ÃÒ§ҹ¡Òû¯iºaµi§Ò¹»Ãa¨íÒ»‚ ¾.È. 2552 ¡i¨¡ÃÃÁ¾a²¹ÒÀÙÁiÊÒÃʹe·Èæˋ§ªÒµi Èٹ»¯iºaµ¡i ÒÃÀÙÁÊi ÒÃʹe·È (ÊuÃÒɮϸҹÕ)

ผลการดําเนินงานของศูนยปฏิบัติการภูมิสารสนเทศ (สุราษฎรธานี) ศูนยปฏิบัติการภูมิสารสนเทศ (สุราษฎรธานี) เปนหนวยงานหลักในระดับภูมิภาคหนวยงานหนึง่ จากจํานวนศูนยปฎิบัติการภูมิสารสนเทศทั้งประเทศรวมทั้งหมด 4 ศูนย มีหนาที่รว มรับผิดชอบดําเนิน กิจกรรมพัฒนาภูมิสารสนเทศแหงชาติ ในพืน้ ที่ปาอนุรกั ษทอ งที่ 14 จังหวัดภาคใต ไดแก จังหวัดสุราษฎรธานี ชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต สงขลา พัทลุง ปตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล และตรัง โดยมีเปาหมายหลักคือ การจัดทําขอมูลสถานภาพทรัพยากรปาไม อันประกอบดวยกิจกรรม การแปลตีความขอมูลภาพถายจากดาวเทียม การสํารวจภาคสนามเพื่อตรวจสอบความถูกตองของการ แปลตีความขอมูลภาพถายจากดาวเทียมจะดําเนินการโดยใชวิธกี ารสํารวจแบบสุม ตัวอยาง วิธีการในการดําเนินงาน 1. การสรางจุดสํารวจโดยการหาจุดตัด ทั้งทางแกน x และแกน y ทุกๆ 5 ลิปดา โดยใช Projection Geographic บน datum และ Spheroid WGS84 ไดจํานวนจุดทั้งหมด 6,226 จุด ทั่วประเทศแบงเปน ชนิดของจุดตาง ๆ เพือ่ นํามาเปนแนวทางในการกําหนดจุดสํารวจ ดังนี้ ระยะหางของจุด ที่ 5 * 5 ลิปดา จํานวน 5,536 จุด ระยะหางของจุด ที่ 15 * 15 ลิปดา จํานวน 520 จุด ระยะหางของจุด ที่ 30 * 30 ลิปดา จํานวน 128 จุด ระยะหางของจุด ที่ 1 * 1 องศา จํานวน 42 จุด 2. กําหนดพื้นที่สํารวจจาก จุดสํารวจตามขอ 1. โดยมีขนาดพืน้ ที่ 1 x 1 กิโลเมตร โดยสรางจาก ระบบ UTM ทีค่ รอบคลุมจุดสํารวจในขอ 1. ครอบคลุม พื้นที่สาํ รวจ ทัง้ หมด 3,891,250 ไร

1

2

ภาพที่ 1 จุดสํารวจทัว่ ประเทศ 3. การกําหนดชื่อ จากคาพิกัดจุดสํารวจเปนองศา โดยตั้งคาจากคา E ถึงหนวยของลิปดา และ ตามดวยคา N ถึงหนวยของลิปดา ของจุดสํารวจ เชน ชื่อจุด 099301705 มาจากคา E ที่ 99 องศา 30 ลิปดา 0 ฟลิปดา ตะวันออก และคา N ที่ 17 องศา 5 ลิปดา 0 ฟลิปดา เหนือ การกําหนดชือ่ รองจากการเรียงตัวของจุดทั้งหมด 6,226 จุด และแบงประเภทของจุดสํารวจ ตามชนิดของจุดสํารวจ โดยใชตัวอักษร ตามดวยลําดับของจุด ประเภทจุดสํารวจ 1 องศา ใชตัว D และเริ่มจาก D0001 ถึง D0042 ประเภทจุดสํารวจ 30 ลิปดา ใชตัว H และเริ่มจาก H0001 ถึง D0128 ประเภทจุดสํารวจ 15 ลิปดา ใชตัว Q และเริ่มจาก Q0001 ถึง Q0520 ประเภทจุดสํารวจ 5 ลิปดา ใชตัว S และเริ่มจาก S0001 ถึงS5536

4. การดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552 ไดวางแผนการสํารวจใหครอบคลุมพื้นทีท่ ั้งประเทศ ไทย ที่จุดสํารวจระยะหางของจุด ที่ 1 * 1 องศา จํานวน 42 จุด และระยะหางของจุด ที่ 30 * 30 ลิปดา จํานวน 128 จุด รวม 170 แปลง ซึง่ อยูในความรับผิดชอบของศูนยปฎิบัติการภูมิสารสนเทศ (สุราษฎรธานี) จํานวน 22 แปลงสํารวจ รายละเอียดดังภาพที่ 2 และตารางที่ 1

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงที่ตงั้ แปลงสํารวจ ปงบประมาณ 2552

3

4

ตารางที่ 1 รายละเอียดที่ตั้งแปลงสํารวจ ปงบประมาณ 2552 ลําดับ หมายเลขแปลง ตําบล

อําเภอ

จังหวัด

พิกัด X

พิกัด Y

1

099000800

ต.คลองขนาน

อ.เหนือคลอง

จ.กระบี่

500834

884199

2

099001030

ต.บานนา

อ.เมืองชุมพร

จ.ชุมพร

500834

1160197

3

099001000

ต.วังตะกอ

อ.หลังสวน

จ.ชุมพร

500834

1105198

4

099300730

ต.คลองลุ

อ.กันตรัง

จ.ตรัง

555834

829199

5

099300830

ต.ละอาย

อ.ฉวาง

จ.นครศรีธรรมราช 555834

939198

6

100000800

ต.ชะอวด

อ.ชะอวด

จ.นครศรีธรรมราช 610834

884199

7

099300800

ต.บานลํานาว

อ.บางขัน

จ.นครศรีธรรมราช 555834

884199

8

100000830

ต.ปากพูน

อ.เมืองนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช 610834

939198

9

101300600

ต.ชางเผือก

อ.จะแนะ

จ.นราธิวาส

776833

663199

10

098300900

ต.บางวัน

อ.คุระบุรี

จ.พังงา

445834

994198

11

098300830

ต.ปากอ

อ.เมืองพังงา

จ.พังงา

444835

939198

12

100000730

ต.สมหวัง

อ.กงหรา

จ.พัทลุง

610834

829199

13

101300630

ต.จะกวะ

อ.รามัน

จ.ยะลา

776833

719199

14

098300930

ต.บางหิน

อ.กะเปอร

จ.ระนอง

445834

1050198

15

101000630

ต.จะแหน

อ.สะบายอย

จ.สงขลา

721833

718199

16

100300700

ต.คอหงส

อ.หาดใหญ

จ.สงขลา

665833

774199

17

100000700

ต.ควนกาหลง

อ.ควนกาหลง

จ.สตูล

610834

773199

18

099300900

ต.ชางซาย

อ.กาญจนดิษฐ

จ.สุราษฎรธานี

554834

994198

19

100000930

ต.หนาเมือง

อ.เกาะสมุย

จ.สุราษฎรธานี

609834

1050198

20

099000900

ต.ยานยาว

อ.คีรีรัฐนิคม

จ.สุราษฎรธานี

500834

994198

21

099000830

ต.คลองนอย

อ.ชัยบุรี

จ.สุราษฎรธานี

500834

939198

22

099000930

ต.ปากหมาก

อ.ไชยา

จ.สุราษฎรธานี

500834

1050198

การสํารวจภาคสนาม อุปกรณและเครื่องมือ 1. ภาพถายจากดาวเทียม Landsat-5 1.1 ซีน 12855 ถายภาพเมือ่ วันที่ 9 มีนาคม 2548 1 กันยายน 2548 และ22 กันยายน 2551 1.2 ซีน 12953 ถายภาพเมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2548 1.3 ซีน 12954 ถายภาพเมือ่ วันที่ 3 มีนาคม 2549 และ24 มีนาคม 2552 1.4 ซีน 12955 ถายภาพเมือ่ วันที่ 20 เมษายน 2549 1.5 ซีน 13053 ถายภาพเมือ่ วันที่ 11 กุมภาพันธ 2552 1.6ซีน 13054 ถายภาพเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2552 2. กลองถายรูปดิจิตอล 3. เครื่อง GPS 4. เข็มทิศ วิธีการปฎิบตั ิงานตรวจสอบการใชประโยชนที่ดิน 1. เตรียมภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ป 2552 หรือภาพถายจากดาวเทียมปลาสุด ของบริเวณพืน้ ที่ดาํ เนินการ เพื่อใชในการวางแผนการสํารวจ

ภาพที่ 3 ตัวอยางภาพถายดาวเทียม Landsat-5 Band 4 5 3

5

2. นํากรอบของพืน้ ที่สาํ รวจมาครอบ บริเวณพืน้ ที่ดาํ เนินการ เพื่อวางแผนการสํารวจ และ กําหนดจุดที่ตอ งทําการสํารวจในแตละแปลง โดยกําหนดใหทําการแปลตีความทีม่ าตราสวน 1:10,000 การเลือกภาพถายดาวเทียม ใหใชภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ป 2552(2009) เปนปหลักถาไมมีภาพ หรือพบเมฆปกคลุมพืน้ ที่จนไมสามารถแปลตีความได ใหใชภาพถายปกอนหนา ซึ่งในการปฎิบตั ิงาน ของศูนยปฎิบตั ิการภูมิสารสนเทศ (สุราษฎรธานี) ใชภาพถายดาวเทียม ป พ.ศ.2548 จํานวน 4 แปลง ป พ.ศ. 2549 จํานวน 7 แปลง ป พ.ศ.2551 จํานวน 1 แปลง และป พ.ศ.2552 จํานวน 7 แปลง

ภาพที่ 4 ตัวอยางภาพถายดาวเทียม Landsat-5 มาตราสวน 1:50,000 ถายภาพเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2552 ในบริเวณแปลงหมายเลข 99001030 ต.บานนา อ.เมืองชุมพร จ.ชุมพร 3. นําภาพถายดาวเทียมมาแปลตีความและจําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินของแตละ แปลง และกําหนด รหัสใหกับประเภทของการใชประโยชนที่ดินแตละประเภทดวย การแปลระดับ 3 (Level 3) สําหรับการแปลตีความการใชประโยชนที่ดินแตละประเภท ที่มีขนาดพื้นที่มากกวา 10 ไร (20 pixels) ขึ้นไป ยกเวนพื้นที่ที่เปน น้ํา ใหแปลทุก pixels

6

7

99°0'0"E

500100

500200

500300

จุดสํารวจที่3

500400

500500

500600

500700

500800

501000

501100

501200

501100

501200

231

231

0! 99001030 .

500900

. !

10°30'0"N

500000

1159800 1159900 1160000 1160100 1160200 1160300 1160400 1160500 1160600 1160700 1160800 1160900 1161000 1161100 1161200

10°30'0"N

499900

1159800 1159900 1160000 1160100 1160200 1160300 1160400 1160500 1160600 1160700 1160800 1160900 1161000 1161100 1161200

499800

จุดสํารวจที่1

จุดสํารวจที่4 232

. !

. !

จุดสํารวจที่2

230

499800

499900

500000 99°0'0"E

500100

500200

500300

500400

500500

500600

500700

500800

500900

501000

ภาพที่ 5 ตัวอยางการแปลตีความการใชประโยชนที่ดิน แปลงสํารวจ ขนาดแปลง 1 x 1 km2. 4. พิจารณาพื้นที่แตละแปลงที่ไดจากการแปลภาพแลวเสร็จ โดยพิจารณาจากประเภทของการ ใชประโยชนที่ดินแตละประเภท แลวทําการเลือกจุดที่จะตองทําการสํารวจของแตละแปลง ซึ่งจุดที่เลือก ทําการสํารวจนั้น ตองเปนตัวแทนที่เหมาะสมแตละประเภทการใชประโยชนที่ดินของพื้นที่นั้นๆ ดวย รวมทั้งตองพิจารณาถึงความยาก-งาย ของการเขาถึงพื้นที่เปาหมายแตละจุด และเวลาที่ใชในการ ปฏิบัติงานดวยปริมาณจุดสํารวจภายในแปลงๆ หนึ่ง ตองครอบคลุมลักษณะการใชประโยชนที่ดินของ พื้นที่นั้น ๆ และจํานวนจุดที่ตองทําการสํารวจภายในแปลงสํารวจแตละแปลง ขึ้นอยูกับสภาพความ หลากหลายของประเภทการใชประโยชนที่ดิน 5. การเขาสํารวจภาคสนามในพื้นที่เปาหมายที่กําหนดไว เพื่อทําการจําแนกลักษณะการใช ประโยชนที่ดินแตละประเภท ซึ่งไดวางแผนกําหนดจุดสํารวจของแตละแปลงไวแลวขางตน การเขาถึง พื้นที่หรือจุดสํารวจนั้น ผูสํารวจควรเขาไปยังจุดศูนยกลางของจุดเปาหมายที่กําหนดไวใหไดมากที่สุด ถามีเหตุใหเขาไปยังจุดศูนยกลางของจุดไมไดใหบันทึกหมายเหตุไว เชน เมื่อเขาพื้นที่สํารวจไมไดอาจ ติดปญหา เชน เปนพื้นที่ชาวบาน มีรั้ว ลอมรอบ ใหใชวิธีเขาใกลพื้นที่มากที่สุด ก็ใหหมายเหตุไว และทํา การจับคาพิกัดจุดที่ใกลเคียงไว การทํางานดังนี้คือ 1) บันทึกคาพิกัด ณ จุดศูนยกลางของพืน้ ที่แปลงแตละแปลง ตัวอยางดังตารางที่ 2

2) ถายรูปของสภาพพืน้ ที่แปลง ตองถายรูปสภาพของพืน้ ที่อยางนอย 5 รูป คือ ภาพของสภาพ ทั้ง4 ทิศของแปลงสํารวจ และอีกหนึ่งภาพก็คือ ภาพทีแ่ สดงสภาพการปกคลุมของเรือนยอด ณ จุดศูนย กลางแปลง ตัวอยาง เชน จุดสํารวจที่ 1 ชื่อภาพ H0020011201 ชื่อภาพ H0020010301

ชื่อภาพ H0020010601

ชื่อภาพ H0020010001

ภาพที่ 6 ตัวอยางการถายภาพ ในพื้นที่สํารวจ

ชื่อภาพ H0020010901

8

3) บันทึกรายละเอียดของลักษณะการใชประโยชนทดี่ ินของแตละแปลง ซึ่งอาจใชแผนที่ ภาพถายทางอากาศ ณ แปลงนัน้ ๆ ประกอบดวย เพื่อตรวจสอบวามีสภาพการใชประโยชนที่ดินเหมือน หรือตางจากในที่ปรากฏในแผนที่อยางไร และบันทึกรายละเอียดไว โดยใช รหัสการแปลระดับ 3 ตารางที่ 2 แบบบันทึกขอมูลการตรวจสอบการใชประโยชนที่ดิน จุดสํารวจ

UTM Zone

คาพิกัด X

คาพิกัดY

1 2 3 4

47 47 47 47

500797 500573 500030 500214

1160470 1160255 1160729 1160359

รหัสการใช ประโยชนที่ดิน 231 230 231 232

หมายเหตุ มีลองกองแซม สวนสมรม

4) บันทึกเสนทางการเขาถึงพื้นที่ ในรูปแบบของ line ที่เปน Shape File โดยบันทึกเสนทาง อางอิงกับถนนสายหลัก

ภาพที่ 7 ตัวอยาง Track การเขาพื้นที่ ผลการปฎิบตั ิงาน ผลการแปลตีความการใชประโยชนที่ดินจากภาพถายดาวเทียมแลวทําการสํารวจภาคสนาม เพื่อตรวจสอบความถูกตองดําเนินการไดเพียง 19 แปลงตัวอยาง 120 จุดสํารวจ เนื่องจากปญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใตมีขอจํากัดของการเขาถึงพื้นที่ และความปลอดภัยของเจาหนาที่ รายละเอียด ดังตารางที่ 3 และภาพที่ 8

9

ตารางที่ 3 รายละเอียดที่ตั้งแปลงสํารวจ ที่ไดดําเนินการในปงบประมาณ 2552 ตําบล

อําเภอ

จังหวัด

พิกัด10X

ลําดับที่

หมายเลขแปลง

พิกัด Y

วันที่ถา ยภาพดาวเทียม

ซีน

1

099000800

ต.คลองขนาน

อ.เหนือคลอง

จ.กระบี่

500834

884199

24 มีนาคม 2552

12954

2

099001000

ต.วังตะกอ

อ.หลังสวน

จ.ชุมพร

500834

1105198

27 พฤศจิกายน 2548

12953

3

099300730

ต.คลองลุ

อ.กันตรัง

จ.ตรัง

555834

829199

20 เมษายน 2549

12955

4

099300830

ต.ละอาย

อ.ฉวาง

จ.นครศรีธรรมราช

555834

939198

3 มีนาคม 2549

12954

5

100000800

ต.ชะอวด

อ.ชะอวด

จ.นครศรีธรรมราช

610834

884199

24 มีนาคม 2552

12954

6

099300800

ต.บานลํานาว

อ.บางขัน

จ.นครศรีธรรมราช

555834

884199

3 มีนาคม 2549

12954

7

100000830

ต.ปากพูน

อ.เมืองนครศรีธรรมราช

จ.นครศรีธรรมราช

610834

939198

3 มีนาคม 2549

12954

8

98300905

ต.เขาพัง

อ.บานตาขุน

จังหวัดสุราษฎธานี

445000

1004000

11 กุมภาพันธ 2552

13054

9

099001030

ต.บานนา

อ.เมืองชุมพร

จ.ชุมพร

500834

1160197

11 กุมภาพันธ 2552

13053

10

098300830

ต.ปากอ

อ.เมืองพังงา

จ.พังงา

444835

939198

11 กุมภาพันธ 2552

13054

11

100000730

ต.สมหวัง

อ.กงหรา

จ.พัทลุง

610834

829199

22 กันยายน 2551

12855

12

098300930

ต.บางหิน

อ.กะเปอร

จ.ระนอง

445834

1050198

11 กุมภาพันธ 2552

13053

13

100300700

ต.คอหงส

อ.หาดใหญ

จ.สงขลา

665833

774199

1 กันยายน 2548

12855

14

100000700

ต.ควนกาหลง

อ.ควนกาหลง

จ.สตูล

610834

773199

9 มีนาคม 2548

12855

15

099300900

ต.ชางซาย

อ.กาญจนดิษฐ

จ.สุราษฎรธานี

554834

994198

3 มีนาคม 2549

12954

16

100000930

ต.หนาเมือง

อ.เกาะสมุย

จ.สุราษฎรธานี

609834

1050198

1 เมษายน 2548

12953

17

099000900

ต.ยานยาว

อ.คีรีรัฐนิคม

จ.สุราษฎรธานี

500834

994198

3 มีนาคม 2549

12954

18

099000830

ต.คลองนอย

อ.ชัยบุรี

จ.สุราษฎรธานี

500834

939198

24 มีนาคม 2552

12954

19

099000930

ต.ปากหมาก

อ.ไชยา

จ.สุราษฎรธานี

500834

1050198

3 มีนาคม 2549

12954

11

ภาพที่ 8 แผนที่แสดงที่ตงั้ แปลงสํารวจ ที่ไดดําเนินการสํารวจปงบประมาณ 2552

ผลการตรวจสอบการแปลตีความการใชประโยชนที่ดินภาคสนาม เพื่อตรวจสอบความถูกตอง ดําเนินการไดเพียง 19 แปลงตัวอยาง 120 จุดสํารวจ ปรากฎวามีการใชประโยชนที่ดนิ ทัง้ หมด 19 ประเภท รายละเอียดดังนี้ 1. ยางพารา จํานวน 54 จุดสํารวจ 2. ปาลม จํานวน12 จุดสํารวจ 3. ปาดิบชื้น จํานวน 8 จุดสํารวจ 4. พืชสวน จํานวน 5 จุดสํารวจ 5. สถานที่ราชการ จํานวน 4 จุดสํารวจ 6. ปาชายเลน นากุง และหมูบ าน จํานวนประเภทละ 3 จุดสํารวจ 7. ปาดิบประเภทอื่น ๆ สวนทุเรียน สวนมะพราว และพืน้ ที่อนื่ ๆ จํานวนประเภทละ 2 จุด สํารวจ 8. ปาพรุหรือปาบึงน้าํ จืด ปาทีไ่ มสมบูรณที่ไมมีการจําแนก ปารุน สอง นาดํา พืชสวนอืน่ ๆ และทะเล จํานวนประเภทละ 1 จุดสํารวจ ยางพารา

จํานวนจุดสํารวจการใชประโยชนที่ดิน

ปาลม ปาดิบชื้น พืชสวน สถานที่ร าชการ ปาชายเลน

3 4

3

นากุง

1 1 1 1 11 2 2 2 2 3

หมูบาน ปาดิบประเภทอื่น ๆ สวนทุเรีย น สวนมะพราว 54

5

พื้นที่อื่น ๆ ปาพรุ

8

ปาไมสมบูร ณ 12

ปารุนสอง นาดํา พืชสวนอื่น ๆ ทะเล

ภาพที่ 9 กราฟแสดงจํานวนจุดสํารวจการใชประโยชนที่ดิน

12

13 จํานวนแปลงสํารวจในแตละจังหวัด

สุร าษฎรธานี

ตามแผนการปฎิบัติงานปงบประมาณ 2552

ชุมพร

1

1

1

นครศรีธรรมราช 5

พังงา

1

สงขลา

1

กระบี่ ตรัง นราธิวาส

1 1

4

พัทลุง ยะลา

2 2

2

ระนอง สตูล

ภาพที่ 10 กราฟแสดงจํานวนแปลงสํารวจในแตละจังหวัด ตามแผนในปงบประมาณ พ.ศ.2552

จํานวนแปลงสํา รวจในแตละจังหวัดที่ไดดําเนินการในปงบประมาณ 2552

สุร าษฎรธานี นครศรีธรรมราช

1

1

ชุมพร

1 6

1 1

พังงา สงขลา กระบี่ ตรัง

1

พัทลุง

1 2

4

ระนอง สตูล

ภาพที่ 11 กราฟแสดงจํานวนแปลงสํารวจในแตละจังหวัด ที่ไดดําเนินการในปงบประมาณ พ.ศ.2552

14

ภาคผนวก

ประมวลภาพกิจกรรม

ภาพผนวกที่ 1 การเดินทางเขาสูพนื้ ที่สํารวจ

15

16

ภาพผนวกที่ 2 สภาพของพื้นที่แปลงตัวอยางและพืน้ ที่สํารวจ

17

ภาพผนวกที่ 3 การปฏิบัติงานและบันทึกขอมูลตางๆ

p4.pdf

There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. p4.pdf. p4.pdf.

3MB Sizes 3 Downloads 171 Views

Recommend Documents

No documents