October, 2014

P&P :

สานักนโยบายและแผน

VOL1 #1ISSUE 1

QA: KM วิวัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา *1.สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบเอง

สกอ.พัฒนาระบบ รอบที่ 3 ปี การศึกษา 2557 ทิศทางเกณฑ์ การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2557

2. สกอ.พัฒนาระบบรอบที่ 1 ปี การศึกษา 2550 - มีปัจจัยนาเข้ า กระบวนการ ผลได้ /ผลลัพธ์ - เน้ นวงจรคุณภาพ - กระบวนการเป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดี - องค์ประกอบคุณภาพ 9 องค์ประกอบ - ประเมินระดับสาขาวิชา คณะวิชา และสถาบัน 3. สกอ.พัฒนาระบบ รอบที่ 2 ปี การศึกษา 2553 - มีปัจจัยนาเข้ าและกระบวนการ - เน้ นวงจรคุณภาพ - กระบวนการเป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดี - องค์ประกอบคุณภาพ 9 องค์ประกอบ - ประเมินระดับสาขาวิชา คณะวิชา และสถาบัน

การประเมินระดับหลักสูตร 1. ตรวจสอบตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 2. ตรวจสอบตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2552

3. พิจารณาปัจจัยนาเข้ า การบริหารจัดการ และผลได้ /ผลลัพธ์ 4. ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิทกุ 3 ปี

การประกันคุณภาพภายนอก เป็ นการประเมิ นคุณภาพการจัดการศึกษาการติ ดตาม และ การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทาโดยสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมิ นคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึ กษา หมายถึง กระบวนการติดตามตรวจสอบ ความก้ าวหน้ า ของการปฏิ บั ติ ต ามแผนการพั ฒ นาคุ ณภาพการศึ ก ษา และจั ด ท า รายงานการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา พร้ อมทัง้ เสนอแนะมาตรการเร่ งรั ด การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้ าสู่คุณภาพที่ สอดคล้ องกับ มาตรฐานการศึ กษาของชาติ โดยมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา การจัด ระบบและโครงสร้ าง การวางแผนและการดาเนินงานตามแผน รวมทัง้ การ สร้ างจิตสานึกให้ เห็นว่ าการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะต้ องดาเนินการอย่ างต่ อเนื่อง และเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกันทุกคน

การประเมินคุณภาพภายใน เป็ นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาการติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาทีก่ ระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดสาหรั บการประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระทาโดยบุคลากรของ 1 สถานศึกษานั้น หรือโดยหน่ วยงานต้ นสังกัดที่มหี น้ าที่กากับดูแลสถานศึกษา

รู้ ไว้ ...ใช่ ว่า......ใส่ บ่าแบกหาม

แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร

2

เพื่อเตรี ยมตัวสู่การประกันระดับสาขาวิชา

ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่ งชี้มาตรฐาน

ตัวบ่ งชีพ้ ัฒนา จานวน 12 ตัวบ่ งชี ้

เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและเกณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 เกณฑ์ การประเมิน มี 12 ข้ อ :*ระดับปริญญาตรีมี 4 ข้ อ/ ปริญญาโท 12 ข้ อ 1. จานวนอาจารย์ ประจาหลักสู ตร*

2. คุณสมบัตขิ องอาจารย์ ประจาหลักสู ตร* 3. คุณสมบัตขิ องอาจารย์ ผ้รู ับผิดชอบหลักสู ตร 4. คุณสมบัตขิ องอาจารย์ ผ้สู อน 5. คุณสมบัตขิ องอาจารย์ ทปี่ รึกาวิทยานิพนธ์ หลักและอาจารย์ ที่ ปรึกษาการค้ นคว้ าอิสระ 6. คุณสมบัตขิ องอาจารย์ ทปี่ รึกษาร่ วม(ถ้ ามี) 7. คุณสมบัตขิ องอาจารย์ ผ้สู อบวิทยานิพนธ์ 8. การตีพมิ พ์ เผยแพร่ ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษา 9. ภาระงานอาจารย์ ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้ นคว้ าอิสระใน ระดับบัณฑิตศึกษา 10. อาจารย์ ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้ นคว้ าอิสระในระดับ บัณฑิตศึกษามีผลงานวิจยั อย่ างต่ อเนื่องและสมา่ เสมอ

11. การปรับปรุงหลักสู ตรตามรอบระยะเวลาทีก่ าหนด* 12. การดาเนินงานให้ เป็ นไปตามตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงานเพื่อการ ประกันคุณภาพหลักสู ตรการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ*

1.2 ร้ อยละของอาจารย์ ประจาหลั กสู ตรที่มีคุณวุ ฒิปริ ญญา เอก 1.3 ร้ อยละของอาจารย์ ประจาหลักสูตรที่ดารงตาแหน่ งทาง วิชาการ 1.4 ผลงานวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร 1.5 จานวนบทความของอาจารย์ ประจาหลักสูตรปริ ญญาเอก ที่ไ ด้ รับ การอ้ า งอิงในวารสารระดั บ ชาติ หรื อ นานาชาติต่ อ จานวนอาจารย์ ประจาหลักสูตร 1.6 กระบวนการจั ด การเรี ยนรู้ และการบู ร ณาการกั บ กระบวนการวิ จัย การบริ ก ารวิช าการ การทานุ บ ารุ งศิลปะ และวัฒนธรรม (เฉพาะ ปริญญาตรี) 1.7 การบริหารหลักสูตร 1.8 การประเมินผู้เรี ยน 1.9 การดูแล ช่ วยเหลือและสนับสนุนนักศึกษา 1.10 ระดั บ คุ ณ ภาพของผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาตามกรอบ TQF (ประเมินจากผู้ใช้ บัณฑิต) 1.11 ร้ อยละของบัณฑิตปริ ญญาตรี ท่ ีได้ งานทาหรื อประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี 1.12 ผลงานของนั ก ศึ ก ษาและผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาในระดั บ ปริญญาโทที่ได้ รับการตีพมิ พ์ เผยแพร่ 1.13 ผลงานของนั ก ศึ ก ษาและผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาในระดั บ ปริญญาเอกที่ได้ รับการตีพมิ พ์ เผยแพร่

ติดตาม ฉบับ 2 ประกันคุณภาพระดับคณะวิชา****** รู้ ฝึ ก ติด....................... ด้ านคุณธรรมจริยธรรม

รับ เข้ าใจ แสดงออก...........ด้ านความรู้

คิด แลก คิด.........................ด้ านทักษะทางปั ญญา

ทา ร่ วม แลก................. ด้ านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรั บผิดชอบ 2

รู้ ฝึ ก ทวน .......................ด้ านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ

newsletter1.pdf

ปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่. ติดตาม ฉบับ 2 ประกันคุณภาพระดับคณะวิชา******. Page 2 of 2. newsletter1.pdf. newsletter1.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In.

929KB Sizes 3 Downloads 103 Views

Recommend Documents

No documents