอเชื่อมจะแสดงผลขอมูลของทั้งสองตารางที่ทําการ ตอเชื่อมเขาดวยกันทั้งหมด แตในความเปนจริงตารางขอมูลเชิงบรรยายทั้งสองตารางนั้นไมไดตอเชื่อมกันจริงๆ เปน เพียงการแสดงผลที่เกิดจากการตอเชื่อมเทานั้น ขอมูลจริงยังคงแยกอยูเปนสองตารางดังเดิม และถาเรคคอรดใดในฟลด ที่ใชตอเชื่อมมีคาไมตรงกันจะแสดงเปนฟลดที่วางเปลา ตารางแสดงขอมูลเชิงบรรยายของ Theme จะเปนตารารางเปาหมายเสมอ สวนตารางขอมูลเชิงบรรยายอื่นๆ ที่มาตอเชื่อมจะตองเปนตารางตนทาง ทั้งหมด

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

46 ƒ Destination table

ƒ Common field

ƒ Source table ƒ เลือกฟลดที่ใชในการเชื่อมตอ ƒ ทําใหตารางเปาหมายแอคทีพ ƒ เลือกปุม Join

ƒ Join

ƒ Result table

การยกเลิกการเชื่อมตอ เมื่อตองการยกเลิกการเชื่อมตอตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ทําไว สามารถทําไดดังนี้

ชยกฤต มาลําพอง

‰

คลิกเลือกตารางที่ไดทําการเชื่อมตอไว

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Table -> Remove all Joins

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

47

การเชื่อมโยงตารางขอมูลเชิงบรรยาย (Linking tables) การเชื่อ มโยงแตกตางกับการเชื่อมตอตรงที่ผ ลจากการทํา งาน ผลที่ไ ดจากการเชื่อมตอ จะถูก นํา มา นําเสนอในตารางเปาหมายทั้งหมด สวนผลจากการเชื่อมโยงนั้นขอมูลจะไมนํามาแสดงรวมกัน แตจะแสดงผลเมื่อ ขอมูลใดๆ ในตารางเปาหมายถูกเลือกแลวขอมูลในตารางตนทางที่เชื่อมโยงกันจะถูกเลือกดวย การสรางการเชื่อมโยง การสรางการเชื่อมโยงตารางขอมูลเชิงบรรยายสามารถทําไดดังนี้ ‰

เลือกฟลดที่ตองการใชเปนฟลด Primary Key และ Foreign Key ในตารางตนทางและตาราง เปาหมาย

‰

คลิกเลือกตารางตนทางใหแอคทีฟ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Table -> Link ƒ Destination table

ƒ Source table

ƒ Common field

ƒ เลือกฟลดที่ใชในการเชื่อมโยง ƒ ทําใหตารางเปาหมายแอคทีพ ƒ เลือกเมนู Table -> Link

การยกเลิกการเชื่อมโยง เมื่อตองการยกเลิกการเชื่อมโยงตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ทําไว สามารถทําไดดังนี้ ‰

คลิกเลือกตารางที่ไดทําการเชื่อมโยงไว

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Table -> Remove all Links

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

49

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ กราฟเปนเครื่องมือที่ใชสําหรับแสดงขอมูลโดยสรุปของตารางขอมูลเชิงบรรยาย ซึ่งจะทําใหการนําเสนอ ขอมูลสามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น กราฟในโปรแกรม ArcView มีลักษณะเปนกราฟแบบไดนามิก (Dynamic) นั้นคือ กราฟที่สรางขึ้นจะมีความสัมพันธกับขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ใชในการสรางกราฟ ถา ขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายมีการเปลี่ยนแปลงกราฟก็จะเปลี่ยนแปลงตามดวย

การสรางกราฟ การสรางกราฟสามารถสรางไดจากทุกตารางขอมูลเชิงบรรยาย โดยมีขั้นตอนการสรางกราฟดังนี้ ‰

‰

เปดตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการสรางกราฟ หรือเลือกตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการ สรางกราฟใหแอคทีฟ คลิกปุมคําสั่ง Create Chart หรือเลือกคําสั่งจากเมนู Table -> Chart

กําหนดคาใน Chart Properties Dialog Box โดยมีรายละเอียดดังนี้ Name เปนสวนที่ใชกําหนดชื่อของกราฟที่จะสราง Table เปนสวนที่แสดงชื่อตารางขอมูลเชิงบรรยายที่กําลังนํามาสรางกราฟ Field เปนการระบุกลุมของขอมูลที่ตองการนํามาสรางกราฟ โดยการ เลือกฟลดที่ตองการ ซึ่งอาจจะเพียงฟลดเดียวหรือหลายฟลด จากนั้นคลิกที่ปุม Add เพื่อใหกลุมของขอมูลที่เลือกปรากฏอยูใน ชอง Groups ในกรณีที่ตองการลบกลุมขอมูลที่กําหนดออกจากการสรางกราฟ สามารถทําไดโดยการเลือกฟลดที่ตองการจากชอง Group จากนั้น คลิกที่ปุม Delete Label series using เปนสวนที่ใชกําหนดฟลดที่ตองการแสดงผลในกรอบสัญลักษณของ กราฟ ถาใชคาเดิมที่ตั้งไวจะเปน None จะเปนการแสดงหมายเลข ประจําแตละเรคคอรดในกรอบสัญลักษณ ‰

ในกรณีที่มีขอมูลที่ถูกเลือกไว กราฟที่ไดจะแสดงผลเฉพาะขอมูลที่ถูกเลือก แตถาไมมีขอมูลใดถูกเลือกไว กราฟที่ไดจะแสดงผลของทุกขอมูลในตาราง

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

50

ƒ Create Chart

ƒ กําหนดตารางที่ตองการนําขอมูลมาสรางกราฟ ƒ คลิกปุมคําสั่ง Create Chart หรือเมนู Table -> Chart ƒ กําหนดคาใน Chart Properties Dialog Box

องคประกอบของกราฟ กราฟที่ไดจากการสรางโดยโปรแกรม ArcView จะมีองคประกอบตางๆ ดังนี้

ƒ Title

ƒ Data markers

ƒ Y-axis

ƒ X-axis

ชยกฤต มาลําพอง

ƒ Legend

ƒ Group

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

Title Data markers

Y-axis X-axis Group Legend

51 เปนสวนแสดงหัวเรื่องของกราฟที่สรางขึ้น เปนสวนที่แสดงขอมูล ซึ่งสามารถแสดงไดในรูปแบบแทง วงกลม เสน หรือจุด ตามที่กําหนด โดยขอมูลจะนํามาจากตารางขอมูลเชิง บรรยายที่นํามาสรางกราฟ แสดงคาแกน Y แสดงคาแกน X แสดงกลุมของขอมูลตามฟลดที่กําหนดใหเปนกลุมของขอมูลจาก กระบวนการสรางกราฟ แสดงสัญลักษณการจําแนกขอมูลของแตละขอมูลในกลุมขอมูล

องคประกอบตางๆ ของกราฟ สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงแกไขไดตามความตองการ ซึ่งจะไดกลาวถึง ตอไป

การเปลี่ยนรูปแบบของกราฟ การเปลี่ยนประเภทของกราฟ โปรแกรม ArcView มีประเภทของกราฟเตรียมไวใหใชงาน 6 แบบ ซึ่งกราฟแตละแบบจะมีวัตถุประสงค ในการนําเสนอที่แตกตางกันดังนี้ Line and area charts กราฟเสน (Line chart) เหมาะสําหรับการนําเสนอขอมูลที่ตองการ แสดงใหเห็นความตอเนื่องของขอมูลในแตละชวงเวลา อยางไรก็ ตามกราฟเสนจะแสดงใหเห็นถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงมากกวาที่จะ แสดงใหเห็นถึงผลรวมของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งในกรณีที่ตองการ แสดงใหเห็นถึงผลรวมของการเปลี่ยนแปลงจะสามารถใชกราฟ พื้นที่ (Area chart) มาใชแทน เนื่องจากกราฟพื้นที่จะใหภาพของ ขอมูลเชิงปริมาณไดดีกวา Bar and column charts กราฟแทงแนวนอน (Bar chart) และกราฟแทงแนวตั้ง (Column chart) เหมาะสําหรับการนําเสนอขอมูลที่ตองการการเปรียบเทียบ ขอมูลระหวางชวงเวลาที่ไมมีความตอเนื่อง ในขณะที่กราฟแทง แนวนอนนิยมใชเพื่อแสดงขอมูลที่เกี่ยวของกับระยะเวลาหรือตาราง การดําเนินงาน Pie charts กราฟวงกลม (Pie chart) มักจะใชในการนําเสนอขอมูลที่มี ความสัมพันธกัน หรือนําเสนอขอมูลที่ตองการเปรียบเทียบขอมูล ใหเห็นในลักษณะของรอยละเมื่อเปรียบเทียบกับขอมูลทั้งหมด XY scatter charts กราฟแสดงการกระจาย (XY scatter chart) จะใชแสดงแนวโนม หรือรูปแบบของขอมูล เพื่อดูความสัมพันธกันของขอมูล หรือแสดง การกระจายของขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

52 การเปลี่ยนประเภทของกราฟสามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰ ‰

‰

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการเปลี่ยนแปลงประเภทของกราฟ คลิกเลือกปุมคําสั่งประเภทของกราฟที่ตองการจะเปลี่ยน หรือเลือกคําสั่งจากเมนู Gallery -> ประเภทของกราฟที่ตองการ เลือกรูปแบบของกราฟจาก Chart Gallery ตามตองการ คลิกปุม OK

ƒ Area chart

ชยกฤต มาลําพอง

ƒ Bar chart

ƒ Column chart ƒ Line chart

ƒ Pie chart

ƒ XY scatter chart

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

53

การเปลี่ยนองคประกอบตางๆ ของกราฟ องคประกอบตางๆ ของกราฟ สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงไดตามความตองการเพื่อใหกราฟที่นําเสนอมี ความสมบูรณมากขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงดังกลาวสามารถสั่งใหแสดงหรือซอนองคประกอบตางๆ หรือจะเปนการ เปลี่ยนคุณสมบัติขององคประกอบนั้นๆ ของกราฟ โดยมีรายละเอียดดังนี้ การซอนหรือแสดงองคประกอบของกราฟ การซอนหรือแสดงองคประกอบตางๆ ของกราฟสามารถทําไดดังนี้ ‰

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Chart -> เลือกคําสั่งสําหรับหารซอนหรือแสดงองคประกอบตามตองการ

ƒ เลื อ กคํ า สั่ ง สํ า หรั บ หารซ อ นหรื อ แสดง องคประกอบตามตองการ

การเปลี่ยนหัวเรื่องของกราฟ การเปลี่ยนหัวเรื่องของกราฟสามารถเปลี่ยนไดทั้งในสวนของคําบรรยายที่จะบรรยายกราฟ รวมถึงการ จัดตําแหนงการวางตัวอักษร โดยสามารถทําไดดังนี้ ‰

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

เลือกปุมคําสั่ง Chart Element Properties

‰

คลิกบริเวณหัวเรื่องของกราฟในหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

กําหนดคาใน Chart Title Properties Dialog Box

ƒ Chart Element Properties

ƒ กําหนดหัวเรื่องของกราฟ ƒ คลิกเลือกบริเวณที่ตําแหนงที่ ตองการวางหัวเรื่อง

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

54 การเปลี่ยนสัญลักษณของกราฟ

การเปลี่ ย นแปลงสั ญ ลั ก ษณ ข องกราฟ สามารถเปลี่ ย นคํ า อธิ บ ายสั ญ ลั ก ษณ แ ละตํ า แหน ง การวาง สัญลักษณได ดังนี้ ‰

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

เลือกปุมคําสั่ง Chart Element Properties

‰

คลิกบริเวณสัญลักษณของกราฟในหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

กําหนดคาใน Chart Legend Properties Dialog Box ƒ กําหนดคําอธิบายสัญลักษณ

ƒ Chart Element Properties

ƒ คลิกเลือกบริเวณที่ตําแหนงที่ ตองการวางสัญลักษณ

การเปลี่ยนคาแกนของกราฟ การเปลี่ยนคาแกนของกราฟจะแตกตางกันไปในแตละแกน ซึ่งจะขึ้นอยูกับรูปแบบของกราฟที่แสดงอยู อยางไรก็ตามโดยหลักๆ จะสามารถเปลี่ยนรูปแบบตําแหนงการแสดงผลและคําอธิบาตางๆ รวมถึงการกําหนดคาการ แสดงตัวเลขในแกนได โดยมีรายละเอียดดังนี้ ‰

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

เลือกปุมคําสั่ง Chart Element Properties

‰

คลิกบริเวณแกนของกราฟในหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

กําหนดคาใน Chart Axis Properties Dialog Box ƒ กําหนดคําอธิบายกลุมขอมูล

ƒ Chart Element Properties ƒ กําหนดการแสดง รายละเอียดแกน

ƒ กําหนดคําอธิบายแกน

ชยกฤต มาลําพอง

ƒ กําหนดตําแหนงแกน

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

55

การเปลี่ยนสีของสวนแสดงขอมูล สวนการแสดงขอมูลของกราฟในเบื้องตนโปรแกรม ArcView จะกําหนดสีใหโดยอัตโนมัติซึ่งจะสอดคลอง ระหวางสวนแสดงขอมูลและสัญลักษณของกราฟ อยางไรก็ตามสีตางๆ ในสวนการแสดงขอมูลสามารถเปลี่ยนแปลงได ตามความตองการ ซึ่งสีที่ถูกเปลี่ยนไปจากสวนแสดงขอมูลนั้น โปรแกรม ArcView จะปรับเปลี่ยนสีที่แสดงในสัญลักษณ ของกราฟใหทันที่ โดยมีขั้นตอนดังนี้ ‰

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

‰

เลือกปุมคําสั่ง Chart Color

‰

เลือกรูปแบบการระบายและสีที่ตองการจากหนาตางสัญลักษณที่ปรากฏขึ้น

‰

คลิกเลือกสวนแสดงขอมูลที่ตองการเปลี่ยนแปลง

ƒ Chart Color ƒ เลือกปุมคําสั่ง Chart Color ƒ เลือกสีและรูปแบบการระบาย ƒ คลิกเลือกกราฟที่ตองการเปลี่ยนสี

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

57

การสรางและจัดการโครงรางแผนที่ โครงรางแผนที่ (Layout) เปนองคประกอบหนึ่งของโปรแกรม ArcView ที่ใชเพื่อนําเสนอแผนที่ที่มี คุณภาพและมีความสวยงาม ซึ่งสามารถจัดเตรียมเปนแผนที่ที่อยูในรูปของการพิมพออกทางกระดาษ หรือการสงออก ในรูปแบบไฟลอื่นๆ โครงรางแผนที่จะประกอบไปดวยองคประกอบหลายๆ องคประกอบที่สรางขึ้นจากโปรแกรม ArcView เชน ภาพแผนที่ ตารางขอมูลเชิงบรรยาย และกราฟ รวมถึงองคประกอบจากไฟลขอมูลภายนอก ไดแก รูปภาพ หรือตัวอักษร ที่นํามาประกอบอยูบนโครงรางแผนที่เดียวกัน ประกอบกับเครื่องมือในการจัดทําองคประกอบ ของแผนที่อื่นๆ ที่โปรแกรม ArcView จัดเตรียมไวให เชน มาตราสวน เครื่องหมายแสดงทิศ เครื่องมือการวาดภาพ และ เครื่องมือที่เกี่ยวกับการสรางเสนพิกัด เปนตน

แนวคิดการออกแบบแผนที่เบื้องตน กอนที่จะสรางโครงรางแผนที่ของแผนที่ใดแผนที่หนึ่งขึ้นมานั้น จะตองพิจารณาถึงวัตถุประสงคในการ นําเสนอแผนที่ และเปาหมายเพื่อที่จะใหแผนที่สื่อถึงขอมูลที่ตองการนําเสนอ ซึ่งจะมีปจจัยตางๆ ที่จะสงผลตอการ ออกแบบโครงรางแผนที่ที่แตกตางกัน ไดแก วัตถุประสงคในการนําเสนอแผนที่ เพื่อกําหนดขอมูลที่แผนที่ตองการมุงเนนในการนําเสนอ บางแผนที่ ใชเพื่อการอางอิง เชน แผนที่แสดงพืชพรรณ บางแผนที่มี จุดมุงหมายที่จะแสดงแนวโนมการเปลี่ยนแปลง เชน แผนที่แสดง การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน หรือบางแผนที่ตองการใชเสนอ ผลสรุปจากการวิเคราะห เชน ตําแหนงที่เหมาะสมในการฝงกลบ ขยะอันตราย เปนตน กลุมผูใชเปาหมาย ผูจัดทําแผนที่ควรที่จะรูวาผูใชแผนที่เปาหมายมีระดับความรูมาก เพียงใด มีพื้นฐานในการตีความแผนที่ระดับไหน เพื่อใหการ ออกแบบแผนที่สามารถทําไดตรงกับระดับของผูใชงาน เชน การ ออกแบบแผนที่สําหรับการสํารวจภาคสนามก็ควรจะแตกตางกับ แผนที่ที่ใชในการนําเสนองาน องคประกอบของแผนที่ ซึ่งจะเปนสวนที่ใหรายละเอียดเกี่ยวกับแผนที่ที่นําเสนอ โดยตอง พิจารณาถึงจุดประสงคของการผลิตแผนที่และผูใชแผนที่ เพื่อที่จะ ไดเลือกองคประกอบตางๆ นําไปวางบนโครงรางแผนที่ไดถูกตอง การวางองคประกอบของแผนที่นั้น ผูจัดทําแผนที่สามารถจัดวางได ตามความเหมาะสม ขึ้นอยูกับความสวยงาม องคประกอบบนโครง รางแผนที่โดยหลักมีดังนี้ เนื้อหาแผนที่ คือสวนของแผนที่ที่ประกอบไปดวยขอมูลตางๆ ที่ตองการนําเสนอ ซึ่งในโปรแกรม ArcView จะเปนสวนที่แสดงอยูใน View ทั้งหมด สัญลักษณ เปนสวนที่ใชแสดงคําอธิบายของเครื่องหมายตางๆ ที่ปรากฏอยูบน แผนที่ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

58 รายละเอียดแผนที่

มาตราสวน เครื่องหมายแสดงทิศ

เปนสวนที่อธิบายรายละเอียดที่จําเปนของแผนที่ โดยการระบุ หัวขอของแผนที่ สิ่งที่แผนที่ตองการนําเสนอ ความเกี่ยวของกับสิ่ง ตางๆ ผูผลิตแผนที่ วันที่ผลิตแผนที่ แหลงที่มาของขอมูล และอื่นๆ เพื่อที่จะแสดงมาตราสวนของแผนที่นั้นๆ เพื่อระบุทิศทางของแผนที่

การควบคุมมุมมองในการทํางานกับโครงรางแผนที่ ขณะทํางานกับสวนของโครงรางแผนที่ ผูใชสามารถควบคุมมุมมองในการทํางานไดโดยการการขยาย หรือยอสวนการแสดงผลได โดยที่โปรแกรม ArcView เตรียมเครื่องมือไวสําหรับการทํางานดังกลาวทั้งในสวนของคําสั่ง จากเมนู Layout และปุมคําสั่ง ไดแก Zoom to Page เปนการสั่งใหแสดงผลทั้งหมดของหนาโครงรางแผนที่ที่ทํางานอยู ใหอยูในขนาดของหนาตางขณะนั้น Zoom Actual Size เปนการแสดงผลโครงรางแผนที่ขนาดเทาจริงที่จะไดจากการพิมพ ออกทางเครื่องพิมพ Zoom to Selected เปนการขยายใหองคประกอบที่เลือกไวมีขนาดเทากับขนาดของ หนาตางโครงรางแผนที่ Zoom In เปนการขยายโดยยึดจากจุดกึ่งกลางของหนาตางโครงรางแผนที่ขึ้น 2 เทา Zoom Out เปนการยอโดยยึดจากจุดกึ่งกลางของหนาตางโครงรางแผนที่ลง 2 เทา

ƒ Zoom to Page

ƒ Zoom to Actual Size ƒ Zoom to Selected

ƒ Zoom In

ƒ คําสั่งในเมนูควบคุมมุมมองการทํางาน

ชยกฤต มาลําพอง

ƒ Zoom Out

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

59

การสรางโครงรางแผนที่ กระบวนการในการสรางโครงรางแผนที่ เริ่มจากการกําหนดขนาดและการวางแนวของหนากระดาษของ โครงรางแผนที่ (Layout Page) จากนั้นจึงจัดวางองคประกอบตางๆ ลงในโครงรางแผนที่ตามตองการ เพิ่มเติม ตัวหนังสือหรือรูปภาพเพื่อตกแตงใหแผนที่ดูสวยงามขึ้น เชน หัวแผนที่ สัญลักษณประจําหนวยงาน เสนกรอบแผนที่ หรือรูปรางที่ตองการแสดงบริเวณที่สําคัญของแผนที่ ยกตัวอยางเชน อาจมีแผนที่เล็กๆ อีกกรอบหนึ่งเพื่อที่จะแสดง ตําแหนงอางอิงของพื้นที่ที่นําเสนอในแผนที่ จากนั้นจึงเปนสวนของการนําเสนอซึ่งอาจจะนําเสนอโดยพิมพแผนที่ออก ทางเครื่องพิมพ หรือแปลงใหเปนไฟลรูปภาพเพื่อนําเสนอผานทางหนาจอคอมพิวเตอร และที่สุดอาจจะบันทึกโครงราง แผนที่ที่ทําไวเปนตนแบบสําหรับใชในการสรางแผนที่ในโอกาสตอไปได การสรางโครงรางแผนที่โดยใชตนแบบ โปรแกรม ArcView จัดเตรียมตนแบบโครงรางแผนที่ไวสําหรับการสรางโครงรางแผนที่ ทําใหการสราง โครงรางแผนที่สามารถทําไดอยางงายๆ และรวดเร็ว โดยสามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ ‰

เลือกหนาตางแผนที่ที่ตองการสรางโครงรางแผนที่

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู View -> Layout…

‰

เลือกรูปแบบแผนที่ที่ตองการจากหนาตาง Template Manager

‰

คลิกปุม OK

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

60 การสรางโครงรางแผนที่โดยการกําหนดเอง

การสรางโครงรางแผนที่โดยใชตนแบบเปนการสรางโครงรางแผนที่อยางงายและรวดเร็ว โครงรางแผนที่ ที่ไดสามารถปรับเปลี่ยนแกไของคประกอบตางๆ ไดตามความตองการ อยางไรก็ตามการสรางโครงรางแผนที่สามารถ เริ่มตนการสรางจากหนากระดาษเปลาๆ โดยการจัดองคประกอบตางๆ ของแผนที่สามารถกําหนดรูปแบบไดตามความ ตองการมากกวาการใชตนแบบ ซึ่งสามารถทําไดดังนี้ ‰

ที่หนาตางโปรเจค คลิกเลือกไอคอน Layout

‰

คลิกปุมคําสั่ง New ที่หนาตางโปรเจค

โปรแกรม ArcView จะสรางหนาตางวางขึ้นมาใหเพื่อรอการกําหนดคาตางๆ และการใสองคประกอบของ แผนที่ตอไป

การกําหนดคุณสมบัติของหนาโครงรางแผนที่ หนาโครงรางแผนที่เปนสวนที่มีขนาดเทากระดาษจริงกับขนาดที่จะทําการพิมพออกทางเครื่องพิมพ ซึ่ง หนาโครงรางแผนที่ที่สรางขึ้นสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงแกไขคุณสมบัติตางๆ ไดดังนี้

ชยกฤต มาลําพอง

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

61

การกําหนดคุณสมบัติทั่วไป ‰

เลือกหนาตางหนาโครงรางแผนที่ที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Layout -> Properties…

‰

กําหนดคาในหนาตาง Layout Properties

โดยมีรายละเอียดดังนี้ Name Grid Spacing

Horizontal Vertical Snap to Grid

เปนการตั้งชื่อใหกับโครงรางแผนที่ หนาโครงรางแผนที่จะมีจุดกริดเปนเครื่องหมายคอยแสดงตําแหนง บนหนาโครงรางแผนที่ เพื่ออํานวยความสะดวกในการจัดวาง องคประกอบตางๆ ซึ่งสามารถกําหนดระยะของกริดที่แสดงไดตาม ตองการ เปนการกําหนดระยะกริดตามแนวนอน เปนการกําหนดระยะกริดตามแนวตั้ง เปนการกําหนดใหการวางตําแหนงของวัตถุตางๆ สามารถวางลง ตรงจุดกริดไดพอดีเมื่อมีการเปลี่ยนตําแหนงหรือจัดวางวัตถุ เหลานั้นเพื่องายตอการจัดใหตรงกัน

การกําหนดขนาดและกรอบการทํางาน ‰

เลือกหนาตางหนาโครงรางแผนที่ที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Layout -> Page Setup…

‰

กําหนดคาในหนาตาง Page Setup

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

62 โดยมีรายะละเอียดดังนี้ Page Size

Units Width Height Orientation Margins

Output Resolution

เปนสวนที่ใชในการกําหนดขนาดของกระดาษที่จะใชในการทําโครง รางแผนที่ สามารถเลือกไดจากขนาดกระดาษมาตรฐานซึ่งจะ สัมพันธกับเครื่องพิมพที่ติดตั้งอยูกับระบบ หรือกําหนดไดเองใน กรณีที่ไมมีขนาดกระดาษมาตรฐานตามตองการ กําหนดหนวยการวัดที่ตองการในการกําหนดขนาดกระดาษ กําหนดความกวางของกระดาษ กําหนดความสูงของกระดาษ ระบุรูปแบบการวางแนวของหนากระดาษสามารถที่จะสั่งใหอยูใน แนวนอน (Landscape) หรือในแนวตั้ง (Portrait) เปนการกําหนดขอบเขตการพิมพบนกระดาษ ในกรณีที่ตองการให ขอบเขตการพิมพขึ้นอยูกับคาที่ตั้งไวโดยเครื่องพิมพใหเลือก Use printer border เปนการกําหนดความละเอียดของงานเมื่อสั่งใหพิมพของทาง เครื่องพิมพ

การสรางกรอบองคประกอบแผนที่ กรอบ (Frames) เป น วั ต ถุ ที่ ใ ช แ สดงผลองค ป ระกอบต า งๆ ภายในโครงรา งแผนที่ ประกอบไปด ว ย องคประกอบประกอบที่แสดงขอมูลตางๆ ไดแก กรอบแผนที่ (View Frame) กรอบสัญลักษณ (Legend frame) กรอบ มาตราสวน (Scale Frame) กรอบทิศ (North arrow Frame) กรอบกราฟ (Chart Frame) กรอบตารางขอมูลเชิง บรรยาย (Table Frame) และกรอบรูปภาพ (Picture Frame) ƒ View Frame ƒ Legend Frame ƒ Scale Bar Frame ƒ North Arrow Frame ƒ Chart Frame ƒ Table Frame ƒ Picture Frame

ชยกฤต มาลําพอง

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

63

การสรางกรอบองคประกอบแผนที่ทุกชนิดมีขั้นตอนทั่วไปเหมือนกัน ดังนี้ ‰

เลือกปุมคําสั่งสรางองคประกอบแผนที่ที่ตองการ

‰

สรางกรอบสี่เหลี่ยมบริเวณที่ตองการวางองคประกอบแผนที่ในโครงรางแผนที่ที่ตองการ

‰

กําหนดคุณสมบัติขององคประกอบแผนที่ในหนาตางการกําหนดคุณสมบัติ

ƒ Start

ƒ End

การแกไขคุณสมบัติขององคประกอบแผนที่ตางๆ ที่สรางไวสามารถทําไดดังนี้ ‰

คลิกเลือกปุมคําสั่ง Pointer

‰

ดับเบิ้ลคลิกบริเวณกรอบองคประกอบแผนที่ที่ตองการ

‰

เปลี่ยนแปลงคาในหนาตางกําหนดคุณสมบัติตามตองการ

การกําหนดคุณสมบัติของกรอบองคประกอบแผนที่ คุณสมบัติของกรอบองคประกอบแผนที่จะแตกตางกันไปตามประเภทของกรอบองคประกอบแผนที่แบบ ตางๆ ผูใชสามารถกําหนดคุณสมบัติเพื่อควบคุมการสรางโครงรางแผนที่ใหเปนไปตามความตองการ การกําหนดคุณสมบัติกรอบแผนที่

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

64

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

กรอบแผนที่เปนสวนที่ใชแสดงขอมูลแผนที่ที่อยูในหนาตางแผนที่ มีรายละเอียดคุณสมบัติตางๆ ดังนี้ View จะเปนสวนที่ใหเลือกหนาตางแผนที่ที่ตองการนํามาแสดง โดยจะมี รายการแสดงรายชื่อหนาตางแผนที่ที่มีอยูในโครงการ ซึ่งจะตอง เลือกรายการหนาตางแผนที่ที่ตองการแสดงผลในโครงรางแผนที่ Live link เปนตัวเลือกที่จะกําหนดกรอบแผนที่มีการเปลี่ยนแปลงตามการ เปลี่ยนแปลงของหนาตางแสดงแผนที่ เชน การขยายหรือยอแผนที่ หรือเปด-ปดชั้นขอมูลตางๆ ในหนาตางแสดงแผนที่ เปนตน Scale เปนสวนการกําหนดมาตราสวนของการแสดงแผนที่ในโครงราง แผนที่ โดยมีตัวเลือกดังนี้ Automatic เปนการกําหนดใหภาพแผนที่แสดงผลใหพอดีกับกรอบแผนที่โดย โปรแกรม ArcView จําคํานวณมาตราสวนใหโดยอัตโนมัติ Preserve View Scale เปนการกําหนดใหภาพแผนที่ในกรอบแผนที่มีมาตราสวนเทากับ มาตราสวนที่แสดงในหนาตางแผนที่ ซึ่งอาจจะทําใหภาพแผนที่ บางสวนตกออกนอกกรอบไปหรือเล็กมากจนไมเหมาะสมกับเฟรม ที่สรางขึ้น User specified scale เปนการกําหนดมาตราสวนตามที่ตองการ โดยการใสคาตัวเลข มาตราสวนของแผนที่ในชองมาตราสวน ซึ่งการกําหนดมาตราสวน ที่กรอบแผนที่จะไมมีผลใดๆ ตอการแสดงผลในหนาตางแผนที่ Extent เปนการกําหนดการแสดงภาพแผนที่ในกรอบแผนที่ โดยมีตัวเลือก ดังนี้ Fill View Frame กําหนดการแสดงภาพแผนที่ใหเต็มกรอบแผนที่ ซึ่งแผนที่ใน หนาตางแผนที่อาจจะแสดงไวไดไมหมด Clip to View กําหนดใหแสดงภาพแผนที่ที่แสดงอยูในหนาตางแผนที่เทานั้น Display เปนการกําหนดเงื่อนไขการแสดงผลของกรอบแผนที่ โดยมีตัวเลือก คือ When Active เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในหนาตางแผนที่ กรอบแผนที่จะมีการ แสดงผลเมื่อหนาตางโครงรางแผนที่ถูกเลือกใหทํางาน Always กรอบแผนที่จะแสดงผลตามการเปลี่ยนแปลงของหนาตางแผนที่ ตลอดเวลา Quality เปนการกําหนดคุณภาพในการแสดงผลของกรอบแผนที่ โดยมี ตัวเลือกดังนี้ Presentation การแสดงผลของกรอบแผนที่จะแสดงผลไดภาพเหมือนจริง ซึ่ง อาจจะทําใหการประมวลผลใชเวลานาน Draft กรอบแผนที่จะแสดงเปนเพียงกรอบสีเทาใหเห็นวากรอบแผนที่อยู ตําแหนงใดบนโครงรางแผนที่ ซึ่งจะทําใหการแสดงผลขอมูล รวดเร็วมากขึ้น

ชยกฤต มาลําพอง

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

65

การกําหนดคุณสมบัติกรอบสัญลักษณ

กรอบสัญลักษณจะเปนสวนที่ใหรายละเอียดคําอธิบายสัญลักษณกับผูอานแผนที่ การแสดงผลสัญลักษณ จะแสดงเฉพาะชั้นขอมูลที่ถูกสั่งใหแสดงผลในหนาตางแผนที่เทานั้น ซึ่งการแสดงผลในกรอบสัญลักษณนั้นจะอางอิงมา จากสวนแสดงสัญลักษณในหนาตางแผนที่ โดยมีรายละเอียดการกําหนดคุณสมบัติของกรอบสัญลักษณดังนี้ View Frame เปนการเลือกกรอบแผนที่ที่ตองการใชอางอิงในการสรางกรอบ สัญลักษณ การกําหนดคุณสมบัติกรอบมาตราสวน

กรอบมาตราสวนใชสําหรับแสดงมาตราสวนของแผนที่ที่แสดงอยูในกรอบแผนที่บนโครงรางแผนที่นั้นๆ การสรางกรอบมาตราสวนจะเปนการเชื่อมโยงเขากับกรอบแผนที่ นั้นคือเมื่อกรอบแผนที่มีมาตราสวนเทาใด มาตราสวน ที่สรางขึ้นก็จะมีมาตราสวนเทานั้น โดยมีรายละเอียดคุณสมบัติตางๆ ดังนี้ View Frame กําหนดการเชื่อมโยงกับกรอบแผนที่ที่ตองการ Preserve Interval เปนการเลือกใหกรอบมาตราสวนมีการเปลี่ยนแปลงมาตราสวน ตามการแสดงผลของกรอบแผนที่ในกรณีที่เลือกไว แตถาไมได เลือกมาตราสวนจะไมมีการเปลี่ยนแปลงถึงแมวามาตราสวนใน กรอบแผนที่จะถูกเปลี่ยนแปลงไปแลวก็ตาม Style เปนการเลือกรูปแบบของมาตราสวนที่ตองการแสดง Units เลือกหนวยการวัดที่ตองการแสดงผล Interval กําหนดระยะที่ตองการในหนึ่งชองของการแสดงผล Intervals กําหนดจํานวนชองที่ตองการแสดง Left Divisions กําหนดจํานวนชองยอยที่ตองการแสดงผล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

66 การกําหนดคุณสมบัติกรอบทิศ

กรอบทิศเปนสวนที่ใชแสดงสัญลักษณบอกทิศของแผนที่ ซึ่งสามารถเลือกรูปแบบสัญลักษณไดตาม ตองการ โดยปกติแผนที่สวนใหญมักจะแสดงทิศเหนือไวดานบนของแผนที่ แตในกรณีที่แผนที่ที่นําเสนอมีทิศทางของ ทิศเหนือเบี่ยงเบนออกไปก็สามารถกําหนดการหมุนของสัญลักษณไดตามตองการ การกําหนดคุณสมบัติกรอบกราฟ

กรอบกราฟใชสําหรับแสดงขอมูลกราฟที่สรางขึ้นในโครงงานที่กําลังดําเนินงานอยู กราฟที่จะนํามาแสดง ในโครงรางแผนที่จะตองเปดใหแสดงผลอยูในโครงงานเสมอ Charts เลือกชื่อกราฟที่ตองการแสดงในโครงรางแผนที่ การกําหนดคุณสมบัติกรอบตารางขอมูลเชิงบรรยาย

กรอบตารางข อ มู ล เชิ ง บรรยายใช สํ า หรั บ แสดงข อ มู ล ตารางเชิ ง บรรยายที่ มี อ ยู ใ นโครงงานที่ กํ า ลั ง ดํ า เนิ น งานอยู ตารางข อ มู ล เชิ ง บรรยายที่ จ ะนํ า มาแสดงในโครงร า งแผนที่ จ ะต อ งเป ด ให แ สดงผลอยู ใ นโครงงาน เชนเดียวกับกรอบกราฟ Tables เลือกชื่อตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการแสดงในโครงรางแผนที่

ชยกฤต มาลําพอง

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

67

การกําหนดคุณสมบัติกรอบรูปภาพ

กรอบรู ป ภาพใช สํ า หรั บ แสดงรู ป ภาพ ซึ่ ง อาจจะเป น ภาพประกอบแผนที่ หรื อ ตราสั ญ ลั ก ษณ ต า งๆ รูปภาพที่จะนํามาใชกับกรอบรูปภาพจะเปนไฟลรูปภาพที่ตองมีการจัดเตรียมไว ซึ่งโปรแกรม ArcView สามารถรองรับ รูปแบบไฟลรูปภาพไดดังนี้ Band Interleaved by Line (*.bil) Band Interleaved by Pixel (*.bip) Band Sequential (*.bsq) CompuServe GIF (*.gif) Encapsulated PostScript (*.eps) ERDAS GIS (*.gis) ERDAS LAN (*.lan) IMPELL Bitmap (*.rlc) MacPaint (*.mcp) Nexpert Object Image (*.nbi) Postscript (*.ps) Sun Raster (*.rs) TIFF Bitmap (*.tif) Windows Bitmap (*.bmp) X-Bitmap (*.xbm) Windows Metafile (*.wmf)

การสรางกราฟฟกประกอบแผนที่ โปรแกรม ArcView เตรียมเครื่องมือสําหรับสรางกราฟฟกประกอบแผนที่ไวใหใชงาน ซึ่งในบางกรณีการ สรางแผนที่จําเปนตองมีการสรางกราฟฟกประกอบเพื่อใหแผนที่มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ไดแก การวาดกรอบแผนที่ การเพิ่มชื่อแผนที่รวมถึงตัวอักษรเพื่ออธิบายรายละเอียดอางอิงตางๆ และการวดภาพประกอบอื่นๆ ที่จําเปน เครื่องมือสําหรับสรางกราฟฟกที่โปรแกรม ArcView เตรียมไวใหใชงานแยกออกเปน 2 กลุมใหญๆ ไดแก ‰

‰

กลุมเครื่องมือวาดภาพ (Draw tool) ปดอื่นๆ

ใชสําหรับวาดจุด เสน สี่เหลี่ยม วงกลม และวงรอบ

กลุมเครื่องมือสรางตัวอักษร (Text tool) ใชสําหรับสรางตัวอักษรขอความ

ƒ Draw Tools

ƒ Text Tools

ƒ Draw Point

ƒ Text

ƒ Draw Straight Line

ƒ Callout Text

ƒ Draw Line

ƒ Bullet Leader Text

ƒ Draw Rectangle

ƒ Banner Text

ƒ Draw Circle

ƒ Drop-Shadow Text

ƒ Draw Polygon

ƒ Spline Text ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

68 การใชกลุมเครื่องมือวาดภาพ การสรางกราฟฟกโดยใชกลุมเครื่องมือวาดภาพสามารถทําไดดังนี้ ‰ ‰

‰

เลือกเครื่องมือวาดภาพที่ตองการ เลื่อนเคอรเซอรไปบริเวณที่ตองการสรางกราฟฟก คลิกและลากเมาสตามตองการ เครื่องมือบาง ตัวจะตองดับเบิ้ลคลิกเพื่อสิ้นสุดการวาด เลือกคําสั่งจากเมนู Window -> Show Symbol Window เพื่อกําหนดลักษณะของเสน และการ ระบายสีตามตองการ

ขณะที่ใชเครื่องมือวาดภาพ ที่แถบสถานะจะแสดงขนาดของภาพที่กําลังวาด โดยใชหนวยการวัดตาม ที่ตั้งไวในสวนของการกําหนดขนาดและกรอบการทํางาน การใชกลุมเครื่องมือสรางตัวอักษร การสรางตัวอักษรขอความเพื่ออธิบายรายละเอียดตา งๆ ของแผนที่ โดยการใชก ลุ มเครื่ องมือสรา ง ตัวอักษรสามารถทําไดดังนี้ ‰

เลือกเครื่องมือสรางตัวอักษรที่ตองการ

‰

สําหรับ Text, Banner Text, Drop-Shadow Text ใหคลิกเมาสบริเวณที่ตองการสรางขอความ

‰

‰

สําหรับ Callout Text, Bullet Leader Text ใหคลิกเมาสเพื่อกําหนดจุดที่ตองการชี้และลากเมาส ไปปลอยบริเวณที่ตองการสรางขอความ สําหรับ Spline Text ใหคลิกเมาสบริเวณที่ตองการสรางขอความ และคลิกเมาสเพื่อกําหนดเสน ที่ตองการวางขอความสิ้นสุดดวยการดับเบิ้ลคลิก

‰

พิมพขอความและกําหนดคาตามตองการในหนาตาง Text Properties

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Window -> Show Symbol Window เพื่อกําหนดรูปแบบอักษรตามตองการ

การแกไขกราฟฟก กราฟฟกที่สรางขึ้นแลว ไมวาจะเปนการวาดภาพหรือการสรางขอความ สามารถเปลี่ยนแปลงแกไขได เชน การเปลี่ยนรู ปราง การเปลี่ยนขนาด การเปลี่ยนตําแหนง การจัดตําแหนง การจัดกลุ ม และการจัดลํา ดับการ แสดงผล การเปลี่ยนรูปรางของกราฟฟก การเปลี่ยนรูปรางของภาพกราฟฟกที่สรางขึ้นสามารถทําไดดังนี้ ‰

เลือกปุมคําสั่ง Pointer

‰

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

‰

เลือกปุมคําสั่ง Vertex Edit

‰

ชยกฤต มาลําพอง

เลื่อนเคอรเซอรไปบริเวณเสนเพื่อเพิ่มหรือเลื่อนไปยังจุดตางๆ บนเสนเพื่อเคลื่อนยายจุดตางๆ ตามตองการ

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

69

ƒ Original

ƒ Add Vertex

ƒ Vertex Edit ƒ Move Vertex

การเปลี่ยนขนาดกราฟฟก การเปลี่ยนขนาดของกราฟฟกสามารถทําใหขนาดของกราฟฟกใหญขึ้นหรือเล็ก หรือกําหนดขนากใหม ตามความตองการดังนี้ ‰

เลือกปุมคําสั่ง Pointer

‰

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

‰

เลื่อนเคอรเซอรไปยังบริเวณจุดสีดําที่ลอมรอยกราฟฟกที่ถูกเลือก

‰

คลิกและลากเมาสเพื่อเปลี่ยนแปลงขนาดตามตองการ หรือ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Graphics -> Size and Position และกําหนดคาในหนาตาง Graphic Size and Position ตามตองการ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

70 การเปลี่ยนตําแหนงกราฟฟก กราฟฟกที่ถูกสรางขึ้นสามารถที่จะยายตําแหนงการวางได ดังนี้ ‰

เลือกปุมคําสั่ง Pointer

‰

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

‰

เลื่อนเคอรเซอรไปยังบริเวณที่ถูกเลือก

‰

คลิกและลากเมาสเพื่อยายตําแหนงตามตองการ หรือ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Graphics -> Size and Position และกําหนดคาในหนาตาง Graphic Size and Position ตามตองการ

การจัดตําแหนงของกราฟฟก ในกรณี ที่ตอ งการจัดตํา แหนงของกราฟฟกหลายๆ ชิ้น ใหตรงกัน หรือตอ งการจัดการเวน ระยะของ กราฟฟกใหมีความพอดี สามารถทําไดโดย ‰

เลือกปุมคําสั่ง Pointer

‰

เลือกกลุมของกราฟฟกที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Graphics -> Align

‰

กําหนดคาการจัดวางและระยะหางในหนาตาง Align ตามตองการ

ƒ กําหนดระยะหางการจัดวาง

ƒ กําหนดการจัดวาง

ƒ Selected

ชยกฤต มาลําพอง

ƒ Align

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

71

การจัดกลุมกราฟฟก การจัดกลุมกราฟฟกเปนการทําใหกราฟฟกหลายๆ ชิ้นรวมกันเปนชิ้นเดียว เพื่อความสะดวกในการ จัดการ เชน การยายตําแหนง โดยสามารถทําไดดังนี้ ‰

เลือกปุมคําสั่ง Pointer

‰

เลือกกลุมของกราฟฟกที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Graphics -> Group

การยกเลิกการจัดกลุมสามารถทําไดโดย ‰

เลือกปุมคําสั่ง Pointer

‰

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Graphics -> Ungroup

ƒ Selected

ƒ Group

การจัดลําดับการวาดกราฟฟก ในกรณีที่ตองมีการสรางภาพหรือเครื่องหมายพิเศษประกอบแผนที่มีความจําเปนตองใชเครื่องมือการ สรางกราฟฟกหลายๆ ชนิดประกอบกัน ภาพกราฟฟกที่สรางจะมีลําดับการแสดงผลกอนหลัง โดยที่กราฟฟกที่ถูกสราง ขึ้นกอนจะมีลําดับกอนกราฟฟกที่สรางขึ้นทีหลัง ซึ่งจะทําใหกราฟฟกที่มีลําดับนอยกวาถูกวาดซอนอยูดานหลังกราฟฟก ที่มีลําดับมากกวา อยางไรก็ตามลําดับของกราฟฟกดังกลาวสามารถควบคุมหรือเปลี่ยนลําดับของกราฟฟกตางๆ ได ดังนี้ ‰

คลิกปุมคําสั่ง Pointer

‰

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู Graphics -> Bring to Front ในกรณืที่ตองการเปลี่ยนลําดับของกราฟฟกให อยูดานหนา หรือเลือกคําสั่ง Graphics -> Send to Back ในกรณืที่ตองการเปลี่ยนลําดับของ กราฟฟกใหอยูดานหลัง

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

72

ƒ Bring to Front

ƒ Send to Back

การสรางตนแบบโครงรางแผนที่ จากที่ไดกลาวตอนตนแลววาโปรแกรม ArcView จัดเตรียมตนแบบในการสรางโครงรางแผนที่ไวใชงาน ในเบื้องตน อยางไรก็ตามในกรณีที่การจัดทําโครงรางแผนที่มีความจําเปนตองใชโครงรางแผนที่ที่มีความเฉพาะตัว และ รูปแบบดังกลาวจะตองใชงานเพื่อสรางโครงรางแผนที่หลายๆ อันก็สามารถทําการสรางตนแบบโครงรางแผนที่ขึ้นมาได เพื่อนําไปเปนตนแบบในการทําโครงรางแผนที่ในโอกาสตอไปได โดยมีขั้นตอนดังนี้ ‰

สรางโครงรางแผนที่พรอมจัดองคประกอบแผนที่ตางๆ ใหสมบูรณ

‰

เลือกเมนูคําสั่ง Layout -> Store As Template

‰

กําหนดชื่อของตนแบบและเลือกรูปแบบไอคอนที่ตองการในหนาตาง Template Properties

‰

คลิกปุม OK

โปรแกรม ArcView จะทําการจัดเก็บโครงรางแผนที่ที่เลือกใหเปนตนแบบเพื่อใชงานตอไป ซึ่งการ เลือกใชตนแบบที่สรางไวเพื่อสรางโครงสรางแผนที่นั้นสามารถทําไดตามขั้นตอนการสรางโครงรางแผนที่จากตนแบบ

ชยกฤต มาลําพอง

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

73

การพิมพโครงรางแผนที่ หลังจากที่สรางโครงรางแผนที่เปนที่เรียบรอยแลวและตองการพิมพโครงรางแผนที่ออกทางเครื่องพิมพ เพื่อนําเสนอ สามารถทําไดดังนี้ ‰

เลือกโครงรางแผนที่ที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู File -> Print

‰

กําหนดคาในหนาตาง Print

‰

คลิกปุม OK

การแปลงโครงรางแผนทีเ่ ปนไฟลภาพ ในกรณีที่ตองการแปลงโครงรางแผนที่ใหเปนไฟลภาพเพื่อนําไปใชงานกับโปรแกรมอื่นๆ สามารถทําได ดังนี้ ‰

เลือกโครงรางแผนที่ที่ตองการ

‰

เลือกคําสั่งจากเมนู File -> Export

‰

กําหนดคาในหนาตาง Export

‰

คลิกปุม OK

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

74

โดยการแปลงโครงรางแผนที่ใหเปนไฟลภาพนั้น โปรแกรม ArcView สามารถแปลงเปนไฟลภาพรูปแบบ ตางๆ ได ดังนี้

ชยกฤต มาลําพอง

‰

PostScript New (EPS) (*.eps)

‰

PostScript (EPS) (*.eps)

‰

Adobe Illustrator (*.ai)

‰

CGM Binary, CGM Clear Text, CGM Character (*.cgm).

‰

JPEG (*.jpg)

‰

Placeable WMF, Windows Metafile (*.wmf)

‰

Windows Bitmap (*.bmp)

MANUAL-GIS-ARCVIEW 2.pdf

MANUAL-GIS-ARCVIEW 2.pdf. MANUAL-GIS-ARCVIEW 2.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu. Displaying MANUAL-GIS-ARCVIEW 2.pdf.

10MB Sizes 0 Downloads 163 Views

Recommend Documents

No documents