หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตและหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2559

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

1

สารบัญ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป รหัสและชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา วิชาเอก จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร รูปแบบของหลักสูตร สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร สถานที่จัดการเรียนการสอน สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร ผลกระทบต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของมหาวิทยาลัย หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร แผนพัฒนาปรับปรุง หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการหลักสูตร หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต กฎ ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาของหลักสูตร

หน้า 3 3 3 3 3 4 5 5 5 5 6 6 7 8 9 9 10 12 12 12 15 41 41 44 44 46 56 56 56 56

2

สารบัญ (ต่อ) หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน การบริหารคณาจารย์ การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน การสนับสนุนและการให้คาแนะนานิสิต ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน หมวดที่ 8 การประเมินและการปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร การประเมินประสิทธิผลของการสอน การประเมินหลักสูตรในภาพรวม การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร การทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง ภาคผนวก เอกสารแนบหมายเลข 1 คาอธิบายรายวิชา เอกสารแนบหมายเลข 2 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจาหลักสูตร เอกสารแนบหมายเลข 3 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้ สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) เอกสารแนบหมายเลข 4 ฐานข้อมูลในการตีพิมพ์ผลงาน เอกสารแนบหมายเลข 5 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เอกสารแนบหมายเลข 6 คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร เอกสารแนบหมายเลข 7 ผลการวิพากษ์หลักสูตรจากผู้ทรงคุณวุฒิ

หน้า 58 58 58 59 59 59 60 61 61 62 63 66 66 66 66 66 68 69 79 88 96 97 113 115

3

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตและหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2559 ชื่อมหาวิทยาลัยอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา บางแสน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัส: ภาษาไทย: หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ภาษาอังกฤษ: Master of Engineering Program in Chemical Engineering รหัส: ภาษาไทย: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ภาษาอังกฤษ: Doctor of Philosophy Program in Chemical Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อปริญญาภาษาไทย: ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: อักษรย่อภาษาไทย: อักษรย่อภาษาอังกฤษ:

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) Master of Engineering (Chemical Engineering) วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) M.Eng. (Chemical Engineering)

ชื่อปริญญาภาษาไทย: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Doctor of Philosophy (Chemical Engineering) อักษรย่อภาษาไทย: ปร.ด. (วิศวกรรมเคมี) อักษรย่อภาษาอังกฤษ: Ph.D. (Chemical Engineering) 3. วิชาเอก - ไม่มี – 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 4.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก1 ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก2 ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต แผน ข ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

4 4.2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แบบที่ 1 ทาดุษฎีนิพนธ์อย่างเดียว แบบ 1.1 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท แบบ 1.2 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี แบบที่ 2 เรียนรายวิชาและทาดุษฎีนิพนธ์ แบบ 2.1 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท แบบ 2.2 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ  หลักสูตรปริญญาโท 2 ปี  หลักสูตรปริญญาเอก 3 ปี  หลักสูตรปริญญาโท-เอก 4 ปี 5.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา)  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา) ภาษาอังกฤษ 5.3 การรับเข้าศึกษา  รับเฉพาะนิสิตไทย  รับเฉพาะนิสิตต่างชาติ  รับทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ 5.4 ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น  เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ  เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น ชื่อสถาบัน............................รูปแบบของความร่วมมือสนับสนุน................................  เป็นหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่น ชื่อสถาบัน.......................................ประเทศ............................................... รูปแบบของการร่วม  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯ เป็นผู้ให้ปริญญา  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯอื่น เป็นผู้ให้ปริญญา  ร่วมมือกัน โดยผู้ศึกษาอาจได้รับปริญญาจากสองสถาบัน (หรือมากกว่า 2 สถาบัน)

5 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  ให้ปริญญามากกว่า 1 สาขาวิชา (เช่น ทวิปริญญา)  อื่น ๆ (ระบุ)............................................... 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2559 เปิดสอน ภาคต้น พ.ศ. 2559 (เดือนสิงหาคม 2559)  สภาวิชาการให้ความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ ............................... วันที่ ............. เดือน ......................พ.ศ. .................  สภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ ....................... วันที่ ............. เดือน ......................พ.ศ. .................  สภาวิชาชีพ.................เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ ............................. วันที่ ............. เดือน ......................พ.ศ. ................ 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี มีความ พร้ อ มในการเผยแพร่ ห ลั ก สู ตรที่ มี คุณ ภาพและมาตรฐาน ตามมาตรฐานคุณ วุ ฒิ ระดั บอุ ด มศึ ก ษา แห่งชาติ ในปีการศึกษา 2560 และ 2561 ตามลาดับ 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา วิศวกรเคมี วิศวกรออกแบบหรือควบคุมระบบที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเคมี นักวิชาการหรือนักวิจัย อาจารย์สถาบันอุดมศึกษา 9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (1) นางสาววันเช็ง สิทธิกิจโยธิน เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-1303-0062x-xx-x Ph.D. (Chemical Engineering) University of Porto, Portugal พ.ศ. 2549 วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2542 ส.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2556 วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ศ. 2538 ตาแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

6 (2) นางสาวไพลิน เงาตระการวิวัฒน์ เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-1021-0119x-xx-x Ph.D. (Applied Chemistry) University of Tokyo, Japan พ.ศ. 2547 M.S. (Petrochemical Technology) Chulalongkorn University พ.ศ. 2541 วท.บ. (เคมีเทคนิค) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2539 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (3) นางสาวปิยฉัตร วัฒนชัย เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-2099-0040x-xx-x Ph.D. (Chemical Engineering) Cambridge University, England พ.ศ. 2545 M.S. (Chemical Engineering) Texas A&M University, USA พ.ศ. 2541 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2538 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (4) นางสาววชิรา ดาวสุด เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-2501-0062x-xx-x วศ.ด. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2541 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 10. สถานที่จัดการเรียนการสอน  ในสถานที่ตั้ง  นอกสถานที่ตั้ง ได้แก่ ...................................... 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ภายใต้ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน เพื่อสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศให้ เข้มแข็งและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมถึงการบูร ณาการความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในบริบทของประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community) ทาให้มี ความจาเป็นต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ขั้นสูงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว เพื่อรองรับ การเติบโตของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีบทบาทส าคัญต่อเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การออกแบบและควบคุ ม กระบวนการผลิ ต การจั ด การพลั ง งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กระบวนการผลิต รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ล้วนแต่อาศัยองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมี ดังนั้น การผลิตมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตทางด้านวิศวกรรมเคมีที่มีความรู้ ความสามารถในวิจัยและบูรณาการ ความรู้ด้านวิศวกรรมเคมีกับสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จึงเป็นหน้าที่สาคัญของหน่วยงานระดับอุดมศึกษา

7 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ตามกรอบความร่วมมือทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Culture Community) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และส่ งเสริม อัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) ร่วมกับการจัดทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก 7 อาชีพ โดยวิศวกรจัดเป็นหนึ่งในเจ็ดอาชีพ ที่สามารถเข้าไปทางานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ในการพัฒนาการศึกษาให้มีมาตรฐานและสามารถรองรับนิสิตจากประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี เพื่อรองรับกับการพัฒนา ทางด้านสังคมและวัฒนธรรม 12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย 12.1 การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ให้มีความสอดคล้องกับ สถานการณ์ปั จจุ บันที่ต้องการวิศวกรที่มีความรู้ ความสามารถขั้นสู ง สามารถวิเคราะห์ และแก้ปัญหาที่ ซับซ้อนทางด้านอุตสาหกรรมเคมี จนนามาสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางด้านวิศวกรรมเคมี อีกทั้งมุ่งเน้น ผลิ ต มหาบั ณ ฑิ ต และดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (Social Resposibility) และมีทักษะในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้ โดยหลักสูตรฯ ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญจาก ภาคอุตสาหกรรมมาถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้แก่นิสิต และยังมุ่งเน้นการเรียนรู้จาก การฝึกประสบการณ์ตรงผ่านกระบวนการสหกิจศึกษา (Work Integrated Learning) เพื่อให้นิสิตสามารถ พัฒนาทักษะในการประยุกต์องค์ความรู้ ในแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเคมีในภาคอุตสาหกรรม 12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 ได้ระบุ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของมหาวิทยาลัยบูรพาว่า “ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันการศึกษาและการวิจัย มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ดาเนิ น การและส่ ง เสริ ม งานวิ จั ย เพื่อ สร้ างและพั ฒ นาองค์ค วามรู้ และเทคโนโลยี ให้ บริ การวิ ช าการ ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬา รวมทั้งการสนับสนุนกิจกรรมของรัฐและท้ องถิ่น และ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม” ซึ่งนาไปสู่พันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยบูรพา คือ การจัดการศึกษา การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย และการส่งเสริมกิจกรรมสาธารณะในรูปแบบต่างๆ โดย หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต และหลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ศ วกรร มเคมี นี้ สอดคล้องกับพันธกิจในด้านการจัดการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพงานวิจัย เพื่อผลิต มหาบัณฑิตและ ดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมเคมี จนนามาสู่การสร้าง องค์ความรู้ใหม่ทางด้านวิศวกรรมเคมี เพื่อรองรับการเข้าสู่ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย

8 ตะวันออกเฉียงใต้ ในบริบทของประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ซึง่ มีนิคมอุตสาหกรรมจานวนมาก ทีต่ ั้งอยู่ล้อมรอบมหาวิทยาลัยบูรพา 13. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของมหาวิทยาลัย (เช่น รายวิชาที่เปิดสอนเพื่อให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่น หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น) 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชา ในหลักสูตรที่เปิดสอนโดย คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น - ไม่มี 13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชา ในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ ภาควิชา/หลักสูตรอื่น ต้องมาเรียน - ไม่มี 13.3 การบริหารจัดการ - ไม่มี -

9

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร -ปรัชญามุ่งผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมเคมีที่มีความรู้ ความสามารถระดับสูง มีทักษะในการวิจัยและ บูรณาการความรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ มีทักษะในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ควบคู่ด้วยคุณธรรม และจริยธรรม มีความรับผิดชอบและเป็นผู้นาสังคม -ความสาคัญหลั กสู ตรนี้พัฒนาขึ้นเพื่อรองรับ การเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) ด้าน คุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก 7 อาชีพ ที่สามารถเข้าไปทางานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ อย่างเสรี จึงมีความจาเป็นต้องผลิตบุคลากรที่มีความรู้และความสามารถขั้นสูง สามารถบูรณาการองค์ความรู้ ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางวิศวกรรมเคมี และมีทักษะในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้ -วัตถุประสงค์หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้แล้ว แผน ก มหาบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรแผน ก จะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการแก้ปัญหาเชิง วิเคราะห์ สังเคราะห์ด้านวิศวกรรมเคมีที่ซับซ้อนได้ มี จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพที่ วิศวกรพึงมี และมีภาวะการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบทั้งตนเองและผู้อื่น อีก ทั้งมีทักษะการทาวิจัย และทักษะการสื่อสารทั้งทางพูด เขียน และนาเสนอผลงานทางด้าน วิชาการด้วยภาษาอังกฤษที่ดี แผน ข มหาบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรแผน ข จะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการแก้ปัญหาเชิง วิเคราะห์ สังเคราะห์ด้านวิศวกรรมเคมี มีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพที่วิศวกรพึงมี และมีภาวะการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบทั้งตนเองและผู้อื่น อีกทั้งมีทักษะ การสื่ อ สารทั้ ง ทางพู ด เขี ย น และน าเสนอผลงานทางด้ า นวิ ช าการด้ ว ยภาษาอั ง กฤษที่ เหมาะสม

10 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ที่ จ บจากหลั ก สู ต รนี้ จะเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถในการแก้ ปั ญ หาเชิ ง วิเคราะห์ สังเคราะห์ด้านงานวิศวกรรมเคมีขั้นสูงที่ซับซ้อนได้ มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ วิชาชีพที่วิศวกรพึงมี และมีภาวะการตัดสินใจที่เหมาะสม มีความผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความ รั บ ผิ ดชอบทั้ง ตนเองและผู้ อื่น มีทักษะการสื่ อสารทั้ งทางพูด เขียน และนาเสนอผลงาน ทางด้านวิชาการด้วยภาษาอังกฤษที่ดี อีกทั้งมีทักษะการทาวิจัยที่ซับซ้อนได้ สามารถสร้าง องค์ความรู้ด้านงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและพัฒนาองค์ความรู้ดังกล่าว เพื่อนาไปประยุกต์ต่อไปได้ อย่างเหมาะสม 2. แผนพัฒนาปรับปรุง แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง หลักสูตรฯ ต้องมีมาตรฐาน ระดับชาติและนานาชาติ

กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทาง วิชาการกับหน่วยงานภายนอกทั้ง ในและต่างประเทศ

หลักฐาน/ตัวบ่งชี้

1. มีความร่วมมือทางวิชาการ กับหน่วยงานภายนอกทั้งใน และต่างประเทศ อย่างน้อย 5 โครงการ 2. ติดตามประเมินหลักสูตรฯ ตาม 2. ผลการประเมินหลักสูตรฯ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา ตามมาตรฐานคุณวุฒิ แห่งชาติ ในปีการศึกษา 2559 ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ อย่างสม่าเสมอ ในปีการศึกษา 2559 หลักสูตรฯ ต้องสอดคล้อง 1. ติดตามความเปลี่ยนแปลงและ 1. แบบสอบถามผู้ใช้บัณฑิต กับความต้องการของภาครัฐ ความต้องการของภาครัฐและ เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อ และภาคอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรม เพื่อเป็นข้อมูลใน หลักสูตรและความพึงพอใจ การพัฒนาหลักสูตรฯ ต่อคุณภาพของมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต โดยเฉลี่ย ระดับไม่ต่ากว่า 3.51 จาก 5.0 2. เชิญผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและ 2. หลักฐานหรือเอกสาร ภาคอุตสาหกรรม ให้มีส่วนร่วมใน แสดงผลการดาเนินงาน การสอนและพัฒนาหลักสูตร

11 แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง คณาจารย์ในหลักสูตรฯ ต้องได้รับการพัฒนา ศักยภาพด้านการเรียนการ สอนและการวิจัยอย่าง ต่อเนื่อง

กลยุทธ์

หลักฐาน/ตัวบ่งชี้

1. ติดตามแบบประเมินการสอนของ คณาจารย์ โดยนิสิต 2. คณาจารย์ต้องมีผลงานวิจัยอย่าง ต่อเนื่อง และนาผลงานวิจัยมา บูรณาการในการเรียนการสอน

1. แบบประเมินการสอนของ คณาจารย์ โดยนิสิต 2. หลักฐานหรือเอกสาร แสดงผลการดาเนินงาน

หลักสูตรฯ ต้องพัฒนาสื่อ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

1. ติดตามความพึงพอใจของนิสิตต่อ สื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

1. หลักฐานหรือเอกสาร แสดงผลการดาเนินงาน และ แบบสอบถามความพึงพอใจ ของนิสิตต่อสื่อและสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้

12

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ  ระบบทวิภาค  ระบบไตรภาค  ระบบจตุรภาค  ระบบอื่น ๆ (ระบุรายละเอียด)........................................................... 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน  มีภาคฤดูร้อน จานวน..............ภาค ภาคละ............สัปดาห์  ไม่มีภาคฤดูร้อน 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน – เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน  วัน–เวลาราชการปกติ  นอกวัน–เวลาราชการ (ระบุ) อาจจัดการเรียนการสอนในช่วงวันเสาร์-อาทิตย์ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 1) เป็นผู้มีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2555 ข้อ 4 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2) เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีหรือเทียบเท่า 3) กรณีผู้เข้าศึกษาไม่ได้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาตามระบุในข้อ 2) ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้ หากจาเป็น ผู้เข้า ศึ ก ษาต้ อ งลงทะเบี ย นเรี ย นรายวิ ช าปรั บ พื้ น ฐาน ตามค าแนะน าของคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและต้องได้ระดับคะแนน S หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 1) เป็นผู้มีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2555 ข้อ 4 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2) แบบที่ 1 มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้

13 แบบ 1.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หรือ เทียบเท่าที่มีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโทไม่น้อย กว่า 3.50 และต้องผ่านการประเมินศักยภาพในการดาเนินงานวิจัยโดย คณะกรรมการบริหารหลักสูตร แบบ 1.2 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีหรือ เทียบเท่าที่มีผลการเรียนในระดับดีมากหรือเทียบเท่า และต้องผ่านการ ประเมิ นศั ก ยภาพในการด าเนิ น งานวิ จั ย โดยคณะกรรมการบริ ห าร หลักสูตร 3) แบบที่ 2 มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้ แบบ 2.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีหรือ เทียบเท่า และเป็นผู้มีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญา โทไม่น้อยกว่า 3.25 แบบ 2.2 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีหรือ เทียบเท่าที่มีผลการเรียนในระดับดีมากหรือเทียบเท่า และต้องผ่านการ ประเมิ นศั ก ยภาพในการด าเนิ น งานวิ จั ย โดยคณะกรรมการบริ ห าร หลักสูตร 4) คุ ณ สมบั ติ อื่ น ๆ ต้ อ งเป็ น ไปตามดุ ล ยพิ นิ จ ของคณะกรรมการบริ ห ารหลั ก สู ต ร เห็นสมควรให้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาได้ 5) กรณีผู้เข้าศึกษาไม่ได้สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีหรือเทียบเท่า ต้อง ได้รั บความเห็ นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลั กสู ตร ทั้งนี้ หากจาเป็น ผู้ เข้า ศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยต้องได้ระดับคะแนน S 2.3 ปัญหาของนิสิตแรกเข้า นิสิตที่ไม่ได้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรม เคมี อาจขาดความรู้พื้นฐานทางด้านวิศวกรรมเคมีที่เพียงพอในบางรายวิชาของหลักสูตร 2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจากัดของนิสิตในข้อ 2.3 กรณีที่นิสิตมีความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรมเคมีไม่เพียงพอ ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา ปรับพื้นฐานเพิ่มเติมตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดย ต้องได้ระดับคะแนน S ในรายวิชาปรับพี้นฐานดังนี้ 1. สมดุลมวลสารและพลังงาน 2. อุณหพลศาสตร์วิศวกรรมเคมี

14 3. จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ 4. ระเบียบวิธีเชิงเลขสาหรับวิศวกรรมเคมี 5. ปรากฏการณ์ถ่ายโอน 2.5 แผนการรับนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี แผนการรับนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี ของหลักสูตรระดับปริญญาโท ดังนี้ ปีการศึกษา 2559 2560 2561 2562 2563 ปริญญาโทแผน ก ข ก ข ก ข ก ข ก ข จานวนรับเข้า ปีที่ 1 5 10 5 10 10 15 10 15 15 20 ปีที่ 2 - 5 10 5 10 10 15 10 15 รวม 5 10 10 20 15 25 20 30 25 35 คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา - 5 10 5 10 10 15 10 15 แผนการรับนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี ของหลักสูตรระดับปริญญาเอก ดังนี้ ปีการศึกษา 2559 2560 2561 2562 2563 ปริญญาเอก แบบ 1.1/ 1.2/ 1.1/ 1.2/ 1.1/ 1.2/ 1.1/ 1.2/ 1.1/ 1.2/ 2.1 2.2 2.1 2.2 2.1 2.2 2.1 2.2 2.1 2.2 จานวนรับเข้า ปีที่ 1 2 1 2 1 3 2 3 2 4 3 ปีที่ 2 2 1 2 1 3 2 3 2 ปีที่ 3 2 1 2 1 3 2 ปีที่ 4 1 1 รวม 2 1 4 2 7 4 8 6 10 8 คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา 2 2 1 2 1 2.6 งบประมาณตามแผน

หน่วย : พันบาท หมวดรายจ่าย 1. งบบุคลากร 2. งบดาเนินการ 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน รวม

2559 300 500 500 300 1,600

2560 300 1000 500 300 2,100

2561 300 1500 600 300 2,700

2562 300 1500 600 300 2,700

2563 300 1500 600 300 2,700

15 2.7 ระบบการศึกษา  แบบชั้นเรียน  แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก  แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก  แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก (E-learning)  แบบทางไกลทางอินเตอร์เน็ต  อื่นๆ (ระบุ) 2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี) เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2555 ข้อ 28 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 3.1.1 จานวนหน่วยกิต แผน ก แบบ ก1 หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า แผน ก แบบ ก2 หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า แผน ข หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร จาแนกตามแผนการศึกษา มี 3 แบบ 3.1.2.1 โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก1 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 1) หมวดวิชาบังคับ - วิชาบังคับทั่วไป - วิชาแกนบังคับ 2) วิทยานิพนธ์ 3.1.2.2 โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก2 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 1) หมวดวิชาบังคับ - วิชาบังคับทั่วไป - วิชาแกนบังคับ 2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3) วิทยานิพนธ์ 3.1.2.2 โครงสร้างหลักสูตร แผน ข จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า

36 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต

36 หน่วยกิต ไม่นับหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 0 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต

16 1) หมวดวิชาบังคับ - วิชาบังคับทั่วไป - วิชาแกนบังคับ 2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3) งานนิพนธ์

15 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต

3.1.3 รายวิชา หลักสูตรแผน ก แบบ ก1 1) หมวดวิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต นิสิตที่ศึกษาในหลักสูตรแผน ก แบบ ก1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ทั่วไป แบบ ไม่นับหน่วยกิต (Audit) ดังนี้ รายวิชาบังคับทั่วไป จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar 2) วิทยานิพนธ์ 50269759 วิทยานิพนธ์ Thesis

จานวน 36 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 36(0-0-108)

หลักสูตรแผน ก แบบ ก2 1) หมวดวิชาบังคับ จานวน 15 หน่วยกิต นิสิตที่ศึกษาในหลักสูตรแผน ก แบบ ก2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ทั่วไปและ รายวิชาแกนบังคับ ดังนี้ รายวิชาบังคับทั่วไป จานวน 3 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar

17 รายวิชาแกนบังคับ 50250159 50250259 50250359 50250459

จานวน 12 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Mathematics for Chemical Engineering อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Thermodynamics for Chemical Systems ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงในกระบวนการทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena in Chemical Processes วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering

2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า จานวน 9 หน่วยกิต นิสิตสามารถเลือกลงทะเบียนรายวิชาไม่น้อยกว่า 3 รายวิชา โดยเลือกเรียนกลุ่มวิชา กระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี อย่างน้อย 2 รายวิชา และ/หรือจากกลุ่มวิช าตามพื้นฐานงาน วิทยานิพนธ์ (Specialization Track) ดังต่อไปนี้ (1) กลุ่มวิชากระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี 50261159 50261259 50261359 50261459 50261559 50261659 50261759

จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของวัสดุขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Materials Characterization พลังงานสะอาด 3(3-0-6) Clean Energy เคมีคอลลอย์และพื้นผิวประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Surface and Colloid Chemistry แบบจาลองและการวิเคราะห์กระบวนการ 3(3-0-6) Process Analysis and Simulation วัสดุสาหรับการใช้งานเฉพาะด้าน 3(3-0-6) Materials for Special Applications วิศวกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี 3(3-0-6) Petroleum and Petrochemical Engineering วิศวกรรมพอลิเมอร์ 3(3-0-6) Polymer Engineering

18 (2) กลุ่มวิชาตามพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์ 50262159 หัวข้ออุตสาหกรรมพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Industrial Special Topics in Chemical Engineering 50262259 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Special Topics in Chemical Engineering 50262359 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม Special Topics in Environmental Engineering 50262459 หัวข้อพิเศษทางการบริหารจัดการในอุตสาหกรรม Special Topics in Operation Management in Industry 50262559 หัวข้อพิเศษทางการจัดการพลังงาน Special Topics in Energy Management 50262659 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวเคมี Special Topics in Biochemical Engineering 50262759 หัวข้อพิเศษทางวัสดุวิศวกรรม Special Topics in Material Engineering 3) วิทยานิพนธ์ 50269959 วิทยานิพนธ์ Thesis

3(0-9-3) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

จานวน 12 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 12(0-0-36)

หลักสูตรแผน ข 1) หมวดวิชาบังคับ จานวน 15 หน่วยกิต นิสิตที่ศึกษาในหลักสูตรแผน ข ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ทั่วไปและรายวิชา แกนบังคับ ดังนี้ รายวิชาบังคับทั่วไป

จานวน 3 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar

19 รายวิชาแกนบังคับ 50250159 50250259 50250359 50250459

จานวน 12 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Mathematics for Chemical Engineering อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Thermodynamics for Chemical Systems ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงในกระบวนการทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena in Chemical Processes วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering

2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า จานวน 15 หน่วยกิต นิสิตสามารถเลือกลงทะเบียนรายวิชาไม่น้อยกว่า 5 รายวิชา โดยเลือกเรียนกลุ่มวิชา กระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี อย่างน้อย 3 รายวิชา และ/หรือจากกลุ่มวิช าตามพื้นฐานงาน วิทยานิพนธ์ (Specialization Track) ดังต่อไปนี้ (1) กลุ่มวิชากระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50261159 การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของวัสดุขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Materials Characterization 50261259 พลังงานสะอาด 3(3-0-6) Clean Energy 50261359 เคมีคอลลอย์และพื้นผิวประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Surface and Colloid Chemistry 50261459 แบบจาลองและการวิเคราะห์กระบวนการ 3(3-0-6) Process Analysis and Simulation 50261559 วัสดุสาหรับการใช้งานเฉพาะด้าน 3(3-0-6) Materials for Special Applications 50261659 วิศวกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี 3(3-0-6) Petroleum and Petrochemical Engineering 50261759 วิศวกรรมพอลิเมอร์ 3(3-0-6) Polymer Engineering

20 (2) กลุ่มวิชาตามพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์ 50262159 หัวข้ออุตสาหกรรมพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Industrial Special Topics in Chemical Engineering 50262259 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Special Topics in Chemical Engineering 50262359 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม Special Topics in Environmental Engineering 50262459 หัวข้อพิเศษทางการบริหารจัดการในอุตสาหกรรม Special Topics in Operation Management in Industry 50262559 หัวข้อพิเศษทางการจัดการพลังงาน Special Topics in Energy Management 50262659 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวเคมี Special Topics in Biochemical Engineering 50262759 หัวข้อพิเศษทางวัสดุวิศวกรรม Special Topics in Material Engineering

3(0-9-3) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

3) งานนิพนธ์

จานวน 6 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50269859 งานนิพนธ์ 6(0-0-18) Independent Study ความหมายของเลขรหัสวิชา รหัสวิชาประกอบด้วยเลข 8 หลัก มีความหมายดังนี้ เลขรหัส 502 หมายถึง สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี เลขรหัสหลักที่ 4 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโทและ/หรือระดับปริญญาเอก เลข 5 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโท เลข 6 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เลข 7-9 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาเอก เลขรหัสหลักที่ 5 หมายถึง หมวดวิชา ดังต่อไปนี้ เลข 0 หมายถึง รายวิชาแกนบังคับ เลข 1 หมายถึง รายวิชาเกี่ยวกับกระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี เลข 2 หมายถึง รายวิชาเกี่ยวกับพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์

21 เลข 8 หมายถึง รายวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาด้วยตนเอง หัวข้อพิเศษ หัวข้อขั้นสูง การสัมมนาและการวิจัย เลข 9 หมายถึง รายวิชาที่เกี่ยวกับงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ เลขรหัสหลักที่ 6 หมายถึง ลาดับรายวิชาในหมวดวิชาของเลขรหัสตัวที่ 5 เลขรหัสหลักที่ 7-8 คือ เลข 59 หมายถึง รหัสสาหรับหลักสูตรปี 2559 3.1.4 แผนการศึกษา แผนการศึกษาของนิสิตหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ในแต่ละ ภาคเรียนของปีการศึกษา มีรายละเอียดดังนี้ 3.1.4.1 หลักสูตรแผน ก แบบ ก1 ปีที่ 1 ภาคต้น (First Semester) หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

บังคับทั่วไป วิทยานิพนธ์

50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี (ไม่นับหน่วยกิต) 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50269759 วิทยานิพนธ์ 9(0-0-27) Thesis รวม 9 หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

ปีที่ 1 ภาคปลาย (Second Semester) 50269759 วิทยานิพนธ์ Thesis

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

ปีที่ 2 ภาคต้น (First Semester) 50269759 วิทยานิพนธ์ Thesis

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต

บังคับทั่วไป

ปีที่ 2 ภาคปลาย (Second Semester) 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar

(ไม่นับหน่วยกิต)

22 วิทยานิพนธ์

50269759 วิทยานิพนธ์ Thesis

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต

หมวดวิชา

3.1.4.2 หลักสูตรแผน ก แบบ ก2 ปีที่ 1 ภาคต้น (First Semester) รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

แกนบังคับ แกนบังคับ วิชาเลือก

แกนบังคับ แกนบังคับ วิชาเลือก

บังคับทั่วไป วิทยานิพนธ์

บังคับทั่วไป

50250159 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Mathematics for Chemical Engineering 50250259 อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Thermodynamics for Chemical Systems วิชาเลือก 1 3(3-0-6) รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 1 ภาคปลาย (Second Semester) 50250359 ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงในกระบวนการทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena in Chemical Processes 50250459 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering วิชาเลือก 2 3(3-0-6) รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคต้น (First Semester) 50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50269959 วิทยานิพนธ์ 6(0-0-18) Thesis รวม 8 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคปลาย (Second Semester) 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี Chemical Engineering Seminar

1(0-2-1)

23 วิชาเลือก วิทยานิพนธ์

วิชาเลือก 3 50269959 วิทยานิพนธ์ Thesis

3(3-0-6) 6(0-0-18) รวม 10 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต

หมวดวิชา

3.1.4.2 หลักสูตรแผน ข ปีที่ 1 ภาคต้น (First Semester) รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

แกนบังคับ แกนบังคับ วิชาเลือก

แกนบังคับ แกนบังคับ วิชาเลือก

บังคับทั่วไป วิชาเลือก วิชาเลือก

บังคับทั่วไป

50250159 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Mathematics for Chemical Engineering 50250259 อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Thermodynamics for Chemical Systems วิชาเลือก 1 3(3-0-6) รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 1 ภาคปลาย (Second Semester) 50250359 ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงในกระบวนการทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena in Chemical Processes 50250459 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering วิชาเลือก 2 3(3-0-6) รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคต้น (First Semester) 50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering วิชาเลือก 3 3(3-0-6) วิชาเลือก 4 3(3-0-6) รวม 8 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคปลาย (Second Semester) 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar

24 วิชาเลือก งานนิพนธ์

วิชาเลือก 5 50269859 งานนิพนธ์

3(3-0-6) 6(0-0-18) รวม 10 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา (เอกสารแนบหมายเลข 1) 3.2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 3.2.1 จานวนหน่วยกิต 3.2.1.1 แบบที่ 1 แบบ 1.1 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบบ 1.2 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต 3.2.1.2 แบบที่ 2 แบบ 2.1 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบบ 2.2 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต 3.2.2 โครงสร้างหลักสูตร แยกตามแผนการศึกษา มี 4 แบบ 3.2.2.1 โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต 1) หมวดวิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต 2) ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต 3.2.2.2 โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.2 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต 1) หมวดวิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต 2) ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต 3.2.2.3 โครงสร้างหลักสูตร แบบ 2.1 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต 1) หมวดวิชาบังคับ 6 หน่วยกิต - วิชาบังคับทั่วไป 3 หน่วยกิต - วิชาแกนบังคับ 3 หน่วยกิต 2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 3) ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต

25 3.2.2.4 โครงสร้างหลักสูตร แบบ 2.2 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 1) หมวดวิชาบังคับ - วิชาบังคับทั่วไป - วิชาแกนบังคับ 2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3) ดุษฎีนิพนธ์

72 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 48 หน่วยกิต

3.2.3 รายวิชา หลักสูตร แบบ 1.1 1) หมวดวิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต นิสิตที่ศึกษาในหลักสูตร แบบ 1.1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ทั่วไป แบบไม่นับ หน่วยกิต (Audit) ดังนี้ รายวิชาบังคับทั่วไป จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar 2) ดุษฎีนิพนธ์ จานวน 48 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ 48(0-0-144) Dissertation หลักสูตร แบบ 1.2 1) หมวดวิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต นิสิตที่ศึกษาในหลักสูตร แบบ 1.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ทั่วไป แบบไม่นับ หน่วยกิต (Audit) ดังนี้ รายวิชาบังคับทั่วไป จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar

26 2) ดุษฎีนิพนธ์ 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

จานวน 72 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 72(0-0-216)

หลักสูตร แบบ 2.1 1) หมวดวิชาบังคับ จานวน 6 หน่วยกิต นิสิตที่ศึกษาในหลักสูตร แบบ 2.1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ทั่วไปและรายวิชา แกนบังคับ ดังนี้ รายวิชาบังคับทั่วไป

จานวน 3 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar รายวิชาแกนบังคับ จานวน 3 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50270159 หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Topics in Chemical Engineering 2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า จานวน 6 หน่วยกิต นิสิตสามารถเลือกลงทะเบียนรายวิชาไม่น้อยกว่า 2 รายวิชา โดยเลือกเรียนกลุ่มวิชา กระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี อย่างน้อย 1 รายวิชา และ/หรือจากกลุ่มวิช าตามพื้นฐานงาน วิทยานิพนธ์ (Specialization Track) ดังต่อไปนี้ (1) กลุ่มวิชากระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50261159 การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของวัสดุขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Materials Characterization 50261259 พลังงานสะอาด 3(3-0-6) Clean Energy 50261359 เคมีคอลลอย์และพื้นผิวประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Surface and Colloid Chemistry

27 50261459 แบบจาลองและการวิเคราะห์กระบวนการ Process Analysis and Simulation 50261559 วัสดุสาหรับการใช้งานเฉพาะด้าน Materials for Special Applications 50261659 วิศวกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี Petroleum and Petrochemical Engineering 50261759 วิศวกรรมพอลิเมอร์ Polymer Engineering (2) กลุ่มวิชาตามพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์ 50262159 หัวข้ออุตสาหกรรมพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Industrial Special Topics in Chemical Engineering 50262259 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Special Topics in Chemical Engineering 50262359 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม Special Topics in Environmental Engineering 50262459 หัวข้อพิเศษทางการบริหารจัดการในอุตสาหกรรม Special Topics in Operation Management in Industry 50262559 หัวข้อพิเศษทางการจัดการพลังงาน Special Topics in Energy Management 50262659 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวเคมี Special Topics in Biochemical Engineering 50262759 หัวข้อพิเศษทางวัสดุวิศวกรรม Special Topics in Material Engineering 3) ดุษฎีนิพนธ์ 50299859 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

3(0-9-3) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

จานวน 36 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 36(0-0-108)

28 หลักสูตร แบบ 2.2 1) หมวดวิชาบังคับ จานวน 18 หน่วยกิต นิสิตที่ศึกษาในหลักสูตร แบบ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ทั่วไปและรายวิชา แกนบังคับ ดังนี้ รายวิชาบังคับทั่วไป

จานวน 3 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar รายวิชาแกนบังคับ 50250159 50250259 50250359 50250459 50270159

จานวน 15 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Mathematics for Chemical Engineering อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Thermodynamics for Chemical Systems ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงในกระบวนการทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena in Chemical Processes วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Topics in Chemical Engineering

2) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า จานวน 6 หน่วยกิต นิสิตสามารถเลือกลงทะเบียนรายวิชาไม่น้อยกว่า 2 รายวิชา โดยเลือกเรียนกลุ่มวิชา กระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี อย่างน้อย 1 รายวิชา และ/หรือจากกลุ่มวิช าตามพื้นฐานงาน วิทยานิพนธ์ (Specialization Track) ดังต่อไปนี้ (1) กลุ่มวิชากระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 50261159 การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของวัสดุขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Materials Characterization

29 50261259 พลังงานสะอาด Clean Energy 50261359 เคมีคอลลอย์และพื้นผิวประยุกต์ Applied Surface and Colloid Chemistry 50261459 แบบจาลองและการวิเคราะห์กระบวนการ Process Analysis and Simulation 50261559 วัสดุสาหรับการใช้งานเฉพาะด้าน Materials for Special Applications 50261659 วิศวกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี Petroleum and Petrochemical Engineering 50261759 วิศวกรรมพอลิเมอร์ Polymer Engineering (2) กลุ่มวิชาตามพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์ 50262159 หัวข้ออุตสาหกรรมพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Industrial Special Topics in Chemical Engineering 50262259 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Special Topics in Chemical Engineering 50262359 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม Special Topics in Environmental Engineering 50262459 หัวข้อพิเศษทางการบริหารจัดการในอุตสาหกรรม Special Topics in Operation Management in Industry 50262559 หัวข้อพิเศษทางการจัดการพลังงาน Special Topics in Energy Management 50262659 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวเคมี Special Topics in Biochemical Engineering 50262759 หัวข้อพิเศษทางวัสดุวิศวกรรม Special Topics in Material Engineering 3) ดุษฎีนิพนธ์ 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

3(0-9-3) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

จานวน 48 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 48(0-0-144)

30 ความหมายของเลขรหัสวิชา รหัสวิชาประกอบด้วยเลข 8 หลัก มีความหมายดังนี้ เลขรหัส 502 หมายถึง สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี เลขรหัสหลักที่ 4 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโทและ/หรือระดับปริญญาเอก เลข 5 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโท เลข 6 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เลข 7-9 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาเอก เลขรหัสหลักที่ 5 หมายถึง หมวดวิชา ดังต่อไปนี้ เลข 0 หมายถึง รายวิชาแกนบังคับ เลข 1 หมายถึง รายวิชาเกี่ยวกับกระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี เลข 2 หมายถึง รายวิชาเกี่ยวกับพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์ เลข 8 หมายถึง รายวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาด้วยตนเอง หัวข้อพิเศษ หัวข้อขั้นสูง การสัมมนาและการวิจัย เลข 9 หมายถึง รายวิชาที่เกี่ยวกับงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ เลขรหัสหลักที่ 6 หมายถึง ลาดับรายวิชาในหมวดวิชาของเลขรหัสตัวที่ 5 เลขรหัสหลักที่ 7-8 คือ เลข 59 หมายถึง รหัสสาหรับหลักสูตรปี 2559 3.2.4 แผนการศึกษา แผนการศึกษาของนิสิตหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ในแต่ละภาคเรียน ของปีการศึกษา มีรายละเอียดดังนี้

หมวดวิชา

3.2.4.1 หลักสูตร แบบ 1.1 ปีที่ 1 ภาคต้น (First Semester) รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

บังคับทั่วไป ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี (ไม่นับหน่วยกิต) 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ 8(0-0-24) Dissertation รวม 8 หน่วยกิต ปีที่ 1 ภาคปลาย (Second Semester) 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ 8(0-0-24) Dissertation

31 รวม 8 หน่วยกิต ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 2 ภาคต้น (First Semester) 502898589 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

8(0-0-24) รวม 8 หน่วยกิต

ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 2 ภาคปลาย (Second Semester) 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

8(0-0-24) รวม 8 หน่วยกิต

ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 3 ภาคต้น (First Semester) 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

8(0-0-24) รวม 8 หน่วยกิต

บังคับทั่วไป ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 3 ภาคปลาย (Second Semester) 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี (ไม่นับหน่วยกิต) Chemical Engineering Seminar 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

1(0-2-1) 8(0-0-24)

รวม 8 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต

หมวดวิชา บังคับทั่วไป

3.2.4.2 หลักสูตร แบบ 1.2 ปีที่ 1 ภาคต้น (First Semester) รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

ดุษฎีนิพนธ์

50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี (ไม่นับหน่วยกิต) 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ 9(0-0-27) Dissertation รวม 9 หน่วยกิต

ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 1 ภาคปลาย (Second Semester) 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต

32

ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

บังคับทั่วไป ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 2 ภาคต้น (First Semester) 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต

ปีที่ 2 ภาคปลาย (Second Semester) 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต

ปีที่ 3 ภาคต้น (First Semester) 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต

ปีที่ 3 ภาคปลาย (Second Semester) 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

9(0-0-27) รวม 9 หน่วยกิต

ปีที่ 4 ภาคต้น (First Semester) 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

9(0-0-27)

ปีที่ 4 ภาคปลาย (Second Semester) 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี (ไม่นับหน่วยกิต) Chemical Engineering Seminar 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

รวม 9 หน่วยกิต 1(0-2-1) 9(0-0-27)

รวม 9 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 72 หน่วยกิต

หมวดวิชา

3.2.4.3 หลักสูตร แบบ 2.1 ปีที่ 1 ภาคต้น (First Semester) รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

แกนบังคับ วิชาเลือก

50270159 หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี Advanced Topics in Chemical Engineering วิชาเลือก 1

3(3-0-6) 3(3-0-6) รวม 6 หน่วยกิต

33

วิชาเลือก

บังคับทั่วไป ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

บังคับทั่วไป ดุษฎีนิพนธ์

หมวดวิชา

ปีที่ 1 ภาคปลาย (Second Semester) วิชาเลือก 2

3(3-0-6) รวม 3 หน่วยกิต

ปีที่ 2 ภาคต้น (First Semester) 50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50299859 ดุษฎีนิพนธ์ 9(0-0-27) Dissertation รวม 11 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคปลาย (Second Semester) 50299859 ดุษฎีนิพนธ์ 9(0-0-27) Dissertation รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 3 ภาคต้น (First Semester) 50299859 ดุษฎีนิพนธ์ 9(0-0-27) Dissertation รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 3 ภาคปลาย (Second Semester) 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar 50299859 ดุษฎีนิพนธ์ 9(0-0-27) Dissertation รวม 10 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต 3.2.4.4 หลักสูตร แบบ 2.2 ปีที่ 1 ภาคต้น (First Semester) รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

แกนบังคับ

50250159 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี Advanced Mathematics for Chemical Engineering

3(3-0-6)

34 แกนบังคับ วิชาเลือก

แกนบังคับ แกนบังคับ วิชาเลือก

บังคับทั่วไป ดุษฎีนิพนธ์

แกนบังคับ ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

ดุษฎีนิพนธ์

50250259 อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Thermodynamics for Chemical Systems วิชาเลือก 1 3(3-0-6) รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 1 ภาคปลาย (Second Semester) 50250359 ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงในกระบวนการทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena in Chemical Processes 50250459 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering วิชาเลือก 2 3(3-0-6) รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคต้น (First Semester) 50278159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ 8(0-0-24) Dissertation รวม 10 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคปลาย (Second Semester) 50270159 หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Topics in Chemical Engineering 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ 8(0-0-24) Dissertation รวม 11 หน่วยกิต ปีที่ 3 ภาคต้น (First Semester) 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ 8(0-0-24) Dissertation รวม 8 หน่วยกิต ปีที่ 3 ภาคปลาย (Second Semester) 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

8(0-0-24) รวม 8 หน่วยกิต

35

ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 4 ภาคต้น (First Semester) 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

8(0-0-24) รวม 8 หน่วยกิต

บังคับทั่วไป ดุษฎีนิพนธ์

ปีที่ 4 ภาคปลาย (Second Semester) 50278259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี Chemical Engineering Seminar 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation

1(0-2-1) 8(0-0-24) รวม 9 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 72 หน่วยกิต

3.2.5 คาอธิบายรายวิชา (เอกสารแนบหมายเลข 1) 3.3 ชื่อ สกุล ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์ 3.3.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (1) นางสาววันเช็ง สิทธิกิจโยธิน เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-1303-0062x-xx-x Ph.D. (Chemical Engineering) University of Porto, Portugal พ.ศ. 2549 วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2542 ส.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2556 วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ศ. 2538 ตาแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระงานสอนเดิม รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต 502101 Chemistry of Engineering Materials and 3(3-0-6) Transformation Process 502102 Chemistry of Engineering Materials and 1(0-3-1) Transformation Process Laboratory 502221 Chemical Engineering Thermodynamics I 3(3-0-6) 502452 Unit Operations Laboratory for 1(0-3-1) Biochemical Engineering

36 502512 506511 522311 522315

Thermodynamics and Reaction Engineering Bioenginerring and Applications Thermodynamics for Chemical Technology Chemical Technology Laboratory I

ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ รหัสวิชา รายวิชา 50258259 Chemical Engineering Seminar 50261259 Clean Energy 50262259* Special Topics in Chemical Engineering 50270159* Advanced Topics in Chemical Engineering

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-3-1)

จานวนหน่วยกิต 1(0-2-1) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

(2) นางสาวไพลิน เงาตระการวิวัฒน์ เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-1021-0119x-xx-x Ph.D. (Applied Chemistry) University of Tokyo, Japan พ.ศ. 2547 M.S. (Petrochemical Technology) Chulalongkorn University พ.ศ. 2541 วท.บ. (เคมีเทคนิค) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2539 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระงานสอนเดิม รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต 502211 Mass and Energy Balance 3(3-0-6) 502301 Integrated Chemical Process Laboratory 1(0-3-1) 502331 Heat Transfer 3(3-0-6) 502451 Unit Operations Laboratory II 1(0-3-1) 522213 Chemical Technology Principles and 3(3-0-6) Calculations I 522312 Unit Operations in Chemical Industry II 3(3-0-6) 522316 Chemical Technology Laboratory II 1(0-3-1)

37 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ รหัสวิชา รายวิชา 50250459 Advanced Chemical Reaction Engineering 50262259* Special Topics in Chemical Engineering 50270159* Advanced Topics in Chemical Engineering

จานวนหน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

(3) นางสาวปิยฉัตร วัฒนชัย เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-2099-0040x-xx-x Ph.D. (Chemical Engineering) Cambridge University, England พ.ศ. 2545 M.S. (Chemical Engineering) Texas A&M University, USA พ.ศ. 2541 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2538 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระงานสอนเดิม รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต 502101 Chemistry of Engineering Materials and 3(3-0-6) Transformation Process 502102 Chemistry of Engineering Materials and 1(0-3-1) Transformation Process Laboratory 502332 Mass Transfer 3(3-0-6) 502371 Engineering Materials and Selections 3(3-0-6) 502374 Principles of Polymer Chemistry 3(3-0-6) 502375 Polymer Laboratory 1(0-3-1) 502451 Unit Operations Laboratory II 1(0-3-1) 502471 Introduction to Polymer Rheology and 3(3-0-6) Processing ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ รหัสวิชา รายวิชา 50250359 Advanced Transport Phenomena in Chemical and Biochemical Processes 50261259 Clean Energy

จานวนหน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6)

38 50261759 Polymer Engineering 50270159* Advanced Topics in Chemical Engineering

3(3-0-6) 3(3-0-6)

(4) นางสาววชิรา ดาวสุด เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-2501-0062x-xx-x วศ.ด. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2541 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระงานสอนเดิม รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต 502351 Unit Operations Laboratory I 1(0-3-1) 502451 Unit Operations Laboratory II 1(0-3-1) 502461 Process Dynamics and Control 3(3-0-6) 502464 Computer Applications in Process Design 3(3-0-6) for Chemical Engineer 502466 Chemical Engineering Economics 3(3-0-6) 502502 Fundamental of Chemical Engineering 3(3-0-6) 506646 Biological Reaction Engineering and 3(3-0-6) Bioreactor Design 520201 Applied Mathematics for Industrial 3(3-0-6) Technology ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ รหัสวิชา รายวิชา 50261459 Process Analysis and Simulation 50262259* Special Topics in Chemical Engineering 50270159* Advanced Topics in Chemical Engineering หมายเหตุ: * หมายถึง รายวิชาที่อาจมีการสอนร่วมกัน

จานวนหน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

39 3.3.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร (1) นางสาววันเช็ง สิทธิกิจโยธิน เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-1303-0062x-xx-x Ph.D. (Chemical Engineering) University of Porto, Portugal พ.ศ. 2549 วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2542 ส.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2556 วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ศ. 2538 ตาแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (2) นางสาวไพลิน เงาตระการวิวัฒน์ เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-1021-0119x-xx-x Ph.D. (Applied Chemistry) University of Tokyo, Japan พ.ศ. 2547 M.S. (Petrochemical Technology) Chulalongkorn University พ.ศ. 2541 วท.บ. (เคมีเทคนิค) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2539 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (3) นางสาวปิยฉัตร วัฒนชัย เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-2099-0040x-xx-x Ph.D. (Chemical Engineering) Cambridge University, England พ.ศ. 2545 M.S. (Chemical Engineering) Texas A&M University, USA พ.ศ. 2541 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2538 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (4) นางสาววชิรา ดาวสุด เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-2501-0062x-xx-x วศ.ด. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2541 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (5) นางเอกรัตน์ วงษ์แก้ว เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-4099-0096x-xx-x Ph.D. (Chemical Engineering) University of Michigan, USA พ.ศ. 2544 M.S. (Chemical Engineering) Vanderbilt University, USA พ.ศ. 2539 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2535 ตาแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

40 (6) นายธงชัย ศรีวิริยรัตน์ เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-7004-0036x-xx-x Ph.D. Civil Engineering (Environmental Engineering) Virginia Polytechnic Institute and State University, USA พ.ศ. 2545 M.S. (Environmental Engineering) Virginia Polytechnic Institute and State University, USA พ.ศ. 2542 วท.บ. สาธารณสุขศาสตร์ (วิทยาศาสตร์อนามัย สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2537 ตาแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (7) นางสาวสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-2001-0011x-xx-x วศ.ด. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2548 วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541 วท.บ. (เคมีเทคนิค) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2538 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (8) นายวิทวัส แจ้งเอี่ยม เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-8301-0036x-xx-x ปร.ด. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2551 วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2545 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (9) นางสาวญาณิศา ละอองอุทัย เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-9011-0010x-xx-x ปร.ด. (ชีวเคมี) มหาวิทยาสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2552 วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2547 ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (10) นางสาวเอมม่า อาสนจินดา เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-5099-0066x-xx-x ปร.ด. (การจัดการสิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2546 วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

41 (11) นางสาวแดง แซ่เบ๊ เลขบัตรประจาตัวประชาชน 1-1008-0003x-xx-x วศ.ด. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2550 ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (12) นายเล็ก วันทา เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-3210-0059x-xx-x วศ.ด. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. 2554 วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. 2549 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. 2547 ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (13) นายเจริญ ชินวานิชย์เจริญ เลขบัตรประจาตัวประชาชน 3-4199-0017x-xx-x Ph.D. (Applied Science) Kanazawa University, Japan พ.ศ. 2548 M.Eng. (Material Engineering) Kanazawa University, Japan พ.ศ. 2545 วท.บ. (เคมีอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ พ.ศ. 2539 ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) 3.3.3 อาจารย์พิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จะเชิญบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยที่ มีคุณสมบัติตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยอาจารย์พิเศษ พ.ศ. 2556 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และดาเนินการแต่งตั้งวิธีการ และหลั กเกณฑ์ที่กาหนดตามข้อบั งคับ ฯ มาช่ว ยสอนบางรายวิช าหรือบางหั ว ข้อตามความเหมาะสม ตลอดจนเชิญมาเป็นอาจารย์ให้คาปรึกษาหรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วมของวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์ 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี) -ไม่มี5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี) 5.1 คาอธิบายโดยย่อ งานนิพนธ์ การนาแนวคิด ทฤษฎี และวิ ธีการ ที่ได้ศึกษาจากวิชาต่างๆ ของหลักสูตร มาวิเคราะห์หรือ พัฒนาสิ่งประดิษฐ์หรือระบบงานด้านวิศวกรรมเคมี โดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยที่เหมาะสม โดย การศึกษานี้ต้องมีการวางแผนการดาเนินงาน การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมี ระบบ และเขียน

42 เป็นรายงานการศึกษา การทางานนิพนธ์ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการ ควบคุมงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ การทบทวนงานวิจัยในอดีตพร้อมทั้งศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการ ดาเนินการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย การวิเคราะห์และสรุปผลที่ได้จากการวิจัยในสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี การ เขียนรายงาน และการนาเสนอผลงานวิจัย การทาวิทยานิพนธ์ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึกษาและคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ การทบทวนงานวิจัยในอดีตพร้อมทั้งศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการ ดาเนินการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย การวิเคราะห์และสรุปผลที่ได้จากการวิจัยในสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี การ เขียนรายงาน และการนาเสนอผลงานวิจัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล การทาดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ เป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ในหมวดที่ 4 5.3 ช่วงเวลา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก1 และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1.1 และ 1.2 เริ่มทางานวิจัยตั้งแต่ปีที่ 1 ของหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก2 และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 2.1 และ 2.2 เริ่มทางานวิจัยตั้งแต่ปีที่ 2 ของหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ข เริ่มทางานวิจัยตั้งแต่ปีที่ 2 ของหลักสูตร 5.4 จานวนหน่วยกิต หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี แผน ก แบบ ก1 จานวนไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก2 จานวนไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต แผน ข จานวนไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี แบบ 1.1 จานวนไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบบ 1.2 จานวนไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต แบบ 2.1 จานวนไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

43 แบบ 2.2

จานวนไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

5.5 การเตรียมการ กระบวนการเลือกหัวข้องานวิจัย กาหนดให้นิสิตหารือหัวข้อวิจัยที่สนใจกับอาจารย์ที่ปรึกษา งานวิจัยและเสนอต่อประธานสาขาวิชา เพื่อให้คณบดีอนุมัติ โดยจะต้องเป็นไปตามข้อบังคัมหาวิทยาลัย บูรพาว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5.6 กระบวนการประเมินผล ในระดับปริญญาโทแผน ก จะประเมินโดยการสอบเค้าโครงและสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ใน ระดับปริญญาโทแผน ข จะประเมินโดยการสอบประมวลความรู้และสอบป้องกันงานนิพนธ์ ในระดับปริญญาเอก จะประเมินโดยการสอบวัดคุณสมบัติ การสอบเค้าโครงและสอบป้องกัน วิทยานิพนธ์ และให้เป็นไปตามเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรในหมวดที่ 5 (ข้อ 3)

44

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต คุณลักษณะพิเศษ ด้านบุคลิกภาพ - มีคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และมี จรรยาบรรณในวิชาชีพ - มีความกล้าในการนาเสนอ แนะนา และโต้แย้ง เกี่ยวกับปัญหาเชิงวิศวกรรมในด้านที่ตนเอง เชี่ยวชาญ ด้านภาวะผู้นาและความรับผิดชอบและการมีวินัย ในตนเอง - สามารถทางานเป็น กลุ่ ม โดยยอมรับความ คิดเห็ น ที่แตกต่าง ตลอดจนอภิป รายและสรุป ประเด็นต่างๆได้ - มีความรับผิดชอบในงานวิจัย โดยไม่มีการชี้นา และอคติ - สามารถวางแผนในการทางานและเคร่งครัดใน การดาเนินงานตามแผนได้อย่างเหมาะสม ทักษะด้านวิชาชีพขั้นสูง - สามารถเรียนรู้และทางานที่ได้รับมอบหมาย เกี่ยวกับงานทางด้านวิศวกรรมเคมีขั้นสูงได้ - สามารถประยุกต์เครื่องมือและเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อทาให้งานที่ได้รับมอบหมายลุล่วงไปได้ด้วยดี ทักษะด้านภาษาต่างประเทศและการสื่อสาร - สามารถอ่านบทความวิจัยหรือบทความอื่นๆ ที่ เป็นภาษาอังกฤษได้อย่างเข้าใจ - สามารถนาเสนอบทความวิชาการโดยการเขียน และการพูดเป็นภาษาอังกฤษได้

กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต ส่ ง เสริ ม ให้ นิ สิ ตมี จรรยาบรรณเชิ งวิ ช าการหรื อ วิชาชีพ เคารพในสิ ทธิทางปัญญาและข้ อมูลส่ วน บุคคล และสอดแทรกกรณีศึกษาให้นิสิตเห็นภาพ จริงของการมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ รวมถึง การใช้ เทคโนโลยีในการพัฒนาสังคมอย่างถูกต้อง

มี ก ารมอบหมายให้ ท างานเป็ น กลุ่ ม มี ก ารแบ่ ง หน้าที่ภายในกลุ่ม เพื่อฝึกฝนให้นิสิตมีความเป็น ภาวะผู้ น าและรู้ จั ก การท างานเป็ น กลุ่ ม วาง แผนการท างานและด าเนิ น งานตามแผนได้ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และเสริมสร้างวินัย ในการท างาน มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในหน้ า ที่ ข อง ตนเอง รวมถึงสามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัยให้ เป็นที่ยอมรับได้ มีการสนับสนุนการเรียนการสอนและวิจัย ทั้งด้าน ทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ มี ก ารเชื่ อ มโยงทฤษฎี ตั้ ง แต่ พื้นฐานไปจนถึงทฤษฎีขั้นสูง เพื่ อประยุกต์ใช้ใน งานเชิงปฏิบัติในสาขาวิชานั้นๆ การเรียนการสอนจะเน้นการใช้ตาราภาษาอังกฤษ เป็นหลัก เอกสารประกอบการสอนจะเน้นการใช้ ภาษาอั ง กฤษ การบรรยายมี ทั้ ง รู ป แบบการ บรรยายเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมถึง การให้นิสิตอ่านและนาเสนอบทความวิชาการเป็น ภาษาอังกฤษ

45 ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง - นิสิตสามารถศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ทาง การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้นิสิตเรียนรู้ วิศวกรรมเคมีได้ด้วยตนเอง ด้วยตนเอง โดยการมอบหมายงานที่ต้องอาศัยการ - นิสิตสามารถค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการและ ค้นคว้า โดยใช้การสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการ เรียนและการทาวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์

46 2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ผลการเรียนรู้ 2.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรมและสามารถแก้ไข ปั ญ หาทางคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมที่ ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 2.1.2 สามารถวินิจฉัยปัญหาได้ด้วยความยุติธรรม และชั ด เจน มี ห ลั ก ฐาน โดยตอบสนอง ปัญหาตามหลักการ เหตุผล และค่านิยม อันดีงาม 2.1.3 มีคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับข้อ โต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเอง และผู้อื่น 2.1.4 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมใน สภาพแวดล้อมของการทางานและสังคม

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้

1. นิสิตต้องมีความซื่อสัตย์ โดยต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือลอกการบ้านของผู้อื่น ไม่คัดลอกผลงานวิจัย การ ตีพิมพ์ผลงาน หรือวิทยานิพนธ์ มาเป็นผลงานของตน 2. นิสิ ตแสดงความคิดเห็ น และวิพากษ์วิ จารณ์ ปัญหา ทางคุ ณธรรม จริยธรรม ในวิ ชาการและวิ ชาชี พใน ระหว่างการเรียนการสอน 3. อาจารย์ผู้สอนต้องสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพในการสอนทุ ก รายวิ ช า รวมทั้ งจั ดกิ จกรรมส่ งเสริ มคุ ณธรรมและ จริยธรรม 4. การปลู ก ฝั งให้ นิ สิ ตมี ร ะเบี ยบวิ นั ยและมี คุ ณธรรม จริยธรรม เช่น ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ โดย เน้นการเข้าชั้ นเรียนให้ ตรงเวลา รวมทั้งนิสิ ตต้องมี ความรับผิดชอบในงานที่ตนได้รับมอบหมาย ทั้งงาน เดี่ยวและงานกลุ่ม โดยในการทางานกลุ่มต้องฝึกให้รู้ หน้าที่ของการเป็นผู้นาและสมาชิกกลุ่ม

1. ประเมินจากการบ้าน รายงาน วิทยานิพนธ์ หรือผลงานตีพิมพ์ของนิสิต จากการอ้างอิง ผลงานวิ จั ย ผู้ อื่ น ว่ า มี ก ารคั ด ลอกหรื อ ดัดแปลงมาหรือไม่ 2. ประเมินจากจานวนครั้งในการกระทาทุจริต หรือส่อไปในทางทุจริตในการสอบ 3. ประเมินจากความมี วินัยในการตรงต่อเวลา ของนิสิตในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับ มอบหมายและการร่วมกิจกรรมของนิสิต 4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมาย

47 ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้

2.2 ด้านความรู้ 2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ใน 1. ผู้สอนใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ ทั้งเน้นผู้เรียน เนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชา ตลอดจน เป็ น ส าคั ญ และการเน้ น การประยุ ก ต์ ค วามรู้ ใ น หลักการและทฤษฎีที่สาคัญ สาขาวิชากับปัญหาต่างๆ ที่พบในปัจจุบัน เพื่อกระตุ้น 2.2.2 สามารถประยุกต์ความรู้ ความเข้าใจใน ให้ นิ สิ ต มี การพั ฒ นาความคิ ด และสร้ า งสรรค์ อ งค์ สาขาวิชาของตนในการศึกษาค้นคว้าทาง ความรู้ เ พิ่ ม เติ ม ได้ ด้ ว ยตนเอง ทั้ ง นี้ ให้ เ ป็ นไปตาม วิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ ลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา 2.2.3 มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจั ยและการ นั้น ๆ ปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง โดยสามารถ 2. การวั ดผลด้ ว ยข้ อ สอบหรื อการทดสอบที่ เน้ นการ พั ฒ นาความรู้ ใ หม่ และการประยุ ก ต์ ประยุกต์ความรู้พื้นฐาน เพื่อให้นิสิตทาความเข้าใจใน ตลอดจนผลกระทบของผลงานวิ จั ย ใน วิชานั้นๆ ได้อย่างลึกซึ้ง ปัจจุบัน 3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษา 2.2.4 ตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ ใช้อยู่ใน ดู ง านนอกสถานที่ หรื อ เชิ ญ ผู้ เ ชี่ ย วชาญจาก สภ าพแว ดล้ อมของระ ดั บ ช าติ แ ล ะ ภาคอุ ต สาหกรรม ที่ มี ป ระสบการณ์ ต รงมาเป็ น นานาชาติ ที่ อ าจะมี ผ ลกระทบต่ อ สาขา วิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนฝึกปฏิบัติงานใน วิ ช า ชี พ ร ว ม ทั้ ง เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ ก า ร สถานประกอบการ รวมทั้งปลูกฝังความตระหนักใน เปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสถานประกอบการ

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. การประเมินจากการบ้านและรายงานที่นิสิต ได้รับมอบหมายให้จัดทา 4. การประเมินจากโครงงานที่นิสิตได้รับ มอบหมายให้จัดทาและนาเสนอในชั้นเรียน 5. การประเมินจากผลงานการวิจัยของนิสิต 6. การประเมินจากหัวหน้างานในกรณีที่นิสิตไป ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการณ์ 7. การประเมินจากผู้บรรยายภายนอก

48 ผลการเรียนรู้ 2.3 ด้านทักษะทางปัญญา 2.3.1 สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติใน การจัดการปัญหาใหม่ในเชิงวิชาการและ วิชาชีพ 2.3.2 สามารถพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ เพื่ อ ตอบสนองประเด็ น หรื อ ปั ญ หาทาง สาขาวิ ช านั้ น ๆ โดยใช้ ดุ ล พิ นิ จ ในการ ตัดสินใจในสถานการณ์ที่มีข้อมูลไม่เพียงพอ 2.3.3 สามารถสังเคราะห์และใช้ ผลงานวิจัย สิ่ ง ตีพิมพ์ทางวิชาการหรือรายงานทางวิชาชีพ รวมถึงความคิดใหม่ๆ ในการบูรณาการ เข้า กับองค์ความรู้เดิมหรือเสนอเป็นความรู้ใหม่ ในการวิ เ คราะห์ ป ระเด็ นหรื อปั ญหาที่ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3.4 สามารถพัฒนาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่ เกี่ยวข้องในทางวิชาการหรือวิชาชีพ จาก การวางแผนและดาเนิ นการโครงการวิจัย ค้นคว้าทางวิชาการได้ด้วยตนเอง

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้

1. ฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ โดยเริ่มต้นจาก ปัญ หาพื้ น ฐานที่ ง่ า ยและเพิ่ ม การประยุ ก ต์ และมี ระดั บ ความยากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ให้ เ หมาะสมและ สอดคล้องกับรายวิชา 2. จั ด การเรี ย นรู้ แ บบยึ ด ผู้ เ รี ย นเป็ น ส าคั ญ ด้ ว ยการ แก้ ปั ญ หาจากสถานการณ์ จ าลองที่ ส อดคล้ อ งกั บ รายวิชานั้นๆ 3. มอบหมายงานเชิงค้นคว้า นอกเหนือจากเนื้อหาใน รายวิชาที่เป็นประเด็นหรือปัญหาในสาขาวิชานั้นๆ 4. จั ด ให้ มี ก ารสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการระหว่ า งนิ สิ ต และ อาจารย์ผู้สอน หรือเชิญวิทยากรภายนอกที่มีความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์ในสาขาวิชานั้นๆ

1. ประเมินจากการทดสอบย่อย 2. ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียนและ ปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากการบ้านและรายงานที่นิสิต ได้รับมอบหมายให้จัดทา และนาเสนอใน ชั้นเรียน 4. ประเมินจากโครงงานที่นิสิตได้รับมอบหมาย ให้จัดทา 5. ประเมินจากผลงานการวิจัยของนิสิต

49 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ 2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 2.4.1 สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นิสิตเรียนรู้แบบ ยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพโดยสามารถ ร่วมมือ ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นาของ ตัดสินใจในการดาเนินงานได้ด้วยตนเอง กลุ่ม ตลอดจนมีการสอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ และสามารถประเมินตนเองได้ ต่อตนเองและสังคม การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจใน 2.4.2 สามารถวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มี วัฒนธรรมองค์กร เข้าไปในรายวิชาต่างๆ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 2.4.3 มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของ ตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ใน การจัดการข้อโต้แย้งและปัญหาต่างๆ 2.4.4 มีภาวะผู้นาและแสดงออกอย่างเหมาะสม ตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการทางานของหมู่คณะ 2.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์ 1. จั ดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ ในรายวิ ชาต่ างๆ ให้ นิ สิ ตได้ และสถิติเพื่อน าไปใช้ในการศึกษาค้นคว้า เรี ย นรู้ ด้ ว ยการปฏิ บั ติ ใ นหลากหลายสถานการณ์ เพื่อแก้ไขและสรุปปัญหา รวมทั้งเสนอแนะ เนื้อหา การเรียนการสอนมีการสอดแทรกตัวอย่าง

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้

1. ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วม กิจกรรมหรือการทางานกลุ่ม 2. ประเมินจากการแสดงออกของนิสิตในการ นาเสนอรายงานหรือโครงงานที่ได้รับ มอบหมาย 3. ประเมินจากแผนงานของรายงานหรือ โครงงานที่ได้รับมอบหมายว่ามีการแบ่ง หน้าที่กันเหมาะสมเพียงใด

1. ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณิตศาสตร์หรือสถิติ 2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย

50 ผลการเรียนรู้ แนวทางการแก้ไขในด้านต่างๆ 2.5.2 สามารถสื่ อสารได้อย่ างมีป ระสิทธิภ าพ และเหมาะสมกับ กลุ่มบุคคลต่างๆ ทั้งใน วงการวิชาการ วิชาชีพและบุคคลทั่วไป 2.5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บ รวบรวมข้อมูล ประเมินความน่าเชื่อถือของ ข้อมูลและนาเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.4 สามารถเผยแพร่องค์ความรู้หรือข้อมูลที่ เป็ นประโยชน์ ต่ อวงการวิ ชาการ วิ ชาชี พ หรือสังคมได้ โดยการนาเสนอรายงานทั้งใน รูปแบบที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ ผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ การประยุ กต์ หลั กทางคณิ ตศาสตร์ และสถิ ติ ในการ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการ แก้ปัญหา รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ นาเสนอต่อชั้นเรียน สื่อสาร 3. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย รายงาน วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ผลงานวิจัยที่ ตีพิมพ์ และการนาเสนอด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ

51 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ผลการเรียนรู้ 2.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรมและสามารถแก้ไข ปั ญ หาทางคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมที่ ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 2.1.2 สามารถวินิจฉัยปัญหาได้ด้วยความยุติธรรม และชั ด เจน มี ห ลั ก ฐาน โดยตอบสนอง ปัญหาตามหลักการ เหตุผล และค่านิยม อันดีงาม 2.1.3 มีคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับข้อ โต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเอง และผู้อื่น 2.1.4 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมใน สภาพแวดล้อมของการทางานและสังคม

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้

1. นิสิตต้องมีความซื่อสัตย์ โดยต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือลอกการบ้านของผู้อื่น ไม่คัดลอกผลงานวิจัย การ ตีพิมพ์ผลงาน หรือวิทยานิพนธ์ มาเป็นผลงานของตน 2. นิสิ ตแสดงความคิดเห็ น และวิพากษ์วิ จารณ์ ปัญหา ทางคุ ณธรรม จริยธรรม ในวิ ชาการและวิ ชาชี พใน ระหว่างการเรียนการสอน 3. อาจารย์ผู้สอนต้องสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพในการสอนทุ ก รายวิ ช า รวมทั้ งจั ดกิ จกรรมส่ งเสริ มคุ ณธรรมและ จริยธรรม 4. การปลู ก ฝั งให้ นิ สิ ตมี ร ะเบี ยบวิ นั ยและมี คุ ณธรรม จริยธรรม เช่น ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ โดย เน้นการเข้าชั้ นเรียนให้ ตรงเวลา รวมทั้งนิสิ ตต้องมี ความรับผิดชอบในงานที่ตนได้รับมอบหมาย ทั้งงาน เดี่ยวและงานกลุ่ม โดยในการทางานกลุ่มต้องฝึกให้รู้ หน้าที่ของการเป็นผู้นาและสมาชิกกลุ่ม

1. ประเมินจากการบ้าน รายงาน วิทยานิพนธ์ หรือผลงานตีพิมพ์ของนิสิต จากการอ้างอิง ผลงานวิ จั ย ผู้ อื่ น ว่ า มี ก ารคั ด ลอกหรื อ ดัดแปลงมาหรือไม่ 2. ประเมินจากจานวนครั้งในการกระทาทุจริต หรือส่อไปในทางทุจริตในการสอบ 3. ประเมินจากความมี วินัยในการตรงต่อเวลา ของนิสิตในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับ มอบหมายและการร่วมกิจกรรมของนิสิต 4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมาย

52 ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้

2.2 ด้านความรู้ 2.2.1 มีความรู้และเข้าใจอย่างถ่องแท้และลึกซึ้ง 1. ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ ทั้งเน้นผู้เรียนเป็น ในองค์ความรู้ที่เป็นแก่นในสาขาวิศวกรรม สาคัญ และการเน้นการประยุกต์ความรู้ในสาขาวิชา เคมี เพื่อสามารถสร้างนวัตกรรมหรือองค์ กับปัญหาต่างๆ ที่พบในปัจจุบัน เพื่อกระตุ้นให้นิสิตมี ความรู้ใหม่ การพัฒนาความคิดและสร้างสรรค์องค์ความรู้เพิ่มเติม 2.2.2 มีความรู้ที่เป็นปัจจุบันในสาขาวิศวกรรม ได้ด้วยตนเอง ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา เคมี รวมถึงประเด็นปัญหาที่สาคัญที่จะ ตลอดจนเนือ้ หาสาระของรายวิชานั้น ๆ เกิดขึ้น 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดู 2.2.3 มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง งานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็น เกี่ ย วกั บ แนวปฏิ บั ติ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงใน วิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง วิ ช าชี พ ทั้ ง ในระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องซึ่ง อาจมีผ ลกระทบต่ อ สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรม เคมี 2.2.4 ตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ใน สภ าพแ ว ดล้ อมของระ ดั บ ช าติ แ ล ะ นานาชาติ ในเรื่องของสาขาวิช าชีพ และ แนวโน้มของสาขาอาชีพในอนาคต

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. การประเมินจากการบ้านและรายงานที่นิสิต ได้รับมอบหมายให้จัดทา 4. การประเมินจากโครงงานที่นิสิตได้รับ มอบหมายให้จัดทาและนาเสนอในชั้นเรียน 5. การประเมินจากผลงานการวิจัยของนิสิต 6. การประเมินจากผู้บรรยายภายนอก

53 ผลการเรียนรู้ 2.3 ด้านทักษะทางปัญญา 2.3.1 สามารถใช้ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และเทคนิ ค การแสวงหาความรู้ ใ นการ วิ เ คราะห์ ป ระเด็ น และปั ญ หาได้ อ ย่ า ง สร้ า งสรรค์ และสามารถพั ฒ นาแนว ทางการแก้ปัญหาด้วยวิธีใหม่ 2.3.2 สามารถสั งเคราะห์ ผ ลงานการวิ จั ยและ ทฤษฎี เพื่ อพั ฒนาองค์ ความรู้ ความเข้ าใจ ใหม่ ที่ สร้ างสรรค์ โดยบู ร ณาการแนวคิ ด ต่ างๆ ทั้ งจากภายในและภายนอกสาขา วิศวกรรมเคมีในขั้นสูง 2 . 3 . 3 สามารถออกแบบและด าเนิ นการ โครงการวิ จั ยที่ ส าคัญในเรื่ องที่ ซั บซ้ อนที่ เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ใ หม่ ห รื อ ปรั บปรุ งแนวทางปฏิบั ติในวิชาชีพอย่างมี นัยสาคัญ 2.3.4 มีความสามารถในการพัฒนาตนเองทั้งใน ด้ า นวิ ช าการและความก้ า วหน้ า ในสาย อาชีพจากการวางแผนและพัฒนางานวิจัย

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้

1. ในการเรี ยนการสอนต้องฝึก กระบวนการคิ ดอย่ า1.ง 1. ประเมินจากสภาพจริงจากผลงานและการ

สร้างสรรค์ โดยเริ่มต้นจากปัญหาพื้นฐานที่ง่ายและ เพิ่มการประยุกต์ใช้และมีระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชา 2. มีการจัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้วยการ แก้ ปั ญ หาจากสถานการณ์ จ าลองที่ ส อดคล้ อ งกั บ รายวิชานั้นๆ 3. มี ก ารมอบหมายงานเชิ ง ค้ น คว้ า นอกเหนื อ จาก เนื้ อ หาในรายวิ ช าที่ เ ป็ น ประเด็ น หรื อ ปั ญ หาใน สาขาวิชานั้นๆ 4. จั ด ให้ มี ก ารสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการระหว่ า งนิ สิ ต และ อาจารย์ผู้สอน หรือเชิญวิทยากรภายนอกที่มีความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์ในสาขาวิชานั้นๆ

ปฏิ บั ติ ข องนิ สิ ต เช่ น ประเมิ น จากการ นาเสนอรายงานในชั้นเรียน ประเมินจากงาน ที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากผลงานวิจัยที่ ตีพิมพ์ เป็นต้น

54 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ หรือโครงงานวิจัย 2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 2.4.1 มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นิสิตเรียนรู้แบบ ทางวิชาการและวิชาชีพ ร่ ว มมื อ ฝึ ก การท างานเป็ น กลุ่ ม ตลอดจนมี ก าร 2.4.2 สามารถวางแผนวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่ สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ซับซ้อนสูงมากด้วยตนเอง รวมทั้งวางแผน การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กร ในการปรับปรุงตนเองและองค์กรได้อย่าง เข้าไปในรายวิชาต่าง ๆ มีประสิทธิภาพ 2.4.3 สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมกลุ่ม อย่างสร้างสรรค์ 2.4.4 มีความโดดเด่นในการเป็นผู้นาในทาง วิชาการหรือวิชาชีพและสังคมที่ซับซ้อน 2.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิช าต่างๆ ให้นิสิ ตได้ สถิติเพื่อน าไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อ เรี ย นรู้ ด้ ว การปฏิ บั ติ ใ นหลากหลายสถานการณ์ แก้ไขและสรุปปั ญหาที่ส าคัญและซับซ้อน เนื้อหาการเรียนการสอนมีการสอดแทรกตัว อย่าง รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไขในด้าน การประยุกต์ใช้หลักทางคณิตศาสตร์และสถิติในการ

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้

1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออก ของนิสิตในการนาเสนอรายงานหรือ โครงงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วม กิ จ กรรมต่ า งๆ อาทิ เ ช่ น การเข้ า ร่ ว มฟั ง สัมมนาวิชาการ

1. ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณิตศาสตร์หรือสถิติ 2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆที่มีการ

55 ผลการเรียนรู้ ต่างๆ โดยเจาะลึก 2.5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ ทั้งในวงการ วิชาการและวิชาชีพ รวมถึงบุคคลทั่วไป 2.5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล และน าเสนอได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 2.5.4 สามารถเผยแพร่องค์ความรู้หรือข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ ต่ อวงการวิ ชาการ วิชาชี พหรื อ สั ง คมได้ โ ดยการน าเสนอรายงานทั้ ง ใน รูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ แก้ปัญหา รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ นาเสนอต่อชั้นเรียน สื่อสาร 3. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย รายงาน ดุษฎีนิพนธ์ ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) (เอกสารแนบหมายเลข 3)

56

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) ใช้ระบบการให้คะแนนแบบมีค่าระดับขั้น และแบบไม่มีค่าระดับขั้น ดังนี้ 1.1 การให้คะแนนแบบมีค่าระดับขั้น แบ่งเป็น 8 ระดับ คือ A, B+, B, C+, C, D+, D และ F ซึ่งคิด เป็นค่าระดับขั้น 4.0, 3.5, 3.0, 2.5, 2.0, 1.5, 1.0, และ 0 ตามลาดับ 1.2 การให้คะแนนแบบไม่มีค่าระดับขั้น ในบางรายวิชา เช่น วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ จะให้คะแนน เป็น S ซึ่งหมายถึงผลการศึกษาผ่านตามเกณฑ์ และ U ซึ่งหมายถึงผลการศึกษาไม่ผ่านตามเกณฑ์ 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต 2.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประเมินข้อสอบของแต่ละรายวิชาว่าสอดคล้องกับความรับผิดชอบ ต่อผลการเรียนรู้หรือไม่ 2.2 การประเมินผลของแต่ล ะรายวิชาต้องผ่ านที่ประชุมของคณะกรรมการบริห ารหลั กสูตรหรือ คณะกรรมการที่คณะวิศวกรรมศาสตร์แต่งตั้งก่อนประกาศผลสอบ 2.3 ตรวจสอบจากรายงานรายวิชา 3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร สาหรับหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี ให้ใช้เกณฑ์การสาเร็จการศึกษา เป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ข้อ 14.2.1 สาหรับแผน ก แบบ ก1 ข้อ 14.2.2 สาหรับแผน ก แบบ ก2 ข้อ 14.2.3 สาหรับแผน ข สาหรับหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี ให้ใช้เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาเป็นไปตาม ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ข้อ 14.3.1 สาหรับแบบ 1 และข้อ 14.3.2 สาหรับแบบ 2 ยกเว้นเรื่องการตีพิมพ์ให้ใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้ แบบ 1.1 จะต้องตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) ดังเอกสารแนบหมายเลข 4 อย่างน้อย 1 เรื่อง และตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการ (Proceedings) อย่างน้อย 1 เรื่อง แบบ 1.2 จะต้องตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) ดังเอกสารแนบหมายเลข 4 อย่างน้อย 1 เรื่อง และตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่ปรากฏใน ฐานข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index – TCI) อย่างน้อย 1 เรื่อง แบบ 2.1 จะต้องตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) ดังเอกสารแนบหมายเลข 4 อย่างน้อย 1 เรื่อง

57 แบบ 2.2 จะต้องตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) ดังเอกสารแนบหมายเลข 4 อย่างน้อย 1 เรื่อง และตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการ (Proceedings) อย่างน้อย 1 เรื่อง สาหรับนิสิตได้รับทุนการศึกษาจากแหล่งทุนใด เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาให้เป็นไปตามเงื่อนไข ของแหล่งทุนนั้นแต่ต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรนี้ ส าหรั บ นิ สิ ต ที่ ไ ด้ รั บ ทุ น โครงการปริ ญ ญาเอกกาญจนาภิ เ ษก (คปก.) ให้ ใ ช้ เ กณฑ์ ก ารส าเร็ จ การศึกษาตามเงื่อนไขของทุน คปก. คือ ต้องได้รับการตีพิมพ์หรือตอบรับเพื่ อตีพิมพ์ผลงานวิจัยอันเป็น ส่ ว นหนึ่ งของดุษฎีนิ พนธ์อย่ างน้ อ ย 2 เรื่อ ง ก่อนส าเร็จการศึก ษา โดย เรื่องที่ 1 ในวารสารวิช าการ นานาชาติ ในฐานข้อมูลสากล หรือได้รับการจดสิทธิบัตร และเรื่องที่ 2 ในวารสารวิชาการนานาชาติ ใน ฐานข้อมูลสากล หรือในวารสารวิชาการระดับชาติที่ สกว. ยอมรับ หรือผลงานอื่นที่มีคุณภาพเทียบเท่าที่ สกว. เห็นควร

58

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 1.1 มีก ารปฐมนิ เ ทศอาจารย์ ใ หม่ ให้ รู้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย และคณะ และให้ เข้ า ใจวัต ถุ ป ระสงค์ แ ละ เป้าหมายของหลักสูตรตามแนวคิดของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ โดยจัดให้มีอาจารย์พี่เลี้ยงเพื่อให้ คาแนะนาต่างๆ แก่อาจารย์ใหม่ 1.2 ให้อาจารย์ใหม่เข้าใจการบริหารวิชาการของคณะ และเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาที่คณะ ต้องดาเนินการ และส่วนที่อาจารย์ทุกคนต้องปฏิบัติ 1.3 มีการแนะนาอาจารย์พิเศษให้เข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ตลอดจนรายวิชาที่จะสอน พร้อมทั้งมอบเอกสารที่เกี่ยวข้องให้กับอาจารย์พิเศษ 2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 2.1.1 มหาวิทยาลั ยมีห ลักสูตรอบรมส าหรับอาจารย์ใหม่ โดยทุกคนต้องผ่านการอบรมสอง หลั กสู ตร คือ หลั ก สู ตรเกี่ย วกับ การสอนทั่ว ไป และหลั กสู ต รการวัด และประเมิน ผลซึ่ ง อาจารย์ใหม่ทุกคนต้องผ่านการอบรมภายใน 1 ปี ที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง 2.1.2 อาจารย์อย่างน้อยร้อยละ 25 ของจานวนอาจารย์ทั้งหมดต้องผ่านการอบรมหลักสูตร เกี่ยวกับการสอนแบบต่างๆ การสร้างแบบทดสอบต่างๆ ตลอดจนการประเมินผลการเรียนรู้ ที่อิงพัฒนาการของผู้เรียน การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการสอน การใช้และผลิต สื่อการสอน โดยอย่างน้อยต้องอบรมปีละ 10 ชั่วโมง 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่น ๆ 2.2.1 สนับสนุนให้อาจารย์ใหม่ไปอบรมหรือประชุมสัมมนาทั้งในวิชาชีพและวิชาการอื่นๆ 2.2.2 สนับสนุนให้อาจารย์จัดทาผลงานทางวิชาการ เพื่อให้มีตาแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น 2.2.3 ส่งเสริมให้อาจารย์ทาวิจัยทั้งการวิจัยในสาขาวิชาชีพ และการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนให้แรงจูงใจแก่ผู้ที่มีผลงานทางวิชาการอย่างประจักษ์

59

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรซึ่งมีหน้าที่กากับดูแล ควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น พร้ อ มทั้ ง ก าหนดแนวปฏิ บั ติ ใ ห้ แ ก่ อ าจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต ร เพื่ อ ให้ ก าร ดาเนินงานการจัดการศึกษามีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวางแผนการจัดการเรียนการสอนร่วมกับอาจารย์ผู้สอน 1.3 นาแผนการจัดการเรียนการสอนเพื่อขอความเห็นชอบจากที่ประชุมของภาควิชาฯ โดยมีการ ติดตามและรวบรวมข้อมูล มีการรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 7 1.4 เสนอให้คณะกรรมการประจาคณะฯ พิจารณา 1.5 นาข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจาคณะฯ และผลการประเมินความพึงพอใจของ หลักสูตรและการเรียนการสอน โดยบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา และจากผู้ใช้บัณฑิตมาปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยจะกระทาทุกปีอย่างต่อเนื่อง 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ การดาเนินการตามหลักสูตร จะใช้อาคารสถานที่ของภาควิชาวิศวกรรมเคมี และส่วนกลาง ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรและงบลงทุน จะมีการวิเคราะห์ต้นทุนของ การดาเนินงาน โดยจะขอรับการสนับสนุนจากรัฐบาล แต่หากมีความจาเป็นในการลงทุนเพื่อการพัฒนา นิสิตและอาจารย์ หรืองบดาเนินการอื่นๆ อาจจะมีการพิจารณาใช้งบประมาณเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ในส่วนของสาขาวิชาหรือส่วนกลางของคณะฯ ตามความจาเป็น 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม มหาวิทยาลัยบูรพามีความพร้อมด้านทรัพยากรการเรียนรู้ และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ กล่าวคือ หนังสือ ตารา และการสืบค้นผ่านฐานข้อมูล สามารถใช้บริการได้จากสานักหอสมุดกลางที่มีการ บริหารจัดการและฐานข้อมูลที่ นิสิตสามารถสืบค้นสาหรับการทาวิจัยได้อย่างสะดวก ในส่วนของคณะ วิศวกรรมศาสตร์จะเน้นหนังสือและตาราเฉพาะทาง อีกทั้งมีบริการคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และอุปกรณ์ที่ใช้สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยอย่างพอเพียง นอกจากนี้ในระดับภาควิชา วิศวกรรมเคมี มีห้องทาการวิจัย อุปกรณ์เครื่องมือพื้นฐานที่จาเป็นและเหมาะสมสาหรับการเรียนการสอน และการทาวิจัย 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม คณะวิศวกรรมศาสตร์มีการประสานงานกับสานักหอสมุดกลางในการจัดซื้อหนังสือ และ ตาราเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริการให้อาจารย์และนิสิตได้ค้นคว้า และใช้ประกอบการเรียนการสอน

60 สาหรับการประสานการจัดซื้อหนังสือนั้น อาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาและอาจารย์พิเศษที่เชิญมาสอน บางรายวิชานั้น จะมีส่วนร่วมในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ ตลอดจนสื่ออื่นๆ ที่จาเป็น ในส่วนของห้องสมุด ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ทรัพยากรการเรียนการสอนจะมีการจัดหา เพิ่มเติมอยู่อย่างต่อเนื่อง ในแต่ละปี คณะวิศวกรรมศาสตร์จะมีงบประมาณสาหรับจัดซื้อหนังสือ ตารา และวารสารทางวิชาการ เอกสารอ้างอิง เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนและงานวิจัย นอกจากนี้ทางคณะฯ มีการเพิ่มการจัดสื่อการสอนอื่นเพื่อใช้ประกอบการสอนของอาจารย์ เช่น เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายทอดภาพ 3 มิติ เครื่องฉายสไลด์ เป็นต้น ในส่วนของภาควิชาวิศวกรรมเคมีก็ มี การพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์ในการเรียนปฏิบัติการและการทาวิจัยอยู่อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้มีการจัด พื้นที่สาหรับพบปะกันระหว่างอาจารย์และนิสิต เพื่อให้คาปรึกษาด้านวิชาการและการทาการวิจัย 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร มีเจ้าหน้าที่ประจาห้องสมุดของคณะ ซึ่งจะประสานงานการจัดหาหนังสือเพื่อเข้าหอสมุดกลาง และทาหน้าที่ประเมินความพอเพียงของหนังสือ ตารา นอกจากนี้มีเจ้าหน้าที่ด้านโสตทัศนอุปกรณ์ ซึ่งจะ อานวยความสะดวกในการใช้สื่ อของอาจารย์แล้ ว ยังต้องประเมินความพอเพียงและความต้องการใช้ สิ่ งสนั บสนุ นการเรี ย นรู้ สื่ อของนิ สิ ตและอาจารย์ ด้วย และในส่ ว นของภาควิ ช าวิศ วกรรมเคมี จะดูแ ล ความเพียงพอของเครื่องมืออุปกรณ์เฉพาะทางวิศวกรรมเคมี 3. การบริหารคณาจารย์ 3.1 การรับอาจารย์ใหม่ มี ร ะบบการรั บ การคั ด เลื อ กอาจารย์ ใ หม่ ต ามระเบี ย บและก าหนดเกณฑ์ คุ ณ สมบั ติ ต าม หลั ก เกณฑ์ ของมหาวิ ทยาลั ย บู ร พา โดยมี ค ณะกรรมการคั ด เลื อ กเป็ น กลไกในการกลั่ น กรองและให้ ความเห็นเกี่ยวกับคุณสมบัติของอาจารย์ใหม่ โดยอาจารย์ใหม่จะต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาเอกใน สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมเคมี ห รื อ สาขาวิ ช าอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยเน้ น ทั ก ษะความสามารถในการวิ จั ย นอกเหนือจากความรู้ความสามารถด้านการเรียนการสอน 3.2 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร คณาจารย์ประจาหลักสูตร และคณาจารย์ผู้สอน มีการประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการ เรียนการสอน ประเมินผลและให้ความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียม ไว้สาหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทางที่จะทาให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร และบัณฑิตมีผลการเรียนรู้อย่างน้อยตามที่มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีตามที่กาหนด a. การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ สาหรับคณาจารย์พิเศษถือว่ามีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นผู้ถ่ายทอดประสบการณ์ตรง จากการปฏิบัติมาให้กับนิสิต นอกจากนี้ อาจารย์พิเศษ ไม่ว่าจะสอน ทั้งรายวิชาหรือบางชั่วโมงจะต้องเป็น ผู้มีประสบการณ์ตรงกับสาขานั้นๆ

61 หลั ก นโยบายในการแต่ ง ตั้ ง อาจารย์ พิ เ ศษ คื อ คณาจารย์ เ หล่ า นั้ น ต้ อ งเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ เชี่ยวชาญพิเศษเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาของหลักสูตร หรือเป็นผู้ ที่ประสบการณ์จากการทางานจริง อย่ า งเชี่ย วชาญซึ่ งส่ ว นใหญ่ จ ะมาจากภาคอุ ตสาหกรรม เพื่ อให้ นิสิ ตได้เ รียนรู้ปั ญหาจริงที่ เกิ ดขึ้ นใน อุตสาหกรรม รวมทั้งเห็นภาพรวมของการทางานจริงในอุตสาหกรรมอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น โดยการแต่งตั้ง อาจารย์พิเศษต้องเป็นตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยอาจารย์พิเศษ พ.ศ. 2556 b. การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มีการจัดสรรงบประมาณด้านการวิจัยเพื่อให้โอกาสอาจารย์ทุกคนได้ พัฒนาตนเองให้มีคุณภาพ โดยมีการควบคุม กากับ และส่งเสริม เพื่อพัฒนามาตรฐานทางวิชาการของ คณาจารย์ โดยให้คณาจารย์สร้างผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง ในด้านการสอนของคณาจารย์จะมีการ ประเมินการสอนของอาจารย์และนาผลการประเมินนั้นมาใช้ในการส่งเสริมและพัฒนาความสามารถด้าน การสอนของอาจารย์ 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง บุคลากรสายสนับสนุนควรมีวุฒิขั้นต่าปริญญาตรี และควรมีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์ รวมถึงสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ เจ้าหน้าที่ช่างเทคนิคควรมีวุฒิระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขึ้นไป สาหรับบุคลากรสายสนับสนุน ตาแหน่งอื่นๆ มีคุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ 4.2 การเพิ่มทักษะความรู้เพื่อการปฏิบัติงาน บุคลากรต้องเข้าใจโครงสร้างและธรรมชาติของหลั กสู ตร และจะต้องสามารถบริการให้ อาจารย์สามารถใช้สื่อการสอนได้อย่างสะดวก ซึ่งจาเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมเฉพาะทางทุกคนอย่างน้อย คนละ 6 ชั่วโมงต่อปี กรณีที่บุคลากรที่บรรจุในตาแหน่งนักวิจัย นอกจากจะทาหน้าที่สนับสนุนการวิจัยแล้ว ยังต้องทาวิจัยร่วมกับคณาจารย์ด้วย บุคลกรจะได้รับการสนับสนุนในการฝึกอบรม ทัศนศึกษา และการฝึก การทาวิจัยร่วมกับอาจารย์อย่างต่อเนื่อง 5. การสนับสนุนและการให้คาแนะนานิสิต 5.1 การให้คาปรึกษาด้านวิชาการ และแนะแนวแก่นิสิตตามจรรยาบรรณของอาจารย์ คณะฯ มี การแต่ง ตั้ งอาจารย์ ที่ป รึ ก ษาทางวิ ช าการให้ แ ก่นิ สิ ตทุ ก คนตั้ ง แต่ แ รกเข้ า ทั้ ง นี้ อาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ มีหน้าที่ให้คาปรึกษา คาแนะนาแผนการเรียนให้กับนิสิต การกาหนดอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ /วิทยานิพนธ์/งานนิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษาจะ คานึงถึงความเชี่ยวชาญสอดคล้องและสัมพันธ์กับหัวข้อดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/งานนิพนธ์ของนิสิต โดย อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/งานนิพนธ์ดังกล่าว มีหน้าที่ช่วยเหลือ กากับ ติดตามในการทา ดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/งานนิพนธ์และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา

62 โดยอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/งานนิพนธ์ของ นิสิตรวมทั้งอาจารย์อาจารย์ผู้สอนในทุกรายวิชาในหลักสูตร จะกาหนดชั่วโมงว่าง (Office Hours) ประจา สัปดาห์ เพื่อให้นิสิตเข้าปรึกษา 5.2 การอุทธรณ์ของนิสิต กรณีที่นิสิตมีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใดสามารถที่จะยื่นคาร้องขอดู กระดาษคาตอบในการสอบ ตลอดจนคะแนนและวิธีการประเมินของอาจารย์ในแต่ละรายวิชาได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่มหาวิทยาลัยกาหนด อย่างไรก็ตามอาจารย์ผู้สอนจะชี้แจงวิธีการ ประเมินและการตัดเกรดให้นิสิตรับรู้ร่วมกันตั้งแต่คาบแรกที่เรียนในแต่ละรายวิชา 6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาหรับความต้องการกาลังคนสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีนั้น มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจาก การเจริ ญเติ บโตทางภาคอุ ตสาหกรรม ในการพั ฒนาดั งกล่ าวจ าเป็ นต้ องมี วิ ศวกรเคมี ผู้ มี ความรู้ และ ความเชี่ยวชาญขั้นสู งที่สามารถแก้ไขปั ญหาทั้งด้านการออกแบบ และการควบคุมกระบวนการผลิ ต ที่มี ความรู้ความสามารถ รวมทั้งทางด้านการทาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ เพื่อนาไปประยุกต์และพัฒนาการ จัดการแก้ไขปัญหาต่างๆ อย่ างยั่ งยื น ซึ่งวิศวกรเคมี ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทหรื อปริญญาเอกตาม หลักสูตรนี้จะได้รับการศึกษาดังกล่าว ทั้งนี้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จะดาเนินการติดตามความเปลี่ยนแปลงและความพึงพอใจของ ผู้ใช้บัณฑิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้ในการประเมินและปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของ อุตสาหกรรมเคมีต่อไป อีกทั้งสารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตเมื่อครบหลักสูตร เพื่อใช้เป็นข้อมูล สาหรับการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการให้มากที่สุด

63 7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานด้านกระบวนการจัดการศึกษา (Key performance indicators of educational process) 7.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย 1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 60 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) 3. มีรายละเอียดของรายวิชาตามแบบ มคอ. 3 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ให้ครบทุกรายวิชา 4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชาตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลัง สิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา 6. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ. 7 ปีที่แล้ว 7. ระดับความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ด้านการจัดการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.0 8. อื่นๆ ระบุ ... รวมตัวบ่งชี้ (ข้อ) ในแต่ละปี ตัวบ่งชี้บังคับ (ข้อที)่ ตัวบ่งชี้ต้องผ่านรวม (ข้อ)

ปีการศึกษา ปีที่ 1 ปีที่ 2 X X X

X

X

X

X

X

X

X X X

5 1-5

7 1-5

64 7.2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แผน 1.1 และ 2.1 ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย 1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 60 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ แห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) 3. มีรายละเอียดของรายวิชาตามแบบ มคอ. 3 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค การศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชาตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา 6. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผล การเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว 7. ระดับความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ด้านการจัดการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.0 8. อื่นๆ ระบุ ... รวมตัวบ่งชี้ (ข้อ) ในแต่ละปี ตัวบ่งชี้บังคับ (ข้อที)่ ตัวบ่งชี้ต้องผ่านรวม (ข้อ) หมายเหตุ: √ หมายถึง ได้ดาเนินงาน

ปีการศึกษา ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 √































√ √

5 1-5

6 1-5

7 1-5

65 7.3 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แผน 1.2 และ 2.2 ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย 1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 60 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ แห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) 3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชาตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา 6. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผล การเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว 7. ระดับความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ด้านการจัดการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.0 8. อื่นๆ ระบุ ... รวมตัวบ่งชี้ (ข้อ) ในแต่ละปี ตัวบ่งชี้บังคับ (ข้อที)่ ตัวบ่งชี้ต้องผ่านรวม (ข้อ) หมายเหตุ: √ หมายถึง ได้ดาเนินงาน

ปีที่ 1

ปีการศึกษา ปีที่ 2 ปีที่ 3

ปีที่ 4













































√ √

5 1-5

6 1-5

6 1-5

7 1-5

66

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร 1.การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินและปรับปรุงยุทธศาสตร์ที่วางแผนไว้เพื่อพัฒนาการเรียน การสอนนั้น พิจารณาจากตัวผู้เรียนโดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆ หัวข้อว่ามีความเข้าใจ หรือไม่ โดยอาจประเมินจากการทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของนิสิต การอภิปรายโต้ตอบจากนิสิต การตอบคาถามของนิ สิ ตในชั้น เรี ย น ซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูล จากที่กล่ าวข้างต้นแล้ ว ก็ควรจะสามารถ ประเมิ น เบื้ องต้น ได้ว่ า ผู้ เรี ย นมี ความเข้า ใจหรือ ไม่ หากวิธี การที่ใ ช้ไ ม่ส ามารถท าให้ ผู้ เ รีย นเข้ าใจได้ ก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอน การประเมินผลการเรียน ในระดับปริญญาโทแผน ก จะประเมินโดยการสอบเค้าโครงและ สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ในระดับปริญญาโทแผน ข จะประเมินโดยการสอบประมวลความรู้และสอบ ป้องกันงานนิพนธ์ ในระดับปริญญาเอก จะประเมินโดยการสอบวัดคุณสมบัติ การสอบเค้าโครงและสอบ ป้องกันวิทยานิพนธ์ คณาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนจะมีการประเมินและปรับปรุงกลยุทธ์การสอน อย่างต่อเนื่อง มีการติดตามและประเมินกิจการทางวิชาการทุกครั้ง เช่น การจัดสัมมนาทางวิชาการ การ บรรยายพิเศษ เป็นต้น เพื่อการพัฒนากลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนต่อไป 1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน นิสิตได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์ การสอน และ การใช้สื่อในทุกรายวิชา 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จะดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการประเมิน หลั กสู ตรผ่ านการทางานร่ว มกับคณะอนุกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของ ภาควิชาต่างๆ โดยมีการระบุข้อมูลที่จะทาการเก็บรวบรวมอย่างชัดเจน 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายในของคณะดาเนินการประเมินผลการดาเนินงาน ของหลักสูตรตามรายละเอียดดังที่ระบุไว้ในรายการที่ 7 ของหมวดที่ 7 และนาเสนอต่อคณบดี 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรดาเนินการรวบรวมข้อมูลจากผลการประเมินการสอนของ อาจารย์ผู้สอน นิสิต บัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิต และจากข้อมูลที่ได้จาก มคอ. 5, 6 และ 7 เพื่อดาเนินการ

67 ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการหลักสูตรทั้งในภาพรวมหรือในแต่ละรายวิชา หลังจากนั้น จะดาเนินการ ปรับปรุงหลักสูตรทุกๆ 5 ปี เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

68

เอกสารแนบ หมายเลข 1 หมายเลข 2 หมายเลข 3 หมายเลข 4 หมายเลข 5 หมายเลข 6 หมายเลข 7

คาอธิบายรายวิชา ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ ประจาหลักสูตร แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ฐานข้อมูลในการตีพิมพ์ผลงาน ข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ผลการวิพากษ์หลักสูตรจากผู้ทรงคุณวุฒิ

69

หมายเลข 1 คาอธิบายรายวิชา 1) หมวดวิชาบังคับ รายวิชาบังคับทั่วไป 50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 2(1-2-3) Advanced Research Methods in Chemical Engineering เทคนิคการออกแบบการทดลอง ระเบียบวิธี การวิจัยเชิงลึก การวิเคราะห์ ข้อมูล และสรุป ผลการวิจั ย การจั ดทาข้อเสนอโครงการวิจัย การเขียนรายงานวิ จัย การจัดทาบทความวิจัยเพื่อ การ นาเสนอผลงานทางวิชาการ จรรยาบรรณของการวิจัย Design of experiment; in-depth research methodology; data analysis and research summarization; proposal preparation; research report writing; research manuscript preparation for academic presentation; ethic 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี 1(0-2-1) Chemical Engineering Seminar การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ระหว่างนิสิต คณาจารย์ นักวิจัย และผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยด้านวิศวกรรมเคมี การพัฒนาทักษะและเทคนิคของการนาเสนอทางวิชาการ Exchange of knowledge and experience related to chemical engineering research between students, faculty, researchers and external experts; development of skill and technique for academic presentation รายวิชาแกนบังคับ 50250159 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Advanced Mathematics for Chemical Engineering การประยุกต์เทคนิคทางคณิตศาสตร์ขั้นสูงในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมเคมี สมการอนุพันธ์ สามัญ สมการอนุพันธ์ย่อย ระเบียบวิเคราะห์เชิงตัวเลข วิธีการประมาณค่าและเทคนิคทางคณิตศาสตร์ขั้น สูงอื่นๆ Application of advanced mathematical techniques for chemical engineering problems; ordinary differential equation; partial differential equation; numerical method; approximation method and other advanced mathematical methods

70 50250259 อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Thermodynamics of Chemical Systems การพัฒนาแนวคิดเชิงลึกของความสัมพันธ์ทางอุณหพลศาสตร์ของระบบมหภาค พลังงาน อิสระกิบส์ต่อการวิเคราะห์ระบบทางอุณหพลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ของระบบพหุองค์ประกอบ การ ประยุกต์ อุณหพลศาสตร์ในกระบวนการทางเคมี In-depth development of thermodynamics relationship to macroscopic system; Gibbs free energy related to thermodynamics; thermodynamics of multicomponent systems; applications of thermodynamics in chemical processes 50250359 ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงในกระบวนการทางเคมี 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena in Chemical Processes การกระจายตัวของความเร็วเมื่อมีตัวแปรมากกว่าหนึ่ง การไหลแบบปั่นป่วน การกระจายตัว ของอุณหภูมิเมื่อมีตัวแปรมากกว่าหนึ่ง การแพร่พร้อมการเกิดปฏิกิริยา การดูดซึมของก๊าซ การละลายของ ของแข็ง การแพร่พร้อมการเกิดปฏิกิริยาภายในตัวกลางรูพรุน การกระจายตัวของความเข้มข้นเมื่อมี ตัวแปรมากกว่าหนึ่ง การเกิดปรากฎการร่วมของถ่ายโอนโมเมนตัม ความร้อน และมวล Velocity distributions with more than one independent variable; turbulent flow; temperature distributions with more than one independent variable; diffusion with a homogeneous reaction; gas absorption; solid dissolution; diffusion and chemical reaction inside a porous media; diffusion in ternary systems; concentration distributions with more than one independent variable; simultaneous momentum, heat, and mass transfer 50250459 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering การวิเคราะห์อัตราเร็วปฏิกิริยาในระบบปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ์ การเร่งปฏิกิริยาโดยรวมทั้ง อุณหพลศาสตร์และจลนพลศาสตร์ของการดูดซับและปฏิกิริยาบนพื้นผิวของของแข็ง การออกแบบเครื่อง ปฏิกรณ์ที่อุณหภูมิไม่คงที่และเครื่องปฏิกรณ์เคมีแบบหลายวัฎภาค การวิเคราะห์เครื่องปฏิกรณ์แบบไม่ อุดมคติ Analysis of reaction rate in heterogeneous reaction; heterogeneous catalysis including thermodynamics and kinetics of adsorption and reaction on solid surface; design of non-isothermal reactors and multiphase reactors; analysis of non-ideal reactors 50270159 หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี

3(3-0-6)

71 Advanced Topics in Chemical Engineering การวิจัยหรือพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ขั้นสูงที่สัมพันธ์กับวิศวกรรมเคมี Advanced research topics or new development related to chemical engineering 2) หมวดวิชาเลือก (1) กลุ่มวิชากระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี 50261159 การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของวัสดุขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Material Characterization เทคนิคและเครื่องมือวิเคราะห์ ขั้นสูงต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของวัสดุ การ ทดสอบสมบัติทางกลและทางกายภาพ การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี การวิเคราะห์โครงสร้าง และผิว ด้วยเทคนิครังสีเอ็กซ์และเทคนิคจุลทรรศน์อิเล็กตรอน การวิเคราะห์คุณสมบัติเชิงความร้อน เทคนิคการ หาน้าหนักโมเลกุลและการกระจายตัวของน้าหนักโมเลกุล Advanced analytical equipments and techniques for material characterization; mechanical and physical testing; chemical composition analysis; structural and surface analysis using X-ray diffraction and electron scanning technique; thermal property analysis; determination of molecular weight and distribution 50261259 พลังงานสะอาด 3(3-0-6) Clean Energy แหล่งกาเนิดของพลังงาน ความสาคัญของพลังงานสะอาด ชนิดของพลังงานทดแทน และ เสถียรภาพ ข้อดีข้อเสียของแต่ละชนิดของพลังงานทดแทน เทคโนโลยีผลิตพลังงานสะอาดในปัจจุบัน Sources of energy; importance of clean energy; types of renewable energy and sustainability; advantages and disadvantages of each type of renewable energy; current technology for clean energy production 50261359 เคมีคอลลอย์และพื้นผิวประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Surface and Colloid Chemistry หลั กการทางเคมีพื้ น ผิ วและคอลลอยด์ในการประยุกต์ใช้ ในปัจจุบัน อุณหพลศาสตร์ของ พื้น ผิว การเปี ยก การดูดซับ ระบบสารแขวนลอย แรงดึงดูดทางไฟฟ้าของพื้นผิว และเสถียรภาพของ คอลลอยด์ จลนพลศาสตร์ของการรวมตัว จลนพลศาสตร์ทางไฟฟ้าเคมี

72 Principles of surface and colloid chemistry with current applications; surface thermodynamics; wetting; adsorption; disperse systems; interaction of electrical double layers and colloid stability; kinetics of coagulation; electrokinetics 50261459 แบบจาลองและการวิเคราะห์กระบวนการ 3(3-0-6) Process Analysis and Simulation การวิเคราะห์และการสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ของกระบวนการทางเคมี พฤติกรรม สภาวะคงตั ว และสภาวะพลวั ต การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ แ ละซอฟต์ แ วร์ ส าเร็ จ รู ป ทางด้ า นการจ าลอง กระบวนการ Analysis and development of mathematical modeling in chemical processes; steady and unsteady state conditions; application of computer software for process simulation 50261559 วัสดุสาหรับการใช้งานเฉพาะด้าน 3(3-0-6) Materials for Special Applications วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ วัสดุทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ วัสดุขนาด นาโนสาหรับตัวตรวจจับ วัสดุสาหรับพลังงานและสิ่งแวดล้อม Eco- and biological friendly materials; materials for medical and pharmaceutical applications; nanomaterials sensors; materials for energy and environmental applications 50261659 วิศวกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี 3(3-0-6) Petroleum and Petrochemical Engineering เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางปิโตรเลียมและปิโตรเคมีที่ทันสมัย เทคโนโลยีการ สารวจแหล่งปิโตรเลียม กระบวนการผลิตปิโตรเลียม เทคโนโลยีการผลิตปิโตรเคมี การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ จากปิโตรเลียมและปิโตรเคมี Current petroleum and petrochemical technologies; reservoir exploration; petroleum refinery; petrochemical processes; characterizations of petroleum and petrochemical products

73 50261759 วิศวกรรมพอลิเมอร์ 3(3-0-6) Polymer Engineering เทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ที่ทันสมัย คอมโพสิตพอลิเมอร์ เยื่อเลือกผ่านพอลิ เมอร์ ฟังก์ชั่นนัลพอลิเมอร์ เทคโนโลยีนาโนสาหรับพอลิเมอร์ Advanced polymer technologies and applications; polymer composite; polymer membrane; functional polymer; polymer nanotechnology (2) กลุ่มวิชาตามพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์ 50262159 หัวข้ออุตสาหกรรมพิเศษทางวิศวกรรมเคมี Industrial Special Topics in Chemical Engineering ปัญหาทางวิศวกรรมเคมีพิเศษจากอุตสาหกรรม Special chemical engineering problems from industry

3(0-9-3)

50262259 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Special Topics in Chemical Engineering หลักวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ที่น่าสนใจในปัจจุบันสาหรับงานทางด้านวิศวกรรมเคมี Current interesting knowledge and technology in chemical engineering 50262359 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Special Topics in Environmental Engineering หลั ก วิ ท ยาการและเทคโนโลยี ใ หม่ ที่ น่ า สนใจในปั จ จุ บั น ส าหรั บ งานทางด้ า นวิ ศ วกรรม สิ่งแวดล้อม Current interesting knowledge and technology in environmental engineering 50262459 หัวข้อพิเศษทางการบริหารจัดการในอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Special Topics in Operation Management in Industry หลักวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ที่น่าสนใจในปัจจุบันสาหรับงานทางด้านการบริหารจัดการ ในอุตสาหกรรม Current interesting knowledge and technology in operation management in industry

74 50262559 หัวข้อพิเศษทางการจัดการพลังงาน 3(3-0-6) Special Topics in Energy Management หลั ก วิ ท ยาการและเทคโนโลยี ใ หม่ ที่ น่ า สนใจในปั จ จุ บั น ส าหรั บ งานทางด้ า นการ จั ด การพลังงาน Current interesting knowledge and technology in energy management 50262659 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวเคมี 3(3-0-6) Special Topics in Biochemical Engineering หลักวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ ที่น่าสนใจในปัจจุบันสาหรับงานทางด้านการ วิศวกรรม ชีวเคมี Current interesting knowledge and technology in biochemical engineering 50262759 หัวข้อพิเศษทางวัสดุวิศวกรรม 3(3-0-6) Special Topics in Material Engineering หลั ก วิ ท ยาการและเทคโนโลยี ใ หม่ ที่ น่ า สนใจในปั จ จุ บั น ส าหรั บ งานทางด้ า นการ วั ส ดุ วิศวกรรม Current interesting knowledge and technology in material engineering (3) หมวดรายวิชาที่เกี่ยวกับงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ 50269759 วิทยานิพนธ์ 36(0-0-108) Thesis การกาหนดสิ่งที่ต้องการวิจัย การทบทวน การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ วรรณกรรม การ ประเมินความน่าเชื่อถือของวรรณกรรมที่ทบทวน การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย การกาหนดวิธีการวิจัย การเสนอเค้าโครงการวิจัย การดาเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การอ้างอิงผลงานของผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนรายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปากเปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมใน การ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Purpose of research; literature reviews, analysis and synthesis; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; discussions; citations and international bibliographic systems; full research report

75 compilation; research article authoring; abstract preparation; oral presentations; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works 50269859 งานนิพนธ์ 6(0-0-18) Independent Study การก าหนดสิ่ งที่ ต้ อ งการศึ กษาค้ นคว้ า การก าหนดวั ตถุ ป ระสงค์ ก ารศึ ก ษาค้ น คว้า การ วิเคราะห์วรรณกรรม การประเมินความน่าเชื่อถือของวรรณกรรมที่ทบทวน การสังเคราะห์วรรณกรรม การวิจารณ์ผล การอ้างอิงผลงานของผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนรายงาน วิชาการฉบับสมบูรณ์ การเขียนบทความวิชาการเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานวิชาการด้วยปากเปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Purpose of study; study aims and objectives; literature analysis; confidence evaluation of reviewed literature; literature synthesis; result discussions; citations and international bibliographic systems; full research report compilation; academic article authoring; abstract preparation; oral presentation; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works 50269959 วิทยานิพนธ์ 12(0-0-36) การกาหนดสิ่งที่ต้องการวิจัย การทบทวน การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ วรรณกรรม การ ประเมินความน่าเชื่อถือของวรรณกรรมที่ทบทวน การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย การกาหนดวิธีการวิจัย การเสนอเค้าโครงการวิจัย การดาเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การอ้างอิงผลงานของผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนรายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปากเปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Purpose of research; literature reviews, analysis and synthesis; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; discussions; citations and international bibliographic systems; full research report compilation; research article authoring; abstract preparation; oral presentations; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works

76 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ 48(0-0-144) Dissertation การกาหนดสิ่งที่ต้องการวิจัยอันเป็นความรู้ใหม่หรือการพัฒนาความรู้เดิม การทบทวน การ วิเคราะห์และการสังเคราะห์ วรรณกรรมโดยละเอียด การประเมินความน่าเชื่อถือ ของวรรณกรรมที่ ทบทวน การก าหนดวัต ถุป ระสงค์ก ารวิ จั ย การกาหนดวิ ธีก ารวิ จัย การเสนอเค้ าโครงการวิจั ย การ ดาเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การเขียนรายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การอ้างอิงผลงานของ ผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปาก เปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Purpose of research leading to novel or advancing knowledge; elaborate review, analysis and synthesis of literature; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; result discussion; full research report compilation; research article authoring; citations and international bibliographic systems; abstract preparation; oral presentation; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ 72(0-0-216) Dissertation การกาหนดสิ่งที่ต้องการวิจัยอันเป็นความรู้ใหม่หรือการพัฒนาความรู้เดิม การทบทวน การ วิเคราะห์และการสังเคราะห์ วรรณกรรมโดยละเอียด การประเมินความน่าเชื่อถือ ของวรรณกรรมที่ ทบทวน การก าหนดวัต ถุป ระสงค์ก ารวิ จั ย การกาหนดวิ ธีก ารวิ จัย การเสนอเค้ าโครงการวิจั ย การ ดาเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การเขียนรายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การอ้างอิงผลงานของ ผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปาก เปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Purpose of research leading to novel or advancing knowledge; elaborate review, analysis and synthesis of literature; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; result discussion; full research report compilation; research article authoring; citations and international bibliographic

77 systems; abstract preparation; oral presentation; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works 50299859 ดุษฎีนิพนธ์ 36(0-0-108) Dissertation การกาหนดสิ่งที่ต้องการวิจัยอันเป็นความรู้ใหม่หรือการพัฒนาความรู้เดิม การทบทวน การ วิเคราะห์และการสังเคราะห์ วรรณกรรมโดยละเอียด การประเมินความน่าเชื่อถือ ของวรรณกรรมที่ ทบทวน การก าหนดวัต ถุป ระสงค์ก ารวิ จั ย การกาหนดวิ ธีก ารวิ จัย การเสนอเค้ าโครงการวิจั ย การ ดาเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การเขียนรายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การอ้างอิงผลงานของ ผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปาก เปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Purpose of research leading to novel or advancing knowledge; elaborate review, analysis and synthesis of literature; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; result discussion; full research report compilation; research article authoring; citations and international bibliographic systems; abstract preparation; oral presentation; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works 50299959 ดุษฎีนิพนธ์ 48(0-0-144) Dissertation การกาหนดสิ่งที่ต้องการวิจัยอันเป็นความรู้ใหม่หรือการพัฒนาความรู้เดิม การทบทวน การ วิเคราะห์และการสังเคราะห์ วรรณกรรมโดยละเอียด การประเมินความน่าเชื่อถือ ของวรรณกรรมที่ ทบทวน การก าหนดวัต ถุป ระสงค์ก ารวิ จั ย การกาหนดวิ ธีก ารวิ จัย การเสนอเค้ าโครงการวิจั ย การ ดาเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การเขียนรายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การอ้างอิงผลงานของ ผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปาก เปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Purpose of research leading to novel or advancing knowledge; elaborate review, analysis and synthesis of literature; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research

78 conducts; result processing and analysis; result synthesis; result discussion; full research report compilation; research article authoring; citations and international bibliographic systems; abstract preparation; oral presentation; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works

79

หมายเลข 2 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตร (1) นางสาววันเช็ง สิทธิกิจโยธิน ผลงานทางวิชาการ Ponnikornkit, B., Ngamsalak, C., Huanbutta, K., & Sittikijyothin, W. (2015). Swelling behaviour of carboxymethylated tamarind gum. Advanced Materials Research, 1060, 137-140. Mongkholrattanasit, R., Maha-in, K., Klaichoi, C., Pimklang, W., Buathong, P., Sittikijyothin, W., & Rungruangkitkrai, N. (2014). Colorimetric study on silk dyeing with the extracted dye from Longan leaves using pre-mordanting technique: A research of effect of mordant concentration. Advanced Materials Research, 1010-1012, 499-502. Satirapipathkul, C., Duangsri, P., & Sittikijyothin, W. (2014). The synergistic activity of the extracts from mango and tamarind gum in cotton fabric finishing. Advanced Materials Research, 875-877, 1458-1461. Sittikijyothin, W., Paunyakamonkid, K., & Klamtrakul, N. (2014). Observation of tamarind gum solubility in aqueous solution from turbidity measurement technique. Advanced Materials Research, 875-877, 609-612. Mongkholrattanasit, R., Rungruangkitkrai, N., Pikul, J., & Sittikijyothin, W. (2013) Application of tamarind gum thickener for polyester disperse printing. Advanced Materials Research, 821-822, 646-649. Sittikijyothin, W. (2013). Extraction, purification and physicochemical characterization of galactomannans. KMITL Science and Technology Journal, 13, 67-71. Khounvilay, K., Duangrudee, C., & Sittikijyothin, W. (2013). Galactomannans from seeds. Journal of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, 23(1), 107-116. Sawangkan, K., Sittikijyothin, W., & Satirapipathkul, C. (2012). Natural polysaccharide-based films and their antibacterial activities. Advanced Materials Research, 506, 397-400. Sittikijyothin, W. (2012). Effect of galactomannan on the dynamic properties of xyloglucan aqueous solutions. Advanced Materials Research, 506, 266-269. Khounvilay, K., & Sittikijyothin, W. (2012). Rheological behaviour of tamarind seed gum in aqueous solutions. Food Hydrocolloids, 26, 334-338.

80 (2) นางสาวไพลิน เงาตระการวิวัฒน์ ผลงานทางวิชาการ Piewnuan, C., Wootthikanokkhan, J., Ngaotrakanwiwat, P., Meeyoo, V., & Chiarakorn, S. (2014). Preparation of TiO2/ (TiO2-V2O5)/polypyrrole nanocomposites and a study on catalytic activities of the hybrid materials under UV/Visible light and in the dark. Superlattices and Microstructures, 75, 105-117. Somkid, K., & Ngaotrakanwiwat, P. (2013). Photocatalytic reactions of titanium dioxide for active packaging application. Applied Mechanics and Materials, 313-314, 131-134. Meesuppung, T., & Ngaotrakanwiwat, P. (2013). Effects of preparation parameters on TiO2/water nanofluid stability. Engineering Transactions, 16, 112-116. Ngaotrakanwiwat, P., & Meeyoo, V. (2012). TiO2-V2O5 nanocomposites as alternative energy storage substances for photocatalysts. Journal of Nanoscience and Nanotechnology, 12(1), 828-833. Buama, B., Ngaotrakanwiwat, P., & Rangsunvigit, P. (2012). Energy storage of NiO/TiO2 bilayer films and its effectiveness in the degradation of acid orange 7. Advanced Materials Research, 557-559, 2002-2007. Netiworaruksa, B., Smathwitthayawech, K., Soisuwan, S., & Ngaotrakanwiwat, P. (2012). Removal of toluene over titanium dioxide coated activated carbon. In Proceedings of the TIChE International Conference 2012 (pp. 15-16). Bangkok: MUT. Gallo, J., Borja, J., Gallardo, S., Ngaotrakanwiwat, P., Salim, C., & Hinode, H. (2011). Nanotitania-activated carbon with enhanced photocatalytic activity: A comparison between suspended and immobilized catalyst for turquoise blue removal. Asean Journal of Chemical Engineering, 11(2), 59-69. (3) นางสาวปิยฉัตร วัฒนชัย ผลงานทางวิชาการ Thaithae, W., Antonio, C. & Wattanachai, P. (2015). Properties Characterisation of polycarbonate and multi-walled carbon nanotubes composites prepared by solution technique. Asia-Pacific Journal of Chemical Engineering, 11, 34-50. Antonio, C., & Wattanachai, P. (2014). Variable frequency microwave curing of SU8 photoresist films. Advanced Materials Research, 931-932, 101-105.

81 Min, Z., Lin, J.-Y., Yimsiri, P., Asadullah, M., & Li, C.-Z. (2014). Catalytic reforming of tar during gasification. Part V. Decomposition of NOx precursors on the char-supported iron catalyst. Fuel, 116, 19-24. Wattanachai, P. (2013). Effects of biomass types, biomass pretreatment, and pyrolysis temperature on pyrolytic product yields. KMITL Science and Technology Journal, 13(Suppl. 2), 72-75. Min Z., Zhang S., Yimsiri, P., Wang, Y., Asadullah, M., & Li, C.Z. (2013). Catalytic reforming of tar during gasification. Part IV. Changes in the structure of char in the charsupported iron catalyst during reforming. Fuel, 106, 858-863. Min Z., Yimsiri, P., Zhang S. Wang, Y., Asadullah, M., & Li, C.Z. (2013). Catalytic reforming of tar during gasification. Part III. Effects of feedstock on tar reforming using ilmenite as a catalyst. Fuel, 103, 950-955. Nguyen, P. N. D., Kubouchi, M., Sakai, T., Roces, S. A., Bacani, F. T., & Yimsiri, P. (2012). Relationship of mechanical properties and temperature of carbon fiber-reinforced plastics under microwave irradiation. Clean Technologies Environmental Policy, 14 (Suppl. 5), 943-951. (4) นางสาววชิรา ดาวสุด ผลงานทางวิชาการ Daosud, W., Jariyaboon, K., Kittisupakorn, P. & Hussain, M. A. (2016). Neural network based model predictive control of batch extractive distillation process for improving purity of acetone. Engineering Journal, 20(1), 47-59. Kittisupakorn, P., Nueaklong, E., & Daosud, W. (2014). NN-based MPC for heat exchanger system in hard chrome electroplating. International Journal of Applied Biomedical Engineering, 7(3), 21-28. Kittisupakorn, P., Charoenniyom, T., & Daosud, W. (2014). Hybrid neural network controller design for a batch reactor to produce methyl methacrylate. Engineering Journal, 18(1), 145-162. วชิรา ดาวสุด. (๒๕๕๗). ข่ายงานนิวรัลสาหรับกระบวนการทางเคมี. วารสารวิจัย มข., ๑๙(๑), ๑๖๑๑๗๙.

82 (5) นางเอกรัตน์ วงษ์แก้ว ผลงานทางวิชาการ Lamai, W., Aunbamrung, P. & Wongkaew, A. (2015). The effect of preparation conditions on CuO/Fe2O3 catalysts prepared by a co-precipitation for selective CO oxidation. In Proceedings of the Burapaha University International Conference 2015 (pp. 728-735). Chonburi: Burapha University. Lamai, W., Aunbamrung, P., & Wongkaew, A. (2014). Characteristic and catalytic activity of CuO supported over Fe2O3 catalyst for CO removal. In Proceedings of the Burapaha University International Conference 2014 (pp. 394-400). Chonburi: Burapha University. Wongkaew, A., Kongsi, W., & Limsuwan, L. (2013). Physical properties and selective CO oxidation of Coprecipitated CuO/CeO2 catalysts depending on the CuO in the samples. Hindawi Publishing Corporation Advances in Materials Science and Engineering, 1-8. วิเชษฐ์ ละมัย และ เอกรัตน์ วงษ์แก้ว. (๒๕๕๗). การกระจายตัวของคอปเปอร์ออกไซด์ในน้าด้วยวิธีค่า ความเป็นกรดด่าง และอัลตร้าโซนิค. วารสารวิชาการและวิจัย มทร. พระนคร ฉบับพิเศษ สาขา วิศวกรรมศาสตร์, ๑๗-๒๕. Chunuan, B., Jiewchaiheng, S., katemyoon, H., & Wongkaew, A. (2012). A study of Pt preparation using as a catalyst at the anode of polymer electrolyte membrane fuel cells. In Proceedings of the 5th AUN/SEED-Net Regional Conference on New/Renewable Energy STE (pp. 310-315). Viet Nam: HUST. Kimyuan, M., Palawan, N., Bunkern, N., & Wongkaew, A. (2012). Development of Pt based catalyst using with low temperature water gas shift reaction. In Proceedings of the 5th AUN/SEED-Net Regional Conference on New/Renewable Energy STE (pp. 333-339). Viet Nam: HUST. (6) นายธงชัย ศรีวิริยรัตน์ ผลงานทางวิชาการ ศิริประภา แจ้งกรณ์, จิตติมา เจริญพานิช, และ ธงชัย ศรีวิริยรัตน์. (๒๕๕๘). การสลายอะคริลาไมด์ด้วย แบคทีเรียผสมในระบบบาบัดน้าเสียเอสบีอาร์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, ๒๐(๑), ๒๕-๓๔. นิภาวรรณ กลิ่นหอม และ ธงชัย ศรีวิริยรัตน์. (๒๕๕๘). ประสิทธิภาพการกาจัดธาตุอาหารไนโตรเจนทาง ชีวภาพของระบบบาบัดน้าเสียแบบ Integrated Fixed Film Activated Sludge (IFAS) ที่มีการ ติดตั้งตัวกลางในถังปฏิกิริยาแอนนอกซิกหรือถังปฏิกิริยาเติมอากาศ. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ ๑๐, ผลงานวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (หน้า ๑๑๒๖-๑๑๓๖). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

83 Som, P. & Sriwiriyarat, T. (2014). Application of fenton reaction with subsequent hydroxide precipitation for derusting wastewater treatment. In Proceedings of the Burapha University International Conference 2014 (pp. 181-190). Chonburi: Burapha University. มณฑล มุขทอง, อุไรรัตน์ มงคลธรรมกุล, พสิษฐ์ เดชชีวะ และ ธงชัย ศรีวิริยรัตน์. (๒๕๕๕). ความเป็นไป ได้ของการกาจัดของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้าในน้าทิ้งอุตสาหกรรมด้วยสาหร่ายสายพันธุ์ Chlorella sp. และ Scenedesmus sp.. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ครั้งที่ ๓, สหวิทยาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน: ภูมิปัญญาไทยก้าวไกลสู่อาเซียน (หน้า ๑๔๔๑๕๐). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ศิลป์ชัย คูหาแก้ว, พรพิมล นุชเล็ก และ ธงชัย ศรีวิริยรัตน์. (๒๕๕๕). ผลกระทบของไอออนประจุบวกที่มี ต่อประสิทธิภาพการบาบัดน้าเสียของระบบบาบัดน้าเสียฟิล์มตรึงร่วมกับเอเอส. ใน การประชุม วิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ครั้งที่ ๓, สหวิทยาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน: ภูมิปัญญาไทยก้าวไกลสู่อาเซียน (หน้า ๑๕๑-๑๕๙). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. พรพิมล นุชเล็ก, ศิลป์ชัย คูหาแก้ว และ ธงชัย ศรีวิริยรัตน์. (๒๕๕๕). ผลกระทบของกรด-เบสที่มีต่อ ปฏิกิริยาไนตริฟิเคชั่นของระบบบาบัดน้าเสียฟิล์มตรึงร่วมกับเอเอส. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ครั้งที่ ๓, สหวิทยาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน: ภูมิปัญญา ไทยก้าวไกลสู่อาเซียน (หน้า ๑๖๐-๑๖๗). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. Jangkorn, S., Kuhakaew, S., Theantanoo, S., Klinla-or, H., & Sriwiriyarat, T. (2011). Evaluation of reusing alum sludge for the coagulation of industrial wastewater containing mixed anionic surfactants. Journal of Environmental Science, 23(4), 587594. (7) นางสาวสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ ผลงานทางวิชาการ Tubchareon, T., Soisuwan, S., Ratanathammaphan, S., & Praserthdam, P. (2014). Effect of Na content on the physical properties of Ba0.5 Sr0.5 TiO3 powders. Hindawi Publishing Corporation Advances in Materials Science and Engineering, 1-7. Tubchareon, T., Soisuwan, S., Ratanathammaphan, S., & Praserthdam, P. (2014). Effect of carbon-dopant on the optical band gap and photoluminescence properties of (Ba0.5 Sr0.5) TiO3 powders synthesized by the sol-gel process. Journal of Luminescence, 145, 919-924. Tubchareon, T., Soisuwan, S., & Ratanathammaphan, S. (2013). Effect of Na-,K-, Mg-, and Ga dopants in A/B-sites on the optical band gap and photoluminescence behavior of [Ba0.5Sr0.5] TiO3 powders. Journal of Luminescence, 142, 75-80. Lorenz, H., Rameshan, C., Bielz, T., Memmel, N., Stadlmayr, W., Mayr, L., Zhao, Q., Soisuwan, S., Klotzer, B., & Penner, S. (2013). From oxide-supported palladium to

84 intermetallic palladium phases: Consequences for methanol steam reforming. CHEMCATCHEM, 5(6), 1273-1285. Bielz, T., Soisuwan S., Girgsdies, F., Klotzer, B., & Penner, S. (2012). Reduction of different GeO2 polymorphs. Journal of Physical Chemistry C, 116(18), 9961-9968. Soisuwan, S., Netiworaruksa, B., Charoendechanukor, C., Tubcharoen, T., Panpranot, J., & Praserthdam, P. (2011). Characteristics and catalytic properties of La-modified ZrO2 supported cobalt catalysts in CO hydrogenation. Reaction Kinetics, Mechanisms and Catalysis, 103(2), 367-378. Bielz, T., Soisuwan, S., Kaindl, R., Tessadri, R., Tobbens, D. M., Klotzer, B., & Penner, S. (2011). A high-resolution diffraction and spectroscopic study of the low-temperature phase transformation of hexagonal to tetragonal GeO2 with and without alkali hydroxide promotion. Journal of Physical Chemistry C, 115(19), 9706-9712. (8) นายวิทวัส แจ้งเอี่ยม ผลงานทางวิชาการ Jangiam, W., Tungjai, M. & Rithidech, K. N. (2015). Induction of chronic oxidative stress, chronic inflammation and aberrant patterns of DNA methylation in the liver of titanium-exposed CBA/CaJ mice. International Journal of Radiation Biology, 91(5), 389-398. Rithidech, K. N., Honikel, L. M., Reungpathanaphong, P., Tungjai, M. Jangiam, W. & Whorton, E. B. (2015). Mutation research/fundamental and molecular mechanisms of mutagenesis. Mutation Research, 781, 22-31. Jangiam, W., Kalaya, J., & Phonyotin, B. (2013). Isolation of Pseudomonas strain EM5 with and efficient nitrate-degrading activity and the Optimum conditions for nitrate biodegradation using immobilized cells. Journal of Science, Technology, and Humanities, 11(2): 105-115. Jangiam, W., Tungjai, M., and Rithidech, K.N. (2014). Delayed effects of a whole-body exposure to low-dose radiation on somatic and germinal cells of mice. Environmental and Molecular Mutagenesis, 55, S48-S48. Kalaya, J., Phonyotin, B., Ngophuthong, A. & Jangiam, W. (2012). Isolation of the high powerful nitrate degrading bacteria from effective microorganisms (EM). In Proceedings of the Burapha University International Conference 2012 (pp. 320-326). Chonburi: Burapha University.

85 (9) นางสาวญาณิศา ละอองอุทัย ผลงานทางวิชาการ Mongkholrattanasit, R., Punrattanasin, N., Sriharuksa, K., Sasivatchutikool, N., Laoong-uthai, Y., & Rungruangkitkrai, N. (2014). Dyeing of silk fabrics with garcinia dulcis (Roxb.) kurz bark: Comparison of fastness properties and colour strength by padding and post-mordanting technique. Advanced Materials Research, 1010-1012, 503-507. Mongkholrattanasit, R., Klaichoi, C., Tomkom, T., Laoong-u-thai, Y., & Rungruangkitkrai, N. (2014). Study on colour activity of silk fabric dyed with purple corn cob: A research on effect of metal mordants concentration using post-mordanting method. Advanced Materials Research, 1010-1012, 516-519. Laoong-u-thai, Y., & Mongkholrattanasit, R. (2013). The evaluation of eucalyptus leaf extract for dyeing and its antibacterial properties on silk and wool fabrics. KMITL Science and Technology Journal, 13(2), 76 -81. Laoong-u-thai, Y., Nakpradit, A., & Deenumchut, A. (2012). Molecular cloning and bioinformatics analysis of shrimp LvProfilin implicated in muscle formation and muscle specific gene eegulation. ASEAN Engineering Journal, 1, 28-37. Laoong-u-thai, Y., Zhao, B., Phongdara, A., & Yang, J. (2011). Molecular characterizations of a novel putative DNA binding protein LvDBP23 in marine shrimp L. vannamei tissues and molting stages. PLoS ONE, 6(5). e19959. (10) นางสาวเอมม่า อาสนจินดา ผลงานทางวิชาการ Asnachinda, E., Khampaeng, C., Sutthinon, P., & Khaodhiar, S. (2015). Enhancement of styrene adsolubilization and solubilization by rhamnolipid biosurfactant-linker mixtures onto an aluminum oxide surface. Journal of Surfactants and Detergents, 18(3), 439-444. Keomany, D., & Asnachinda, E. (2014). Adsorption and adsolubilization of organic solutes using rhamnolipid biosurfactant-modified surface. Environment and Natural Resources Journal, 12(2), 231-236. Khampaeng, C., Sutthinon, P., Charoensaeng, A., Khadhiar, S., & Asnachinda, E. (2014). Mixtures of rhamnolipid biosurfactant and linker molecule for enhancing styrene adsolubilization. In Proceedings of the International Conference on Advances in Civil Structural, Environmental & Bio-Technology-CSEB 2014 (pp. 104-107). USA: IRED. Sutthinon, P., Khampaeng, C., Charoensaeng, A., Khadhiar, S., & Asnachinda, E. (2014).

86 Effects of linker molecules to adsorption of rhamnolipid biosurfactant onto aluminum oxide surface. In Proceedings of the International Conference on Advances in Civil Structural, Environmental & Bio-Technology-CSEB 2014 (pp. 118121). USA: IRED. (11) นางสาวแดง แซ่เบ๊ ผลงานทางวิชาการ Authayanun, S., Saebea, D., Patcharavorachot, Y., & Arpornwichanop, A. (2015). Evaluation of an integrated methane autothermal reforming and high-temperature proton exchange membrane fuel cell system. Energy, 80, 331-339. Authayanun, S., Saebea, D., Patcharavorachot, Y., & Arpornwichanop, A. (2014). Effect of different fuel options on performance of high-temperature PEMFC (proton exchange membrane fuel cell) systems. Energy, 68, 989-997. Authayanun, S., Patniboon, A., Saebea, D., Patcharavorachot, Y., & Arpronwichanop, A. (2014). Effect of Flow Pattern on Single and Multi-stage High Temperature Proton Exchange Membrane Fuel Cell Stack Performance, C. Computer Aided Chemical Engineering, 33, 1471-1476. Likkasith, C., Saebea, D., Arpornwichanop, A., Piemnernkoom, N., & Patcharavorachot, Y. (2014). Simulation of Hydrogen production with In Situ CO2 Removal Using Aspen Plus. Chemical Engineering Transactions, 39, 415-420. Saebea, D., Authayanun, S., Patcharavorachot, Y., & Arpornwichanop, A. (2014). Enhancement of Hydrogen Production for Steam Reforming of Biogas in Fluidized Bed Membrane Reactor. Chemical Engineering Transactions, 39, 1177-1182. Arpornwichanop, A., Suwanmanee, U., Saebea, D., Patcharaworachot, Y., & Authayanun, S. (2014). Study on a Proton Exchange Membrane Fuel Cell System Fuelled by a Mixture of Bio-ethanol and Methane. Chemical Engineering Transactions, 39, 1033-1038. Saebea, D., Authayanun, S., Patcharavorachot, Y., Assabumrungrat, S., & Arpornwichanop, A. (2013). Analysis of a pressurized solid oxide fuel cell–gas turbine hybrid power system with cathode gas recirculation. International Journal of Hydrogen Energy, 11, 4748–4759. Saebea, D., Authayanun, S., Patcharavorachot, Y., Paengjuntuek, W., & Arpornwichanop, A. (2013). Use of different renewable fuels in a steam reformer integrated in a solid oxide fuel cell: Theoretical analysis and performance comparison. Energy, 51, 305-313. Saebea, D., Patcharavorachot, Y., & Arpornwichanop, A. (2012). Analysis of an EthanolFuelled Solid Oxide Fuel Cell System Using Partial Anode Exhaust Gas Recirculation. Journal of Power Sources, 208, 120-130.

87 Chaichana, K., Patcharavorachot, Y., Chutichai, B., Saebea, D., & Assabumrungrat, S., Arpornwichanop, A. (2012). Neural Network Hybrid Model of a Direct Internal Reforming Solid Oxide Fuel Cell. International Journal of Hydrogen Energy, 37, 24982508. (12) นายเล็ก วันทา ผลงานทางวิชาการ Wantha, L., & Flood, A. E. (2015). Growth and dissolution kinetics of A and B polymorphs of L-histidine. Chemical Engineering and Technology, 38(6), 1022-1028. Wantha, L. (2015). Determining the nucleation and growth mechanisms of B polymorph of L-histidine in water-ethanol system. In Proceedings of the 22nd International Workshop on Industrial Crystallization 2015 (pp. 19-26). Korea: Hanbat National University. Wantha, L., & Flood, A. E. (2014). Effect of temperature on the growth and dissolution kinetics of L-histidine. In Proceedings of the 21st International Workshop on Industrial Crystallization 2014 (pp. 90-96). France: University of Rouen. Flood, A. E., & Wantha, L. (2013). Population balance modeling of the solution mediated transformation of polymorphs: Limitations and future trends. Journal of Crystal Growth, 373, 7-12. (13) นายเจริญ ชินวานิชย์เจริญ ผลงานทางวิชาการ Krengvirat, W., Sreekantan, S., Ahmad-Fauzi, M. N., Chinwanitcharoen, C., Kawamura, G., & Matsuda, A. (2012). Control of the structure, morphology and dielectric properties of bismuth titanate ceramics by praseodymium substitution using an intermediate fuel agent-assisted self-combustion synthesis. Journal of Materials Science, 47(9), 40194027. Krengvirat, W., Sreekantan, S., Ahmad-Fauzi, M. N., Matsuda, A., & Chinwanitcharoen, C. (2012). Fuel-free low-temperature self-combustion synthesis and characterization of praseodymium-substituted bismuth titanate ceramics. Journal of the Ceramic Society of Japan, 120(1398), 58-63. Krengvirat, W., Sreekantan, S., Ahmad-Fauzi, M. N., Chinwanitcharoen, C., Muto, H., & Matsuda, A. (2012). Influence of pH on the structure, morphology and dielectric properties of bismuth titanate ceramics produced by a low-temperature selfcombustion synthesis without an additional fuel agent. Ceramics International. 38(4), 3001-3009.

88

หมายเลข 3

รายวิชา

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก1 แบบ ก2 และแผน ข  ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 2 3 4

1) หมวดวิชาบังคับ รายวิชาบังคับทั่วไป 50258159 ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี 50258259 สัมมนาทางวิศวกรรมเคมี รายวิชาแกนบังคับ 50250159 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมเคมี 50250259 อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงของระบบทาง วิศวกรรมเคมี 50250359 ปรากฏการณ์การถ่ายโอนขั้นสูงใน กระบวนการทางเคมี 50250459 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง

     

                              

  

  

 

 





  

  

 

 





  

  

 

 





  

  

 

 





89 คุณธรรม จริยธรรม

ความรู้

ทักษะทางปัญญา

ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1 2 3 4

ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 2 3 4

  

   

 

                   

       

   

  

  

  

      

        

        

        

           

     

50262159 หัวข้ออุตสาหกรรมพิเศษทางวิศวกรรม                 เคมี

 

รายวิชา 1

2

3

4

1

2

3

4

1

2

3

4

2) หมวดวิชาเลือก (1) กลุ่มวิชากระบวนการทางด้านวิศวกรรมเคมี 50261159 การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของวัสดุขั้น สูง 50261259 พลังงานสะอาด 50261359 เคมีคอลลอย์และพื้นผิวประยุกต์ 50261459 แบบจาลองและการวิเคราะห์ กระบวนการ 50261559 วัสดุสาหรับการใช้งานเฉพาะด้าน 50261659 วิศวกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี 50261759 วิศวกรรมพอลิเมอร์

  

  

(2) กลุ่มวิชาตามพื้นฐานงานวิทยานิพนธ์

90 คุณธรรม จริยธรรม

รายวิชา 50262259 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเคมี 50262359 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 50262459 หัวข้อพิเศษทางบริหารจัดการใน อุตสาหกรรม 50262559 หัวข้อพิเศษทางการจัดการพลังงาน 50262659 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวเคมี 50262759 หัวข้อพิเศษทางวัสดุวิศวกรรม

ความรู้

ทักษะทางปัญญา

ทักษะ ความสัมพันธ์ ทักษะการวิเคราะห์ ระหว่างบุคคลและ การสื่อสาร และ ความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4                                                    

 

                                               

     

3) งานนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ 50269759 วิทยานิพนธ์ 50269859 งานนิพนธ์ 50269959 วิทยานิพนธ์

                                            

           

91

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes: LO) ของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก1 แบบ ก2 และแผน ข 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 1. มีคุณธรรมและจริยธรรมและสามารถแก้ไขปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรมเชิงวิชาการหรือ วิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 2. สามารถวินิจฉัยปัญหาได้ด้วยความยุติธรรมและชัดเจน มีหลักฐาน โดยตอบสนองปัญหาตาม หลักการ เหตุผล และค่านิยมอันดีงาม 3. มีคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับข้อโต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 4. มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริย ธรรมในสภาพแวดล้อม ของการทางานและสังคม 2. ด้านความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชา ตลอดจนหลักการและ ทฤษฎีที่สาคัญ 2. สามารถประยุกต์ความรู้ ความเข้าใจในสาขาวิชาของตนในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการ ปฏิบัติในวิชาชีพ 3. มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง โดยสามารถพัฒนาความรู้ใหม่ และการประยุกต์ ตลอดจนผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบัน 4. ตระหนักในระเบี ยบข้อบังคับ ที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้ อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจะมี ผลกระทบต่อสาขาวิชาชีพ รวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต 3. ด้านทักษะทางปัญญา 1. สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการจัดการปัญหาใหม่ในเชิงวิชาการและวิชาชีพ 2. สามารถพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปัญหาทางสาขาวิชานั้นๆ โดยใช้ดุลพินิจในการตัดสินใจในสถานการณ์ที่มีข้อมูลไม่เพียงพอ 3. สามารถสั งเคราะห์และใช้ผ ลงานวิจัย สิ่ งตีพิมพ์ทางวิช าการหรือรายงานทางวิชาชีพ รวมถึง ความคิดใหม่ๆ ในการบูรณาการเข้ากับองค์ความรู้เดิมหรือเสนอเป็นความรู้ใหม่ในการวิเคราะห์ ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สามารถพัฒนาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องในทางวิชาการหรือวิชาชีพ จากการวางแผน และดาเนินการโครงการสาคัญหรือโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการได้ด้วยตนเอง

92 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพโดยสามารถตัดสินใจในการ ดาเนินงานได้ด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้ 2. สามารถวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 3. มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้ อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อ โต้แย้งและปัญหาต่าง ๆ 4. มีภาวะผู้นาและแสดงออกอย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพใน การทางานของหมู่คณะ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อนาไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อแก้ไขและ สรุปปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไขในด้านต่างๆ 2. สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการ วิชาชีพและบุคคลทั่วไป 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนาเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สามารถเผยแพร่องค์ความรู้หรือข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ วิชาชีพหรือสังคมได้ โดย การนาเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและ วิชาชีพ

93

รายวิชา

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แบบที่ 1 แบบ 1.1, 1.2 และแบบที่ 2 แบบ 2.1 และ 2.2  ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

รายวิชาแกนบังคับ 50270159 หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมเคมี ดุษฎีนิพนธ์ 50289859 ดุษฎีนิพนธ์ 50289959 ดุษฎีนิพนธ์ 50299859 ดุษฎีนิพนธ์ 50299959 ดุษฎีนิพนธ์

ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 2 3 4

                  

   

   

   

   

   

   

   

   

   

   

   

   

   

   

     

   

   

   

94

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes: LO) ของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แบบที่ 1 แบบ 1.1, 1.2 และแบบที่ 2 แบบ 2.1 และ 2.2 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 1. มีคุณธรรมและจริยธรรมและสามารถแก้ไขปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรมที่ซับซ้อนเชิงวิชาการ หรือวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 2. สามารถวินิ จ ฉัย ปั ญหาได้ด้วยความยุติธ รรมและชัดเจน มีหลั กฐาน โดยตอบสนองปัญหาตาม หลักการ เหตุผล และค่านิยมอันดีงาม 3. มีคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับข้อโต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 4. มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมในสภาพแวดล้อม ของการทางานและสังคม 2. ด้านความรู้ 1. มีความรู้ และเข้าใจอย่ างถ่องแท้และลึ กซึ้ง ในองค์ความรู้ที่เ ป็นแก่นในสาขาวิศวกรรมเคมี เพื่อ สามารถสร้างนวัตกรรมหรือองค์ความรู้ใหม่ 2. มีความรู้ที่เป็นปัจจุบันในสาขาวิศวกรรมเคมี รวมถึงประเด็นปัญหาที่สาคัญที่จะเกิดขึ้น 3. มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงในวิชาชีพ ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องซึ่งอาจมีผลกระทบต่อสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี 4. ตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติในเรื่องของสาขา วิชาชีพ และแนวโน้มของสาขาอาชีพในอนาคต 3. ด้านทักษะทางปัญญา 1. สามารถใช้ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎีและเทคนิคการแสวงหาความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็น และปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาด้วยวิธีใหม่ 2. สามารถสังเคราะห์ผลงานการวิจัยและทฤษฎีเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ความเข้าใจใหม่ที่สร้างสรรค์ โดย บูรณาการแนวคิดต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอกสาขาวิศวกรรมเคมีในขั้นสูง 3. สามารถออกแบบและดาเนินการโครงการวิจัยที่สาคัญในเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ ความรู้ใหม่หรือปรับปรุงแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพอย่างมีนัยสาคัญ 4. มีความสามารถในการพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิช าการและความก้าวหน้าในสายอาชีพจากการ วางแผนและพัฒนางานวิจัยหรือโครงงานวิจัย 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็นทางวิชาการและวิชาชีพ 2. สามารถวางแผนวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่ซับซ้อนสูงมากด้วยตนเอง รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุง ตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

95 3. สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ 4. มีความโดดเด่นในการเป็นผู้นาในทางวิชาการหรือวิชาชีพและสังคมที่ซับซ้อน 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อนาไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อแก้ไขและสรุป ปัญหาที่สาคัญและซับซ้อน รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไขในด้านต่างๆ โดยเจาะลึก 2. สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการและ วิชาชีพ รวมถึงบุคคลทั่วไป 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนาเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สามารถเผยแพร่องค์ความรู้หรือข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ วิชาชีพหรือสังคมได้โดย การนาเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิช าการและ วิชาชีพ

96

หมายเลข 4 ฐานข้อมูลในการตีพิมพ์ผลงาน สาหรับหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี จะต้องตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่มี ชื่ออยู่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) ดังนี้ 1. Impact factor เป็นฐานข้อมูลของ Institute for Scientific Information (ISI) ซึ่งปัจจุบัน เป็นส่วนหนึ่งของ Thomson Reuters 2. ฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR คือ SCImago Journal Rank สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.scimagojr.com 3. รายชื่อวารสารวิชาการตามประกาศของ สมศ. สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.onesqa.or.th 4. รายชื่อวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูลของ Thai-Journal Citation Index Center (TCI) สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/index.html 5. รายชื่อสานักพิมพ์และวารสารของ Beall’s List: Predatory Open Access Publishers สามารถสืบค้นได้ที่ http://scholarlyoa.com/

97

หมายเลข 5 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

(สําเนา) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ -----------------------โดยที่เป็นการสมควรให้มีข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๒ (๑๑) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบมาตรา ๒๑ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ๒๕๕๐ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ และมติสภามหาวิทยาลัยบูรพา ในการประชุม ครั้งที่ ๔/๒๕๕๑ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ มหาวิทยาลัยบูรพา จึงออกข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕” ข้อ ๒ ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับสําหรับนิสิตที่เข้าศึกษาตั้งแต่ภาคปลาย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เป็นต้นไป มิให้นําข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ มาใช้บังคับกับ นิสิตตามวรรคหนึ่ง ข้อ ๓ ในข้อบังคับนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยบูรพา “คณะ” ให้หมายความรวมถึงวิทยาลัยและสถาบันที่จัดการเรียนการสอน “คณบดี” หมายความว่า หัวหน้าส่วนงานที่จัดการเรียนการสอนที่มีนิสิตสังกัด หรือ หัวหน้าส่วนงานที่รายวิชาสังกัด “บัณฑิตศึกษา” หมายความว่า การศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือระดับปริญญาเอก “หัวหน้าภาควิชา” ให้หมายความรวมถึงประธานสาขาวิชา หรือหัวหน้าหน่วยงานในคณะที่จัดการ เรียนการสอนที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น “ประธานหลักสูตร” หมายความว่า ผู้รับผิดชอบในการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่งที่ส่วนงานแต่งตั้ง “อาจารย์ที่ปรึกษา” หมายความว่า อาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการของนิสิต

-๒“อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์” หมายความว่า อาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์หรือดุษฎี นิพนธ์ ซึ่งประกอบไปด้วย อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) “อาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ์” หมายความว่า อาจารย์ควบคุมงานนิพนธ์ ซึ่งประกอบไปด้วย อาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ์หลัก และอาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) “นายทะเบียน” หมายความว่า ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากอธิการบดี “นิสิต” หมายความว่า นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและให้หมายรวมถึงนิสิต นักศึกษา จากสถาบันอื่นที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาของมหาวิทยาลัย “หน่วยกิต” หมายความว่า หน่วยที่ใช้แสดงปริมาณการศึกษาที่นิสิตได้รับและเป็นตัวเลขแสดงสิทธิ ที่นิสิตจะพึงได้รับ เมื่อได้ศึกษาตรงตามกําหนดเวลาและได้รับการประเมินให้ผ่านวิชานั้น “งานนิพนธ์” หมายความว่า เอกสารที่เป็นผลมาจากการศึกษารายวิชาที่เน้นการค้นคว้าอิสระ ไม่ น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต และไม่เกิน ๖ หน่วยกิต ในการศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข (แผนการศึกษาที่เน้น การศึกษางานรายวิชา โดยไม่ต้องทําวิทยานิพนธ์) “วิทยานิพนธ์ (Thesis)” หมายความว่า เอกสารงานวิจัยของนิสิตระดับปริญญาโท แผน ก (แผนการ ศึกษาที่เน้นการวิจัย) “ดุษฎีนิพนธ์ (Dissertation)” หมายความว่า เอกสารงานวิจัยของนิสิตระดับปริญญาเอก ข้อ ๔ คุณวุฒิและคุณสมบัติของผู้สมัครเข้าเป็นนิสิต ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิต จะต้องมีคุณวุฒิและคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ๔.๑ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ที่มหาวิทยาลัยรับรองเพื่อเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาระดับใดระดับหนึ่งตามเงื่อนไขของแต่ละหลักสูตร ๔.๒ เป็นผู้มีความประพฤติดี ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัย ๔.๓ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ซึ่งเป็นโรคที่สังคมรังเกียจ หรือเป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อ การศึกษา ๔.๔ คุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่คณะกําหนด ข้อ ๕ การรับผู้สมัครเข้าเป็นนิสิต ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิต จะต้องผ่านการสอบคัดเลือกหรือการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศ ของมหาวิทยาลัย แต่ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเป็นพิเศษ หรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ มหาวิทยาลัย อาจพิจารณารับบุคคลที่มีคณ ุ สมบัติครบถ้วนตามข้อ ๔ เข้าเป็นนิสิต ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยก็ได้ ข้อ ๖ ประเภทนิสิต ๖.๑ นิสิตเต็มเวลา เป็นนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนในเวลาทํางานของมหาวิทยาลัย และอาจ ลงทะเบียนเรียนนอกเวลาทํางานเป็นบางส่วนด้วยก็ได้ ๖.๒ นิสิตไม่เต็มเวลา เป็นนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนนอกเวลาทํางานของมหาวิทยาลัย และอาจ ลงทะเบียนเรียนในเวลาทํางานเป็นบางส่วนด้วยก็ได้

-๓๖.๓ นิสิตทดลองเรียน เป็นนิสิตทีม่ หาวิทยาลัยรับเข้าเรียน โดยมีเงื่อนไขตามประกาศของ มหาวิทยาลัย ๖.๔ นิสิตอาคันตุกะ เป็นนิสิตจากสถาบันอื่นที่ลงทะเบียนเรียนบางรายวิชาที่มหาวิทยาลัย เปิดสอน ข้อ ๗ การขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต ๗.๑ ผู้ที่จะขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตของมหาวิทยาลัยจะต้องขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตประเภทใดประเภท หนึ่งตามข้อ ๖ ๗.๒ ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตจะมีสภาพเป็นนิสิตต่อเมื่อได้ขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตแล้วรายละเอียด ของการขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตนั้น ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ข้อ ๘ ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ซึ่ง ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ และอาจมีการจัด การศึกษาภาคฤดูร้อน โดยมีระยะเวลาการศึกษา ไม่น้อยกว่า ๘ สัปดาห์ ข้อ ๙ วิธีการจัดการศึกษา อาจจัดในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือหลายรูปแบบร่วมกัน ดังนี้ ๙.๑ การศึกษาแบบเต็มเวลา ให้ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติ ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต และไม่เกิน ๑๕ หน่วยกิต และภาคฤดูร้อน ไม่เกิน ๖ หน่วยกิต ๙.๒ การศึกษาแบบไม่เต็มเวลา ให้ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติ ไม่เกิน ๑๒ หน่วยกิต และภาคฤดูร้อน ไม่เกิน ๖ หน่วยกิต ๙.๓ การศึกษาแบบเฉพาะบางช่วงเวลา เป็นการจัดการศึกษาในบางช่วงเวลาของปีการศึกษา หรือเป็นไปตามเงื่อนไขของคณะ หรือข้อตกลงตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ๙.๔ การศึกษาแบบทางไกล (Distance Education) เป็นการจัดการศึกษาโดยใช้การสอน ทางไกลผ่านระบบการสื่อสารหรือเครือข่ายสารสนเทศต่าง ๆ หรือเป็นไปตามเงื่อนไขของคณะ หรือข้อตกลง ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ๙.๕ การศึกษาแบบชุดวิชา (Module System) เป็นการจัดการศึกษาเป็นรายวิชาหรือกลุ่ม รายวิชา ตามกําหนดเวลาของคณะนั้น ๆ ๙.๖ การศึกษาแบบนานาชาติ เป็นการจัดการศึกษาโดยใช้ภาษาต่างประเทศทั้งหมด ซึ่ง อาจจะเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานในประเทศ หรือต่างประเทศ และ มีการจัดการและมีมาตรฐานเช่นเดียวกับหลักสูตรสากล ๙.๗ การศึกษาหลักสูตรควบระดับปริญญาโท ๒ ปริญญา ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ๙.๘ รูปแบบอื่น ๆ ทีม่ หาวิทยาลัยเห็นว่าเหมาะสม ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย

-๔ข้อ ๑๐ การคิดหน่วยกิต แต่ละรายวิชาจะมีจํานวนหน่วยกิตกําหนดไว้ ดังนี้ ๑๐.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ทีใ่ ช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหา ไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต ๑๐.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลอง ไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต ๑๐.๓ รายวิชาฝึกงานหรือฝึกภาคสนาม ทีใ่ ช้เวลาไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต ๑๐.๔ งานนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้า ไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต ข้อ ๑๑ การลงทะเบียนเรียน ๑๑.๑ กําหนดวัน เวลา และวิธีการลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษาให้เป็นไปตาม ประกาศของมหาวิทยาลัย ๑๑.๒ นิสิตต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์ในการเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในแต่ละภาคการศึกษา ถ้ารายวิชาใดบังคับว่าต้องเรียนรายวิชาอื่นก่อน นิสิตต้องเรียนรายวิชานั้น ในกรณีทมี่ ีหัวหน้า ภาควิชาและมีประธานหลักสูตร ต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าภาควิชาหรือประธานหลักสูตรที่รายวิชาที่ เลือกเรียนสังกัด และได้รับความเห็นชอบจากคณบดี จึงจะมีสิทธิลงทะเบียนเรียนรายวิชาดังกล่าวได้ ในกรณีที่ ไม่มีหัวหน้าภาควิชาและไม่มปี ระธานหลักสูตร ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณบดี จึงจะมีสิทธิลงทะเบียนเรียน รายวิชาดังกล่าวได้ ๑๑.๓ ในแต่ละภาคการศึกษา กรณีที่นิสิตมีความจําเป็นต้องลงทะเบียนเรียนข้ามประเภท นิสิต ตามข้อ ๖ ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย ๑๑.๔ การลงทะเบียนเรียนจะสมบูรณ์ ต่อเมื่อได้ชําระค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ของ มหาวิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว นิสิตผู้ใดชําระค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ภายหลังวันที่มหาวิทยาลัยกําหนด จะต้องชําระค่าปรับตามระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการเก็บเงินค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา กรณีที่การลงทะเบียนเรียนยังไม่สมบูรณ์ ในภาคการศึกษาใด ภายในกําหนดตามประกาศของมหาวิทยาลัย จะไม่มีสิทธิเรียนในภาคการศึกษานั้น เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากคณบดี เป็นราย ๆ ไป ๑๑.๕ จํานวนหน่วยกิต แต่ละภาคการศึกษา ๑๑.๕.๑ ภาคต้นและภาคปลาย นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลาต้อง ลงทะเบียนเรียนไม่ต่ํากว่า ๖ หน่วยกิต และไม่เกิน ๑๕ หน่วยกิต สําหรับนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนแบบไม่เต็ม เวลา ให้ลงทะเบียนเรียนไม่เกิน ๑๒ หน่วยกิต ภาคฤดูร้อนนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลาและนิสิตที่ ลงทะเบียนเรียนแบบไม่เต็มเวลาให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน ๖ หน่วยกิต

-๕๑๑.๕.๒ ในกรณีทมี่ คี วามจําเป็นอย่างยิ่ง นิสิตต้องลงทะเบียนเรียนน้อยหรือ มากกว่าเกณฑ์ที่กําหนด ในข้อ ๑๑.๕.๑ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์ โดยผ่านหัวหน้าภาควิชาหรือประธานหลักสูตร และได้รับอนุมัติจากคณบดี ข้อ ๑๒ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต (Audit) ๑๒.๑ นิสิตอาจลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิตก็ได้ แต่ต้องชําระค่า หน่วยกิตเช่นเดียวกับนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยนับหน่วยกิต ทั้งนี้ โดยได้รับความเห็นชอบจาก อาจารย์ที่ปรึกษา และได้รับอนุมัติจากคณบดี ๑๒.๒ การเรียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต นิสิตไม่จําเป็นต้องสอบ และให้บันทึกลงในใบ แสดงผลการเรียนในช่องผลการเรียนว่า “au” เฉพาะผู้ที่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมดของรายวิชานั้น ข้อ ๑๓ การลงทะเบียนเรียนของนิสิตที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีหรือบุคคลภายนอก มหาวิทยาลัยอาจอนุญาตให้นิสิตที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีหรือบุคคลภายนอก ที่มิใช่นิสิตของมหาวิทยาลัยเข้าเรียนบางรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยได้ แต่ผู้นั้นจะต้องมีคุณสมบัติและ พื้นความรู้ตามที่คณะพิจารณาเห็นสมควร โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอนในรายวิชานั้น และต้อง ปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ เช่นเดียวกับนิสิต ทั้งนี้ต้องชําระค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการเก็บเงินค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ ๑๔ การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิต นิสิตที่ลาพักการเรียนหรือถูกสั่งพักการเรียน หรือเรียนครบรายวิชาแล้ว ต้องลงทะเบียนเพื่อรักษา สภาพนิสิต ซึ่งถือว่าเป็นการลงทะเบียนตามปกติและต้องปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งต้อง เสียค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการเก็บเงินค่าบํารุงและ ค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ ๑๕ การขอเพิ่มหรือลดรายวิชา หมายถึง การที่นิสิตได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาไปแล้วบางส่วน แต่มีความจําเป็นจะต้องเพิ่มหรือลดรายวิชา โดยจํานวนหน่วยกิตรวมในภาคการศึกษานั้นต้องไม่เกินหรือต่ํา กว่าจํานวนหน่วยกิตในแต่ละภาคการศึกษาตามข้อ ๑๑.๕ และให้ดําเนินการดังนี้ ๑๕.๑ การขอเพิ่มหรือขอลดรายวิชาที่เรียน ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอนและ ได้รับอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษา แล้วให้นสิ ิตผู้นั้นแจ้งให้นายทะเบียนทราบ ๑๕.๒ การขอเพิ่มหรือขอลดรายวิชาที่เรียน ต้องได้รับอนุมัติภายใน ๒ สัปดาห์แรกของ ภาคการศึกษา ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามข้อ ๑๑.๒ และ ๑๑.๕ ข้อ ๑๖ การของดเรียนรายวิชา หมายถึง การที่นิสิตของดเรียนรายวิชาที่ได้ลงทะเบียน ไปแล้วบางรายวิชา หรือทุกรายวิชาในภาคการศึกษาที่กําลังเรียน เพราะไม่ประสงค์จะเรียน หรือมีเหตุจําเป็น การของดเรียนรายวิชานี้ ในเอกสารแสดงผลการเรียนจะได้รับผลการเรียนเป็น “W” และให้ดําเนินการดังนี้

-๖๑๖.๑ การของดเรียนรายวิชาที่เรียน ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา และ ได้รับอนุมัติจากคณบดี แล้วให้นิสิตผู้นั้นแจ้งให้นายทะเบียนทราบ ๑๖.๒ การของดเรียนบางรายวิชาหรือทุกรายวิชา ต้องกระทําก่อนวันเริ่มสอบปลายภาค การศึกษาวันแรก ไม่น้อยกว่า ๒ สัปดาห์ และต้องไม่เป็นรายวิชาที่มีการทุจริตในการวัดผล ข้อ ๑๗ การขอลดรายวิชา หากกระทําเสร็จสิ้นภายใน ๒ สัปดาห์แรกของภาคการศึกษา นิสิตสามารถรับ ค่าลงทะเบียนรายวิชานั้นคืนได้ ยกเว้นเป็นการจัดเก็บค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจ่ายตลอด หลักสูตร ข้อ ๑๘ เวลาเรียน ๑๘.๑ นิสิตต้องใช้เวลาเรียนในรายวิชาหนึ่ง ๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมดของรายวิชานั้น จึงจะมีสิทธิเข้าสอบในรายวิชานั้น ๑๘.๒ นิสิตต้องเรียนตามหลักสูตรให้สําเร็จการศึกษา นับตั้งแต่วันขึ้นทะเบียน เป็นนิสิต ภายในกําหนดเวลา ดังนี้ ๑๘.๒.๑ หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๓ ปีการศึกษา ๑๘.๒.๒ หลักสูตรระดับปริญญาโท ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๕ ปีการศึกษา ๑๘.๒.๓ หลักสูตรระดับปริญญาเอก ผู้ที่สําเร็จปริญญาตรีแล้วเข้าศึกษาต่อใน ระดับปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๘ ปีการศึกษา ส่วนผู้ที่สําเร็จปริญญาโทแล้วเข้าศึกษาต่อในระดับ ปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๖ ปีการศึกษา ข้อ ๑๙ ระบบการให้คะแนน ๑๙.๑ ระบบการให้คะแนนรายวิชา ๑๙.๑.๑ ระบบการให้คะแนนของแต่ละรายวิชา ให้แสดงเป็นระดับขั้น ซึ่งมี ความหมายและค่าระดับขั้นดังนี้ ระดับขั้น ความหมาย ค่าระดับขั้น A ดีเยี่ยม ๔.๐ B+ ดีมาก ๓.๕ B ดี ๓.๐ C+ ค่อนข้างดี ๒.๕ C พอใช้ ๒.๐ D+ อ่อน ๑.๕ D อ่อนมาก ๑.๐ F ตก ๐

-๗๑๙.๑.๒ การให้ระดับขั้น F ในรายวิชาใดให้กระทําได้ ในกรณีต่อไปนี้ด้วย (๑) นิสิตขาดสอบโดยไม่ได้รับอนุมัติจากคณบดีของคณะที่รายวิชาสังกัด (๒) นิสิตมีเวลาเรียนไม่ครบตามเกณฑ์ในข้อ ๑๘.๑ (๓) นิสิตทุจริตในการวัดผล ๑๙.๑.๓ ระบบการให้คะแนนของแต่ละรายวิชา ที่ไม่แสดงเป็นค่าระดับขั้น ให้ แสดงด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้ สัญลักษณ์ ความหมาย ผ่านตามเกณฑ์ (Satisfactory) S I การประเมินผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) U ไม่ผ่านตามเกณฑ์ (Unsatisfactory) W งดเรียนโดยได้รับอนุมัติ (Withdrawn) au ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต (Audit) ๑๙.๑.๔ การให้สญ ั ลักษณ์ I ในรายวิชาใดให้กระทําได้ ในกรณีต่อไปนี้ (๑) นิสิตมีเวลาเรียนครบตามเกณฑ์ในข้อ ๑๘.๑ แต่ไม่ได้สอบเพราะป่วย หรือเหตุสุดวิสัย และได้รับอนุมัติจากคณบดีของคณะที่รายวิชาสังกัด (๒) อาจารย์ผู้สอน หัวหน้าภาควิชา หรือประธานสาขาวิชา และคณบดีของ คณะที่รายวิชาสังกัดเห็นสมควรให้รอผลการศึกษา เพราะนิสิตยังปฏิบัติงานซึ่งเป็นส่วนประกอบของการศึกษา รายวิชานั้นยังไม่สมบูรณ์ ๑๙.๑.๕ นิสิตที่ได้รับสัญลักษณ์ I จะต้องได้รับการประเมินผลเพื่อแก้สัญลักษณ์ I ให้ เสร็จสิ้นภายในภาคการศึกษาถัดไป ซึ่งการเปลี่ยนสัญลักษณ์ I เป็นค่าระดับขั้นอื่น ให้อยูใ่ นการกํากับ ดูแลของคณบดีของคณะที่รายวิชาสังกัด หากการแก้สัญลักษณ์ I ไม่เสร็จสิ้นภายในภาคการศึกษาถัดไป ให้อยู่ ในดุลพินิจของคณะกรรมการประจําคณะที่รายวิชาสังกัด ภายในกําหนดเวลาเรียนตามข้อ ๑๘.๒ ยกเว้นการได้ สัญลักษณ์ I ของงานนิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์ ๑๙.๑.๖ การให้สญ ั ลักษณ์ W ในรายวิชาใดให้กระทําได้ ในกรณีต่อไปนี้ (๑) นิสิตได้รับอนุมัติให้งดเรียนรายวิชา ตามข้อ ๑๖.๒ (๒) นิสิตได้รับอนุญาตให้ลาพักการเรียนตามข้อ ๒๕.๑ (๓) นิสิตถูกสัง่ พักการเรียนในภาคการศึกษานั้น (๔) นิสิตได้รับอนุมัติจากคณบดีของคณะที่รายวิชาสังกัด ให้เปลี่ยนจากสัญลักษณ์ I ที่นิสิตได้รับตามข้อ ๑๙.๑.๔ และครบกําหนดเวลาของการเปลี่ยนสัญลักษณ์ I แล้ว แต่การป่วยหรือเหตุสุดวิสัยยังไม่สิ้นสุด ๑๙.๒ ระบบการให้คะแนนสอบวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์ให้แสดงด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้

-๘สัญลักษณ์ ความหมาย S ผ่านตามเกณฑ์ (Satisfactory) I การประเมินผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) U ไม่ผ่านตามเกณฑ์ (Unsatisfactory) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์เป็นผู้พิจารณาให้คะแนนสอบ ๑๙.๓ การนับจํานวนหน่วยกิตเพื่อใช้ในการคํานวณหาค่าระดับขั้นเฉลี่ย ให้นับจากรายวิชา ที่มีระบบการให้คะแนนรายวิชาแบบมีค่าระดับขั้น ในกรณีที่นิสิตลงทะเบียนเรียนซ้ําในรายวิชาใด ๆ ให้นําค่า ระดับขั้นที่สอบได้ในการเรียนซ้ําหรือเรียนแทน ไปใช้ในการคํานวณหาค่าระดับขั้นเฉลี่ยแทน ๑๙.๔ การนับจํานวนหน่วยกิตสะสมรายวิชาของนิสิตเพื่อให้ครบตามหลักสูตร ให้นับเฉพาะ หน่วยกิตของรายวิชาที่สอบได้ระดับขั้น C ขึ้นไปเท่านั้น ๑๙.๕ ค่าระดับขั้นเฉลี่ยเฉพาะภาคการศึกษา ให้คํานวณจากผลการเรียนของนิสิตในภาค การศึกษานั้น โดยนําผลรวมของผลคูณของจํานวนหน่วยกิตกับค่าระดับขั้นของแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้งหาร ด้วยจํานวนหน่วยกิตรวมของภาคการศึกษานั้น ๑๙.๖ ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสม ให้คํานวณจากผลการเรียนของนิสิตตั้งแต่เริ่มเข้าเรียนจนถึง ภาคการศึกษาสุดท้าย โดยนําผลรวมของผลคูณของจํานวนหน่วยกิตกับค่าระดับขั้นของแต่ละรายวิชาที่เรียน ทั้งหมดตามข้อ ๑๙.๓ เป็นตัวตั้งหารด้วยจํานวนหน่วยกิตรวมทั้งหมด ๑๙.๗ ในภาคการศึกษาใดที่นิสิตได้สัญลักษณ์ I ให้คํานวณค่าเฉลี่ยเฉพาะภาคการศึกษา นั้น โดยนับเฉพาะวิชาที่ไม่ได้สัญลักษณ์ I เท่านั้น ข้อ ๒๐ การลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือเรียนแทน ๒๐.๑ รายวิชาใดที่นิสิตสอบได้ C+ หรือ C นิสิตอาจลงทะเบียนเรียนซ้ํา เมื่อได้รับอนุมัติจากคณบดี โดยคําแนะนําของหัวหน้าภาควิชาหรือประธานหลักสูตร ๒๐.๒ รายวิชาใดที่นิสิตสอบได้ D+ หรือ D หรือ F นิสิตต้องลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือ จะลงทะเบียนเรียนรายวิชาอื่นที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมไม่น้อยกว่าสามในสี่ของรายวิชาที่ต้องเรียนซ้ําก็ได้ ในกรณีลงทะเบียนเรียนรายวิชาอื่นแทนต้องได้รับอนุมัติจากคณบดี โดยคําแนะนําของหัวหน้าภาควิชาหรือ ประธานหลักสูตร ข้อ ๒๑ การจําแนกสภาพนิสิต ๒๑.๑ การจําแนกสภาพนิสิต จะกระทําเมื่อเรียนครบสองภาคการศึกษา นับแต่เริ่มเข้าศึกษา โดยต้องกระทําเมื่อสิ้นภาคการศึกษาแต่ละภาค ๒๑.๒ สภาพนิสิตมีดังนี้ ๒๑.๒.๑ นิสิตสภาพสมบูรณ์ ได้แก่ นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนเป็นปีแรก หรือนิสติ ที่ สอบได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมไม่ต่ํากว่า ๓.๐๐ ๒๑.๒.๒ นิสิตสภาพรอพินิจ ได้แก่ นิสิตที่สอบได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ ๒.๗๕ ถึง ๒.๙๙

-๙ข้อ ๒๒ ภายหลังที่มีการคํานวณระดับขั้นเฉลี่ยสะสมประจําในแต่ละภาคการศึกษาแล้ว พบว่านิสิต อยู่ในสภาพรอพินิจ นายทะเบียนต้องแจ้งให้นิสิต และอาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตผู้นั้นทราบภายใน ๒ สัปดาห์ ข้อ ๒๓ นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลาที่ได้รับอนุญาตให้เรียนในภาคฤดูร้อน ให้นําผลการ เรียนในภาคฤดูร้อนไปรวมกับผลการเรียนในภาคการศึกษาถัดไปที่นิสิตลงทะเบียนเรียน หากพบว่าผลการ เรียนของภาคฤดูร้อนมีผลทําให้นิสิตอยู่ในสภาพรอพินิจ ให้นายทะเบียนแจ้งให้นิสิตและอาจารย์ที่ปรึกษาของ นิสิตผู้นั้นทราบโดยเร็วที่สุด ข้อ ๒๔ การทุจริตในการวัดผล นิสิตที่ทําการทุจริตด้วยประการใด ๆ ก็ตามเกี่ยวกับการวัดผลทุกชนิด จะต้องได้รับโทษ สถานใดสถานหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ๒๔.๑ ตกในรายวิชานั้น หรือ ๒๔.๒ ตกในรายวิชานั้น และพักการเรียนในภาคการศึกษาถัดไป หรือ ๒๔.๓ พ้นจากสภาพนิสิต การพิจารณาการทุจริตในการวัดผลตามวรรคหนึ่ง ให้ดําเนินการโดยคณะกรรมการ ที่คณบดีของคณะที่รายวิชาสังกัดแต่งตั้ง ข้อ ๒๕ การลาพักการเรียน ๒๕.๑ นิสิตอาจยืน่ คําร้องขออนุญาตลาพักการเรียนต่อคณบดีได้ในกรณีต่อไปนี้ ๒๕.๑.๑ ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศ หรือทุนอื่นใดซึ่งมหาวิทยาลัย เห็นสมควรสนับสนุน ๒๕.๑.๒ เจ็บป่วยจนต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานาน เกินร้อยละ ๒๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมดในภาคการศึกษานั้นตามคําสั่งแพทย์ โดยมีใบรับรองแพทย์จากสถานพยาบาลของทางราชการหรือ สถานพยาบาลของเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลซึ่งเป็นของเอกชน และที่กระทรวงสาธารณสุข กําหนด ๒๕.๑.๓ มีความจําเป็นส่วนตัว โดยอาจยื่นคําร้องขออนุญาตลาพักการเรียนได้ เมื่อได้เรียนในมหาวิทยาลัยมาแล้วอย่างน้อยหนึ่งภาคการศึกษา ๒๕.๒ การลาพักการเรียน นิสิตต้องยื่นคําร้องต่อคณบดีภายใน ๒ สัปดาห์ นับจากวันเปิด ภาคการศึกษาหรือตามที่คณบดีเห็นสมควร และให้คณบดีเป็นผู้พิจารณาอนุญาต แล้วแจ้งให้นายทะเบียนทราบ ๒๕.๓ การลาพักการเรียน ให้อนุญาตครั้งละไม่เกินหนึ่งภาคการศึกษา ถ้านิสติ ยังมีความ จําเป็นที่จะต้องขอลาพักการเรียนต่อไปอีกให้ยื่นคําร้องใหม่ ๒๕.๔ ในกรณีที่นสิ ิตได้รับอนุญาตให้ลาพักการเรียน ให้นับระยะเวลาที่ลาพักการเรียน รวมอยู่ในระยะเวลาเรียน ตามข้อ ๑๘ ด้วย

-๑๐๒๕.๕ ในระหว่างที่ได้รับอนุญาตให้ลาพักการเรียน นิสิตจะต้องชําระเงินค่าบํารุงมหาวิทยาลัย และค่าบํารุงคณะตามระเบียบทุกภาคการศึกษาภายใน ๒ สัปดาห์ นับจากวันเปิดภาคการศึกษา เพื่อรักษาสภาพ นิสิต มิฉะนั้นจะถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัย ๒๕.๖ นิสิตที่ได้รับอนุญาตให้ลาพักการเรียน เมื่อจะขอกลับเข้าเรียนจะต้องยื่นคําร้องขอ กลับเข้าเรียนต่อคณบดี และเมื่อคณบดีอนุญาตแล้ว ให้คณะแจ้งให้นายทะเบียนทราบ ข้อ ๒๖ การเปลี่ยนสาขาวิชา นิสิตที่สอบคัดเลือกเข้าเรียนในสาขาวิชาใดจะต้องเรียนสาขาวิชานั้น ถ้ามีความประสงค์จะ ขอเปลี่ยนสาขาวิชาภายในคณะ ให้หัวหน้าภาควิชาหรือประธานหลักสูตรที่เกี่ยวข้องพิจารณาเสนอคณบดี อนุมัติ กรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้านิสิตมีความประสงค์จะขอเปลี่ยนสาขาวิชาต่างคณะ ต้องได้รับอนุมัติ จากคณบดีของคณะที่เกี่ยวข้องด้วย เมื่อดําเนินการตามวรรคหนึ่ง หรือวรรคสองแล้ว ให้คณบดีคณะที่รับนิสิตเข้าสังกัด แจ้งให้นายทะเบียนทราบ ข้อ ๒๗ การรับโอนนิสิตนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น มหาวิทยาลัยอาจพิจารณารับโอนนิสิตนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่มีวิทยฐานะ เทียบเท่า ตามประกาศมหาวิทยาลัย ข้อ ๒๘ การเทียบโอนหน่วยกิต มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาเทียบโอนหน่วยกิตได้ตามประกาศมหาวิทยาลัย ข้อ ๒๙ การพ้นจากสภาพนิสิต นิสิตต้องพ้นจากสภาพนิสิตในกรณีต่อไปนี้ ๒๙.๑ สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรและได้รับปริญญาตามข้อ ๓๔ ๒๙.๒ ได้รับอนุมัติจากคณบดีให้ลาออก ๒๙.๓ ถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัยในกรณีดังต่อไปนี้ ๒๙.๓.๑ ไม่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาแรกที่ขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต ๒๙.๓.๒ เมื่อพ้นกําหนดเวลาหนึ่งภาคการศึกษาแล้ว ไม่ชําระเงินค่าบํารุงและ ค่าธรรมเนียมการศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพา ๒๙.๓.๓ ขาดคุณสมบัติของผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตตาม ข้อ ๔ ข้อใดข้อหนึง่ ๒๙.๓.๔ เมื่อค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมต่ํากว่า ๒.๗๕ ๒๙.๓.๕ เป็นนิสิตสภาพรอพินิจเป็นเวลา ๔ ภาคการศึกษาที่มีการจําแนกสภาพ ต่อเนื่องกัน

-๑๑๒๙.๓.๖ ไม่สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะเวลาในข้อ ๑๘.๒ หรือศึกษา ครบระยะเวลาตามข้อ ๑๘.๒ แล้วและได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมต่ํากว่า ๓.๐๐ ๒๙.๓.๗ สอบความรู้ภาษาต่างประเทศตามข้อ ๓๐ ไม่ผ่าน ๒๙.๓.๘ สอบประมวลความรู้ หรือสอบวัดคุณสมบัติตามข้อ ๓๑ ไม่ผ่าน ๒๙.๓.๙ ทําการทุจริตในการสอบอย่างร้ายแรง ๒๙.๓.๑๐ มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรงในขณะที่เป็นนิสิต ๒๙.๓.๑๑ ทําผิดระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างร้ายแรง ๒๙.๔ ตาย ผู้ที่พ้นจากสภาพนิสิตเพราะถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัยตามข้อ ๒๙.๓.๒ หากประสงค์ขอ คืนสภาพเป็นนิสิตอีกให้ยื่นคําร้องผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หัวหน้าภาควิชา หรือประธานหลักสูตร และคณบดีเพื่อพิจารณาเสนอให้อธิการบดีอนุมัติ ทั้งนี้ ผู้นั้นต้องชําระเงินค่าบํารุงและ ค่าธรรมเนียมการศึกษา เมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้ผู้นั้นคืนสภาพเป็นนิสิตอีกครั้งหนึ่งและคงสภาพเป็นนิสิตเพียงเท่า ระยะเวลาตามข้อ ๑๘.๒ นับตั้งแต่วันขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตครั้งแรก ข้อ ๓๐ นิสิตหลักสูตรปริญญาโทหรือหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง และหลักสูตรปริญญาเอก ต้องสอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศตามประกาศมหาวิทยาลัย ข้อ ๓๑ การสอบประมวลความรู้สําหรับนิสติ หลักสูตรปริญญาโทที่เรียนตามแผนการศึกษา ซึ่งไม่ ต้องทําวิทยานิพนธ์ และการสอบวัดคุณสมบัติของนิสิตหลักสูตรปริญญาเอกให้เป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัย

มีปรับแก้ข้อ 32 ในฉบับ 2

ข้อ ๓๒ นิสิตหลักสูตรปริญญาเอกที่ไม่สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร อาจนํารายวิชาที่ลงทะเบียน เรียนไปเทียบโอนกับรายวิชาในหลักสูตรปริญญาเอกสาขาวิชาเดียวกันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันได้ หรืออาจ นํารายวิชาและหรือผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับดุษฎีนิพนธ์ที่ลงทะเบียนเรียนไปเทียบโอนกับรายวิชาในหลักสูตร ปริญญาโทสาขาวิชาเดียวกันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันได้ เพื่อรับปริญญาเอกหรือปริญญาโทในสาขาวิชานั้น ตามประกาศมหาวิทยาลัย ข้อ ๓๓ ข้อกําหนดและขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์ ให้เป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัย ข้อ ๓๔ การขอรับประกาศนียบัตรบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ปริญญาโท หรือปริญญาเอก ๓๔.๑ ในภาคการศึกษาใดที่นิสิตคาดว่าจะสําเร็จการศึกษา ให้ยื่นคําร้องขอรับประกาศนียบัตร บัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือปริญญาเอกต่อนายทะเบียน ภายใน ๑ เดือน นับแต่วันเปิด ภาคการศึกษา

-๑๒๓๔.๒ นิสิตที่จะขอรับประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือปริญญาเอกได้ ต้องมีคุณสมบัติครบ ดังต่อไปนี้ ๓๔.๒.๑ เป็นนิสิตมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า ๒ ภาคการศึกษา ๓๔.๒.๒ สอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศตามข้อ ๓๐ ๓๔.๒.๓ สอบได้จํานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร ๓๔.๒.๔ ได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมของรายวิชาไม่ต่ํากว่า ๓.๐๐ ๓๔.๒.๕ สอบประมวลความรู้ผ่านสําหรับนิสิตหลักสูตรปริญญาโทที่เรียนตาม แผนการศึกษาซึ่งไม่ต้องทําวิทยานิพนธ์ หรือสอบวัดคุณสมบัตินิสิตผ่านสําหรับนิสิตหลักสูตรปริญญาเอก ๓๔.๒.๖ สอบผ่านการสอบปากเปล่าวิทยานิพนธ์สําหรับนิสิตหลักสูตรปริญญาโท แผน ก หรือดุษฎีนิพนธ์สําหรับนิสิตหลักสูตรปริญญาเอก และนิสิตได้ส่งรูปเล่ม ฉบับสมบูรณ์ทไี่ ด้รับการอนุมัติให้คณะแล้ว ๓๔.๒.๗ ผลงานวิทยานิพนธ์ของนิสิตหลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก ๑ และ ก ๒ ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยดําเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) และเป็นที่ ยอมรับในสาขาวิชานั้นก่อนการตีพิมพ์ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (Proceedings) ในลักษณะที่เป็นฉบับเต็ม (Full Paper) ทั้งนี้การเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานจะต้อง ดําเนินการภายหลังจากที่เค้าโครงวิทยานิพนธ์ได้รับอนุมัติแล้ว ๓๔.๒.๘ ผลงานดุษฎีนิพนธ์ของนิสิตหลักสูตรปริญญาเอก ต้องได้รับการตีพิมพ์หรือ อย่างน้อยดําเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทาง วิชาการที่มีกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) และเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นก่อนการตีพิมพ์ ทั้งนี้การเผยแพร่ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานจะต้องดําเนินการภายหลังจากที่เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ ได้รับอนุมัติแล้ว ข้อ ๓๕ การให้ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือปริญญาเอก มหาวิทยาลัยจะพิจารณาเสนอชื่อนิสิตที่ได้ยื่นความจํานงขอรับประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือปริญญาเอกและมีความประพฤติดีต่อสภาวิชาการและสภามหาวิทยาลัย เพื่ออนุมัติประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือปริญญาเอก ข้อ ๓๖ การถอดถอนประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือ ปริญญาเอก ในกรณีที่นสิ ิตได้รับประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือปริญญา เอกไปแล้ว มหาวิทยาลัยอาจถอดถอนประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หรือ ปริญญาเอกได้ หากภายหลังตรวจสอบหรือทราบว่าคุณสมบัติไม่ครบตามข้อ ๔.๑ หรือ ข้อ ๓๔.๒

-๑๓ข้อ ๓๗ หากมีข้อขัดข้องหรือมีปัญหาในทางปฏิบัติ ให้รองอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมายและ คณบดีหารือร่วมกัน แล้วเสนออธิการบดีเพื่อวินิจฉัยสั่งการ ข้อ ๓๘ ให้อธิการบดีรักษาการให้เป็นไปตามข้อบังคับนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

(ลงชื่อ)

สําเนาถูกต้อง (นางธนวรรณ ศักดากัมปนาท) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

สมพล พงศ์ไทย (ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมพล พงศ์ไทย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา

113

หมายเลข 6 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร

115

หมายเลข 7 ผลการวิพากษ์หลักสูตรจากผู้ทรงคุณวุฒิ

115

Reall MS&Ph.D.ChemicallEngineering_ChE 26_5_56 (2).pdf ...

Whoops! There was a problem loading this page. Retrying... Reall MS&Ph.D.ChemicallEngineering_ChE 26_5_56 (2).pdf. Reall MS&Ph.D.ChemicallEngineering_ChE 26_5_56 (2).pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu. Displaying Reall MS&Ph.D.ChemicallEngineering_ChE 26_5_56 (2).pdf. Page 1 of 133.

13MB Sizes 5 Downloads 92 Views

Recommend Documents

No documents