YEAR ONE STUDIO รายวิชาปฏิบตั กิ ารออกแบบชัน้ ปีทหี่ นึง่ ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1

TUTORS คณาจารย์

ศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิตานนท์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ พิรสั พัชรเศวต ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร อาจารย์ ภมรเทพ อมรวนิชย์กจิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ม.ล.จิตตวดี จิตรพงศ์ อาจารย์ ดร. ภัทร์ สีอมั พรโรจน์ อาจารย์ ดร. ชมชน ฟูสนิ ไพบูลย์ อาจารย์ จรินพร เลาจริยกุล อาจารย์ มงคล วิชวิ านิเวศน์ อาจารย์ บูรพา พรมมูล อาจารย์ วรรษ วิศทเวทย์ อาจารย์ เทียนไท กีระนันทน์ อาจารย์ เผดิม พุทธเจริญมงคล อาจารย์ กวิศ โกอุดมวิทย์ อาจารย์ ธนเดช ศรีคราม อาจารย์ ชวนนท์ โฆษกิจจาเลิศ

หัวหน้าวิชา

คณาจารย์และวิทยากรรับเชิญวิพากษ์งานทีว่ า่ งลวงตา

คณาจารย์และนิสติ ชัน้ ปีทหี่ นึง่ เมือ่ ตรวจผลงานโครงสร้าง

CRITICS วิทยากรรับเชิญ

ดร. ประพล ค�าจิม่ อาจารย์ประจ�า คณะศิลปกรรมศาสตร์ และหัวหน้าหอศิลป วิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณปิตพุ งษ์ เชาวกุล เจ้าของบริษทั ซูเปอร์แมชชีนสตูดโิ อ คุณศิรยิ ศ ชัยอ�านวย เจ้าของบริษทั ออนเนีย่ น คุณอริศรา จักรธรานนท์ เจ้าของบริษทั ออนเนีย่ น คุณสนิทศั น์ ประดิษฐ์ทศั นีย์ เจ้าของบริษทั สนิทศั น์สตูดโิ อ 2

3

CONTENT สารบัญ

ภาคการศึกษาต้น

01

ภาพและพืน้ ภาพ โครงสร้างภาพและการ แปรเปลีย่ น หน่วยของรูปทรง น�า้ หนักสี ความกลมกลืนและความตัดกันของสี

02

ตัดแก้ว

16

03

ประติมากรรมเชิงโครงสร้าง

42

04

ทีว่ า่ งลวงตา

60

05

ทีเ่ ล่นเด็ก

67

06

รถเข็นขายก๋วยเตีย๋ ว

68

07

ห้องทดลองประสิทธิภาพทางสมอง และร่างกาย

08

สถานพักตากอากาศส�าหรับนักปัน่ จักรยาน

80

09

บ้านและเพือ่ นบ้านของตน

86

ภาคการศึกษาปลาย

4

5

6

76

0101

DESIGN ELEMENTS FIGURE AND GROUND ภาพและพืน้ ภาพ

ให้งาน วันศุกร์ที่ 15 สิงหาคม 2557 ส่งงานวัน ศุกร์ที่ 15 สิงหาคม 2557

วัตถุประสงค์ ให้นสิ ติ ฝึกวิเคราะห์และสามารถถอดองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม เพือ่ ใช้เป็น องค์ประกอบในการออกแบบได้ งานทีต่ อ้ งการ 1. ภาพร่างทัศนียภาพของอาคาร โดยนิสติ สามารถเลือกอาคารดังต่อไปนีอ้ าคาร มหาจุฬาลงกรณ์ อาคารมหาวชิราวุธ อาคารจักรพงษ์ อาคารชีววิทยาและเคมีสอง อาคารจามจุรีหนึ่ง และอาคารจามจุรีสอง ร่างภาพในกรอบภาพขนาด A5 ด้วย ดินสอ 2B ขึน้ ไป 2. ภาพตัดปะขาวด�าขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมทีแ่ ปลงเป็นองค์ประกอบ ในการออกแบบ จุด เส้น ระนาบ แล้ว โดยมีการจัดองค์ประกอบทีส่ วยงามและสัมพันธ์ กับภาพร่างต้นแบบ จัดลงในกรอบภาพขนาด A5 วัสดุอปุ กรณ์ 1. กระดาษร้อยปอนด์ ขนาด A4 จ�านวน 2 แผ่น 2. กระดาษโปสเตอร์สดี า� ขนาด A4 จ�านวน 1 แผ่น 3. กระดาษร่าง อุปกรณ์สา� หรับร่างภาพ 4. อุปกรณ์สา� หรับตัดและติด การประเมินผล 1. การเลือกมุมมองภาพได้เหมาะสม มีองค์ประกอบในการออกแบบครบถ้วน และน่าสนใจ 2. การลดทอนรายละเอียดของภาพทีย่ งั สือ่ ถึงภาพต้นแบบ 3. ความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างภาพ (Figure) พืน้ ภาพ (Ground) และกรอบภาพ 4. ความประณีตเรียบร้อย 5. ความตรงต่อเวลา

0101.1. ออกแบบโดยกรวรรณ นิม่ วิศษิ ม์

6

7

0102

STRUCTURE AND GRADATION โครงสร้างภาพและการแปรเปลีย่ น

ให้งาน วันศุกร์ที่ 15 สิงหาคม 2557 ส่งงานวัน อังคารที่ 19 สิงหาคม 2557

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้นสิ ติ สามารถสร้างภาพทีป่ ระกอบด้วยโครงสร้างภาพ (Structural pattern) และการแปรเปลีย่ น (Gradation) ได้ งานทีต่ อ้ งการ ภาพ A ให้นสิ ติ ถ่ายภาพขาวด�า ของวัตถุในธรรมชาติทมี่ โี ครงสร้างทีน่ า่ สนใจ เช่น เปลือกไม้ รังผึง้ เกล็ดปลา ฯลฯ ขนาด 4”x6” จ�านวน 3 ภาพ เพือ่ น�ามาเลือกใช้เป็น ภาพต้นแบบในการวิเคราะห์ ภาพ B ให้นิสิตวิเคราะห์โครงสร้างภาพของภาพต้นแบบที่เลือก โดยติดภาพ องค์ประกอบเส้นและระนาบด้วยกระดาษสีดา� ขนาด A5 (ตีกรอบด้วยเส้นร่าง) บน กระดาษร้อยปอนด์ ภาพ C ให้นสิ ติ แปรเปลีย่ นโครงสร้างภาพให้มคี วามซับซ้อนและสวยงาม โดยยัง คงเค้าโครงของโครงสร้างภาพ B และแปรเปลีย่ นองค์ประกอบภาพด้วยวิธกี ารต่างๆ เช่น การสลับภาพเป็นพืน้ ภาพ การเพิม่ และการลดรูปร่าง การเปลีย่ น ขนาด ทิศทาง การเว้นว่าง ฯลฯ โดยติดภาพองค์ประกอบเส้นและระนาบด้วยกระดาษสีดา� ขนาด A5 (ตีกรอบด้วยเส้นร่าง) บนกระดาษร้อยปอนด์ วัสดุอปุ กรณ์ 1. กระดาษร้อยปอนด์ ขนาด A4 จ�านวน 3 แผ่น 2. กระดาษโปสเตอร์สดี า� ขนาด A4 จ�านวน 2 แผ่น 3. กระดาษร่าง 4. อุปกรณ์สา� หรับตัดและติด 5. แฟ้มพลาสติก ขนาด A4

0102.1. ออกแบบโดยธนัตถ์ สุคนธบุษย์

0102.2. ภาพต้นแบบของธนัตถ์ สุคนธบุษย์

8

การประเมินผล 1. ความสัมพันธ์ระหว่างภาพต้นแบบและภาพวิเคราะห์ 2. ความสวยงามและความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างภาพ (Figure) พืน้ ภาพ (Ground) และโครงสร้างภาพ (Structural Pattern) 3. ความสวยงามของการแปรเปลีย่ น(Gradation) 4. ความประณีตเรียบร้อย 5. ความตรงต่อเวลา

9

0103

COMPOSITON UNIT FORM หน่วยของรูปทรง

ให้งาน วันอังคารที่ 19 สิงหาคม 2557 ส่งงาน วันศุกร์ที่ 22 สิงหาคม 2557

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้นสิ ติ สามารถออกแบบหน่วยของรูปทรง (Unit Form) สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างหน่วยของรูปทรง และการแปรเปลีย่ น (Gradation) งานทีต่ อ้ งการ ให้นสิ ติ สร้างภาพขนาด A5 จ�านวน 3 ภาพ (ตีกรอบด้วยเส้นร่าง) โดยใช้ระนาบ สีดา� และสีเทา ขนาดประมาณ 2.50 x 2.50 ซม. ติดลงบนกระดาษร้อยปอนด์ขนาด A4 ดังนี้ ภาพ A ให้นสิ ติ น�าองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึง่ จากภาพโปรแกรมชิน้ ที่ 1 มาลด ทอนและสร้างหน่วยของรูปทรงที่มีความสัมพันธ์แบบเกาะเกี่ยว (Interlock) และ ความสัมพันธ์แบบแทงทะลุ (Interpenetrate) อย่างละ 3แบบและแปรเปลีย่ นรูปทรง อย่าง น้อยรูปทรงละ 3 แบบ ติดลงบนกระดาษร้อยปอนด์ขนาด A4 ภาพ B ให้นิสิตจัดภาพด้วยหน่วยของรูปทรงแบบเกาะเกี่ยว ที่เลือกจากภาพ A จ�านวนไม่นอ้ ยกว่า 15 หน่วย โดยใช้ความสัมพันธ์ดงึ ดูด (Tension) และ สัมผัส (Contact) แบบมุมชนมุม มุมชนด้าน ด้านชนด้าน ภาพ C ให้นสิ ติ จัดภาพด้วยหน่วยของรูปทรงแบบแทงทะลุ ทีเ่ ลือกจากภาพ A จ�านวนไม่น้อยกว่า 15หน่วย โดยใช้ความสัมพันธ์ ดึงดูด (Tension) และ สัมผัส (Contact) แบบมุมชนมุม มุมชนด้าน ด้านชนด้านและมี การแปรเปลีย่ น (Gradation) ของรูปร่าง ขนาด และระดับของความสัมพันธ์ภายในหน่วยของรูปทรง วัสดุอปุ กรณ์ 1. กระดาษร้อยปอนด์ ขนาด A4 จ�านวน 3 แผ่น 2. กระดาษโปสเตอร์สดี า� ขนาด A4 จ�านวน 2 แผ่น 3. กระดาษร่าง อุปกรณ์สา� หรับตัดและติด แฟ้มพลาสติก ขนาด A4

0103.1. ออกแบบโดยอารีณฐั อาชาเทวัญ

0103.2.ออกแบบโดยภัทรธิดา ปัญญาแก้ว

10

การประเมินผล 1. ความสวยงามของหน่วยของรูปทรง (Unit Form) 2. ความสวยงามของการจัดความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบภาพ (Figure) และพืน้ ภาพ (Ground) 3. ความน่าสนใจของการแปรเปลีย่ น (Gradation) 4. ความประณีตเรียบร้อย 5. ความตรงต่อเวลา 11

0104

COLOUR VALUE น�า้ หนักสี

ให้งานวันอังคารที่ 26 สิงหาคม 2557 ส่งงาน วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม 2557

วัตถุประสงค์ ให้นสิ ติ ปฏิบตั กิ ารทดลองเรือ่ ง น�า้ หนักสี (Value) โดยการเปรียบเทียบน�า้ หนัก ระหว่าง ภาพขาวเทาด�า และ ภาพสี และรูถ้ งึ การน�าน�า้ หนักสีไปใช้สร้างภาพ 2 มิติ ให้เกิดมิตคิ วามลึกทางความนึกคิดได้ งานทีต่ อ้ งการ ให้นสิ ติ ออกแบบโครงสร้างภาพทีเ่ อือ้ ให้เกิดมิตคิ วามลึกทางความนึกคิด ขนาด A6 จ�านวน 2 ภาพทีเ่ หมือนกัน โดยมีจา� นวนช่องไม่นอ้ ยกว่า 18 ช่อง จัดเรียงลงบน กระดาษร้อยปอนด์ขนาด A4 ภาพแรก ให้นสิ ติ ระบายสีโปสเตอร์ลงในพืน้ ทีแ่ ต่ละช่องโดยให้ใช้สเี ทาต่างระดับ กัน จ�านวน 6 ระดับอย่างน้อยระดับละ 3 ช่องเพือ่ ให้ภาพเกิดมิตคิ วามลึกทางความ นึกคิด ภาพทีส่ อง ให้นสิ ติ ระบายสีโปสเตอร์ลงในพืน้ ทีแ่ ต่ละช่องโดยให้ใช้สี จ�านวน 3 สี จากโครงสีไตรแอดส์ (Triads) ทีม่ กี ารปรับน�า้ หนักสีตรงกับระดับสีเทาเดียวกัน กับแต่ละช่องของภาพแรก โดยภาพทัง้ สองจะต้องดูมมี ติ คิ วามลึกทางความนึกคิด วัสดุอปุ กรณ์ 1.กระดาษร้อยปอนด์สขี าว ขนาด A4 จ�านวน 1 แผ่น 2. สีโปสเตอร์และอุปกรณ์การระบายสี 3. กระดาษขาวส�าหรับทดลองสี อุปกรณ์การเขียน กระดาษร่าง การประเมินผล 1. ความถูกต้องของน�า้ หนักสีทตี่ รงกันทัง้ สองภาพ และจ�านวนสีตามโจทย์กา� หนด 2. มิตใิ นความนึกคิดทีเ่ กิดขึน้ จากการใช้สี 3. ความประณีตเรียบร้อยและสวยงาม

0104.1. ออกแบบโดยธัญชนิต ขัธกิจ

0104.2. ออกแบบโดยธัญชนิต ขัธกิจ

12

13

0105

COLOUR HARMONY AND CONTRAST ความกลมกลืนและความตัดกันของสี

ให้งานวันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม 2557 ส่งงานวัน อังคารที่ 2 กันยายน 2557

วัตถุประสงค์ ให้นิสิตปฏิบัติการทดลองเรื่องความกลมกลืน และความตัดกันของสี ด้วยวิธี การปรับน�้าหนักสี (VALUE) และ ความสดของสี (INTENSITY) ที่มีผลต่อการ เปลีย่ นแปลงองค์ประกอบภายในภาพ งานทีต่ อ้ งการ ให้นสิ ติ สร้างภาพขนาด A6 จ�านวน 2 ภาพจัดวางลงในกระดาษร้อยปอนด์ขนาด A4 ทีม่ โี ครงสร้างภาพ (Structural Pattern) เหมือนกันทุกประการ และระบายสี โปสเตอร์ลงในช่องของโครงสร้างภาพดังรายละเอียดต่อไปนี้ ภาพ A ก�าหนดให้นสิ ติ ใช้คสู่ ตี รงข้าม 1 คู่ น�ามาเปลีย่ นแปลงน�า้ หนัก (VALUE) และ ความสดของสี (INTENSITY) ให้เกิดองค์ประกอบภาพทีส่ วยงามแบบกลมกลืน กันของทัง้ น�า้ หนัก และความสดของสี ภาพ B ก�าหนดให้นสิ ติ ใช้คสู่ ตี รงข้าม 1 คู่ ทีซ่ า�้ กับภาพ A น�ามาเปลีย่ นแปลง น�า้ หนัก (VALUE) และ ความสดของสี (INTENSITY) ให้เกิดองค์ประกอบภาพใหม่ ทีเ่ กิดการตัดกันของสีทชี่ ดั เจน และสวยงาม มีความแตกต่างจากภาพ A โดยสิน้ เชิง ภาพทัง้ 2 จะต้องมีโครงสร้างภาพและการใช้สที สี่ วยงาม ถูกต้องตามโจทย์กา� หนด *นิสติ จะต้องระบายสีให้เต็มทุกช่องทัง้ 2 ภาพโดยไม่ตอ้ งตัดเส้น วัสดุอปุ กรณ์ 1.กระดาษร้อยปอนด์สขี าว ขนาด A4 จ�านวน 1 แผ่น 2. สีโปสเตอร์และอุปกรณ์การระบายสี 3. กระดาษขาวส�าหรับทดลองสี อุปกรณ์การเขียน กระดาษร่าง การประเมินผล 1. ความถูกต้องตามข้อก�าหนดของโจทย์ 2. ภาพทั้งสองมีองค์ประกอบภาพที่ต่างกันตามการปรับใช้สีที่กลมกลืน และสี ทีม่ คี วามตัดกัน 3. ความประณีตเรียบร้อยและสวยงาม

0105.1. ออกแบบโดยวาสิตา วานิชศิรโิ รจน์

0105.2. ออกแบบโดยวาสิตา วานิชศิรโิ รจน์

14

15

02

CUP CUTS VISIBILITIES OF SPACE ตัดแก้ว

ให้งาน วันศุกร์ที่ 5 กันยายน 2557 ส่งแบบครัง้ ทีห่ นึง่ วันศุกร์ที่ 19 กันยายน 2557 ส่งงานครัง้ ทีส่ อง วันอังคารที่ 7 ตุลาคม 2557

วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัดนีค้ อื การสร้างรูปทรงเรขาคณิต ทีส่ ามารถสร้างภาพ ของแสงและเงาทีน่ า่ ประทับใจได้ แบบฝึกหัดเริม่ ต้นด้วยการฝึกมองปริมาตรของวัตถุ ในชีวติ ประจ�าวัน แก้วน�า้ คือเครือ่ งมือช่วยในการออกแบบ ส่วนทีห่ นึง่ ของแบบฝึกหัด เป็นการเขียนแบบเพือ่ แสดงมุมมองของตนผ่านการตัดแก้วน�า้ ให้นสิ ติ เลือกแนวตัด อย่างน้อยสามแนวตัด วาดแปลน รูปด้าน รูปตัด เข้ามาตราส่วน หนึง่ ต่อหนึง่ หนึง่ ต่อสอง และสามต่อหนึง่ ส่วนทีส่ องเป็นการสร้างรูปทรงใหม่ทแี่ สดงปริมาตรของรูป ทรงเรขาคณิตของรูปตัดนัน้ ให้นสิ ติ เปลีย่ นวิธมี องรูปตัดทีต่ นวาด โดยมองให้เป็นรูป ด้าน แปลน หรือรูปตัดของรูปทรงอืน่ ทีไ่ ม่ซา�้ กับรูปทรงเดิม โจทย์นคี้ อื การศึกษาวิธคี ดิ ขึน้ รูปทรงทีม่ องเห็นได้ดว้ ยสายตา แต่ประเด็นทีส่ า� คัญ มากกว่าคือการออกแบบแสงเงาซึง่ เคลือ่ นไหว เปลีย่ นแปลง หรือหายไป แนวคิดของ โจทย์นมี้ าจากค�ากล่าวของเลอร์คอบูซเิ อว่า ‘Architecture is the masterly, correct and magnificent play of masses brought in light’.1 ส�าหรับคอร์บ ความช�านาญ ในงานสถาปัตยกรรมมีความหมายมากไปกว่า การสร้างรูปทรงเรขาคณิตได้อย่างถูก ต้องตามหลักการวัสดุและโครงสร้าง เขาหมายความรวมถึง การมองเห็นศักยภาพ ของพืน้ ผิวและรูปทรงเรขาคณิตพิน้ ฐาน (เช่น ลูกบาศก์ รูปทรงกรวย ปิรามิด รูปทรง กระบอก และรูปทรงกลม) ซึง่ เอือ้ ให้เกิดภาพของแสงและเงาทีน่ า่ ประทับใจ

1. Le Corbusier Towards a New Architecture (Woburn: Architectural Press, 1989), p. 29.

2.1. ออกแบบโดยธัญลักษณ์ ภูมพิ ริ ะรัถยา 16

งานทีต่ อ้ งการ 1. สัญลักษณ์แนวตัดบนแก้วน�า้ (ใช้นติ โต้เทป) 2. ผังพื้น รูปด้าน และรูปตัดของแก้วน�า้ อย่างน้อยสามแนวตัด เขียนเข้า มาตราส่วนหนึ่งต่อหนึ่ง (จากหนึ่งแนวตัด ให้มองไปในทิศทางตรงกันข้ามกัน ตั้ง ฉากกับแนวตัด เขียนรูปตัด หกรูป จากสามแนวตัดนัน้ ) 3. ย่อรูปตัดทีต่ นเลือกใช้ (สามรูปตัด) ให้เหลือมาตราส่วนหนึง่ ต่อสอง 4. สร้างรูปทรงใหม่ทแี่ สดงปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิตของรูปตัดสามรูปนัน้ ให้ นิสติ เปลีย่ นวิธมี องรูปตัดทีต่ นวาด โดยมองให้เป็นรูปด้าน แปลน หรือรูปตัดของรูป ทรงอืน่ ทีไ่ ม่ซา� ้กบั รูปทรงเดิม นิสติ อาจมองรูปตัดเป็นรูปทรงหรือทีว่ า่ งในรูปทรงอืน่ (positive forms/negative spaces) ให้ขนึ้ รูปทรง มาตราส่วน หนึง่ ต่อสอง จ�านวน อย่างน้อยรูปตัดละสามรูปทรง (รวมทัง้ หมด เก้ารูปทรง) วัสดุคอื ดินน�า้มนั สีขาว 5. ถ่ายรูปรูปทรงใหม่ทนี่ สิ ติ สร้างทัง้ หมด บนพืน้ หลั งกระดาษสีขาว การท�าพืน้ ภาพให้ใช้การต่อกระดาษให้เห็นรอยต่อน้อยทีส่ ดุ ติดกระดาษบนผนังและให้หอ้ ยลง 17

บนพืน้ (เพือ่ ลบรอยต่อระหว่างพืน้ กับผนัง) จัดแสงให้เห็นเงาบนตัววัตถุเอง เงาตกบน พืน้ เงาตกบนผนัง ให้ถา่ ยภาพทีละสามรูปทรงทีส่ ร้างจากรูปตัดเดียวกัน 6. เลือกรูปทรงมาตราส่วนหนึ่งต่อสองมาพัฒนางานต่อ หรือเลือกรูปตัดใหม่ สร้างอย่างน้อยสองรูปทรงในมาตราส่วนเป็นหนึง่ ต่อหนึง่ ให้นสิ ติ ทดลองเลือกวัสดุ และวิธขี นึ้ รูปทรง รูปทรงทีห่ นึง่ ให้เปลีย่ นจาก masses เป็น surfaces (วัสดุแผ่น) รูปทรงทีส่ องเป็น skeletons (วัสดุเส้น) 7. สร้างปริมาตรรูปทรงเรขาคณิต มาตราส่วนสามต่อหนึง่ จากการทดลองเรือ่ ง แสง เงา และวัสดุของรูปทรงมาตราส่วนหนึง่ ต่อหนึง่ ทีผ่ า่ นมา ออกแบบภาพของแสง และเงาบนตัววัตถุเอง และบนพืน้ หลังวัตถุ 8. เขียนแปลน รูปด้าน และรูปตัดของรูปทรงเรขาคณิตนัน้ หนึง่ รูปในแบบทัง้ หมด นีต้ อ้ งมีสว่ นหนึง่ ส่วนใดซ�า้ กับรูปตัดแก้วทีน่ สิ ติ เลือก พัฒนาปริมาตรรูปทรงเรขาคณิต มาตราส่วนสามต่อหนึง่ เขียนไอโซเมตริกของรูปทรงเรขาคณิตนัน้ แสดงภาพของ แสงและเงาทีน่ สิ ติ ออกแบบ

2.3. วาดโดยธัญลักษณ์ ภูมพิ ริ ะรัถยา

การน�าเสนอผลงาน น�าเสนอผลงานให้คณาจารย์และเพือ่ นในกลุม่ ในการน�าเสนอผลงาน นิสติ มีที่ ว่างในการอธิบายผลงานเท่ากัน คือ หนึง่ นาทีและโต๊ะของตนเอง ให้นสิ ติ วางแผน กับเพือ่ นในกลุม่ ว่าจะจัดโต๊ะอย่างไรให้มปี ระสิทธิภาพในการเสนอกระบวนการ ท�างานได้ดที สี่ ดุ การประเมินผล 1. การเลือกรูปตัดเพือ่ สร้างรูปทรงเรขาคณิตใหม่ การเขียนแบบทีถ่ กู ต้อง ชัดเจน มีระบบ 10% 2. ความเรียบง่าย สมบูรณ์แบบของรูปทรง 30% 3. แสงและเงาทีน่ า่ ประทับใจ 40% 5. การน�าเสนอผลงานทีแ่ สดงกระบวนการออกแบบ 20%

2.2. วาดโดยธัญลักษณ์ ภูมพิ ริ ะรัถยา

18

19

2.4. ออกแบบโดยธัญลักษณ์ ภูมพิ ริ ะรัถยา

2.5. ออกแบบโดยธัญลักษณ์ ภูมพิ ริ ะรัถยา

20

21

2.6. ออกแบบโดยธัญลักษณ์ ภูมพิ ริ ะรัถยา

2.7. วาดโดยธัญลักษณ์ ภูมพิ ริ ะรัถยา

22

23

2.9. วาดและออกแบบโดยนงนภัส พานิช

2.8. ออกแบบโดยนงนภัส พานิช 24

25

2.10 ออกแบบโดยเย็นจิต มีอศั วเป็นมงคล

2.11. ออกแบบโดยเย็นจิต มีอศั วเป็นมงคล

26

27

2.12. ออกแบบโดยนนทชัย ไกรคง

2.13. ออกแบบและวาดโดยนนทชัย ไกรคง 28

29

2.14. ออกแบบโดยวรากร วิศาลวิทย์

2.15. ออกแบบโดยวรากร วิศาลวิทย์ 30

31

2.16. ออกแบบโดยเจนจิรา ลิมะวิรชั พงษ์

2.17. ออกแบบและเขียนโดยเจนจิรา ลิมะวิรชั พงษ์ 32

33

2.18. ออกแบบโดยติณณ์ ขวัญดี

2.19. ออกแบบและวาดโดยติณณ์ ขวัญดี

34

35

2.20. ออกแบบโดยนภัสรัญชน์ แป้นประเสริฐ

2.21. ออกแบบโดยนภัสรัญชน์ แป้นประเสริฐ

36

37

2.22. ออกแบบโดยวชิรกร อาษาสุจริต

2.23. ออกแบบโดยวชิรกร อาษาสุจริต 38

39

2.24. ออกแบบโดยวชิรกร อาษาสุจริต

2.25. ออกแบบโดยภัทรานิษฐ์ เวียงค�ามา

40

41

03

STAND BY ME SCULPTURES

ประติมากรรมเชิงโครงสร้าง

ให้งานวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม 2557 ส่งแบบครัง้ ที่ หนึง่ วันอังคารที่ 14 ตุลาคม 2557 ส่งหุน่ จ�าลอง ต้นแบบขัน้ สมบูรณ์ วันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2557 ส่ ง แบบร่ า งงานกลุ ่ ม สามคนครั้ ง ที่ ห นึ่ ง วั น อังคารที่ 21 ตุลาคม 2557 ส่งแบบร่างงาน กลุ่มสามคน ครั้งที่สอง วันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม 2557 ส่งแบบร่างงานกลุม่ สามคน ครัง้ ทีส่ าม วัน อังคารที่ 28 ตุลาคม 2557 ส่งผลงานขัน้ สมบูรณ์ วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม 2557

วัตถุประสงค์ ให้นสิ ติ ฝึกวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของลักษณะโครงสร้างและวัสดุ และสามารถ สร้างประติมากรรมเชิงโครงสร้างทีส่ วยงาม อย่างมัน่ คงแข็งแรง งานทีต่ อ้ งการ 1. งานชุดที่หนึ่ง หุ่นจ�าลองต้นแบบ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของระบบทาง โครงสร้างและวัสดุ มาตราส่วน 1:1 (ขนาดตามความเหมาะสม) และหุ่นจ�าลอง ต้นแบบเพื่อศึกษาลักษณะทางโครงสร้างองค์รวม มาตราส่วน 1:5 (ขนาดโดย ประมาณ 45 cm x 45 cm) พร้อมเอกสารแสดงทีม่ าและกระบวนการคิดพัฒนาแบบ 2. งานชุดทีส่ อง ประติมากรรมเชิงโครงสร้าง ขนาดตามกรอบขอบเขตทีก่ า� หนด (ตามภาพประกอบ) พร้อมเอกสารแสดงทีม่ าและกระบวนการคิดพัฒนาแบบ สูงไม่เกิน 75 cm ขนาดกว้างยาวภายในขอบเขตเส้นผ่าศูนย์กลาง150–200 cm ฐานโครงสร้างภายในขอบเขตเส้นผ่าศูนย์กลาง 40cm น�า้ หนักรวมไม่เกิน 2 ก.ก. (ส่งตารางค�านวณน�า้ หนัก โดยเฉลีย่ จากจ�านวนหน่วยวัสดุ) วัสดุอปุ กรณ์ 1. วัสดุประเภทไม้ขนาดยาวไม่เกิน 10 cm 2. วัสดุประเภทกระดาษ ขนาดไม่เกิน 10 cm x 10 cm 3. วัสดุประเภทเชือก ขนาดยาวไม่เกิน 30 cm อนุญาตให้ใช้วสั ดุตอ่ ติดประเภท กาวแต่หา้ มใช้เทปกาว ห้ามใช้วสั ดุประเภทโลหะ การประเมินผล 1. ความเข้าใจความสัมพันธ์ของระบบหน่วยทางโครงสร้างและกายภาพ โครงสร้างองค์รวม 2. ความเข้าใจพืน้ ทีว่ า่ งและรูปทรง ทีส่ วยงาม ภายใต้บริบทในข้อ 1 3. การบรรลุผลตามเงือ่ นไขทีก่ า� หนด งานชุดทีห่ นึง่ : แบบร่าง 60% แบบจริง 40% งานชุดทีส่ อง: แบบร่าง 40% แบบจริง 60%

3.1. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

42

43

3.2. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

44

45

3.3. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

46

47

3.4. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

48

49

3.5. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

50

51

3.6. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

52

53

3.7. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

54

55

3.8. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง ถ่ายภาพโดยพีรดนย์ อริยานุกลู ธร

56

57

3.9. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง

3.9. วันตรวจงานประติมากรรมโครงสร้าง

58

59

04

MOMENTARY EXPERIENCE ทีว่ า่ งลวงตา

เลือกที่ตั้ง 4 พฤศจิกายน 2557 ส่งแบบร่าง ครั้งที่หนึ่ง 7 พฤศจิกายน 2557 ส่งแบบร่าง ครั้งที่สอง 11 พฤศจิกายน 2557 ส่งแบบร่าง ครัง้ ทีส่ าม 14 พฤศจิกายน 2557 ส่งแบบร่าง ครั้งที่สี่ 18 พฤศจิกายน 2557 ส่งแบบร่าง ครั้งที่ห้า 21 พฤศจิกายน 2557 ส่งแบบ 25 พฤศจิกายน 2557 เสนอแบบต่อวิทยากรรับ เชิญ 28 พฤศจิกายน 2557

โจทย์สดุ ท้ายของวิชาปฏิบตั กิ ารออกแบบ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2557 คือการทดลองสร้าง ทีว่ า่ งลวงตา นิสติ เป็นผูเ้ ลือกเทคนิคทีต่ นต้องการศึกษา เช่น งานของ M.C. Escher เพือ่ สร้างผลงานสามมิติ ซึง่ เหมาะสมกับทีต่ งั้ “เหมาะสม” ในทีน่ ี้ หมายความว่า นิสติ ค�านึงถึงพฤติกรรมการใช้สอยทีว่ า่ งเดิม ตัง้ ใจออกแบบ ให้สอดคล้อง หรือ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผูใ้ ช้ นิสติ ใช้โครงสร้างของอาคารให้ เป็นประโยชน์ตอ่ การสร้างผลงาน เมือ่ ผูด้ เู ดินโดยรอบ และ เข้าไปข้างในงานสามมิติ เขาเห็นผลงานทีแ่ ปรเปลีย่ นไปด้วยเทคนิคการลวงตา “เข้าไปข้างใน” หมายความ ว่า นิสิตเข้าใจเรื่องสัดส่วนร่างกายคน ไม่ว่าจะเป็นท่าก้ม ท่าคลาน ท่าเดิน หรือ ท่าโผล่หวั ก็ตาม

4.1. MoX0405 passable stool AR114 IA114 IA146 https://www.youtube.com/watch?v=PkfGhQcgNlc

วัตถุประสงค์ การสร้างสรรค์ผลงานสามมิติ (installation) โดยเริม่ ต้นจากการวิเคราะห์สถาน ทีต่ ดิ ตัง้ ผลงาน (site specific) เพือ่ สร้างประสบการณ์ลวงตาของทีว่ า่ ง ณ ห้วงขณะ หนึง่ (momentary experience of perceptual illusions) งานทีต่ อ้ งการ 1. ผลงานสามมิติ ขนาดไม่เกิน 3 ลูกบาศก์เมตร ที่เหมาะกับที่ตั้ง ในที่นี้ “เหมาะ” หมายความถึง ก). เข้าใจพฤติกรรมการใช้สอยทีว่ า่ งเดิม ข). ใช้โครงสร้าง

4.1. MoX0405 passable stool AR114 IA114 IA146 https://www.youtube.com/watch?v=PkfGhQcgNlc

60

61

เดิมให้เป็นประโยชน์ เมือ่ ผูด้ เู ดินโดยรอบและเข้าไปข้างในผลงาน ผูด้ เู ห็นผลงานที่ แปรเปลีย่ นไปด้วยเทคนิคการลวงตา “การเข้า” ไปในผลงาน หมายถึง การก้ม การ คลาน การเดิน การโผล่หวั เป็นต้น ไม่จา� กัดวัสดุการประกอบผลงาน 2. งานบันทึกประสบการณ์ลวงตาผ่านวิดที ศั น์ ความยาวไม่เกิน 15 วินาที การส่งแบบ แบบร่างครัง้ ที่ 1 (งานเดีย่ ว) ให้นสิ ติ น�าเสนอบทวิเคราะห์พนื้ ที่ เทคนิคการสร้าง ประสบการณ์ลวงตาเพือ่ พัฒนาไปใช้กบั ชิน้ งานออกแบบ แบบร่างครัง้ ที่ 2 (งานเดีย่ ว) ให้นิสิตน�าเสนอเทคนิคการสร้างประสบการณ์ลวงตา วิธีการและแนวคิดในการ สร้างผลงานอย่างน้อย 3 แบบ ท�าหุน่ จ�าลอง 1:5 พร้อมทัง้ เลือกวัสดุและโครงสร้าง ทีเ่ หมาะสมและน่าสนใจ แบบร่างครัง้ ที่ 3 (งานกลุม่ กลุม่ ละ 3 คน) หุน่ จ�าลองขนาด 1:2 และเสนอตัวอย่างการท�าวิดที ศั น์ แบบร่างครัง้ ที่ 4 (งานกลุม่ กลุม่ ละ 3 คน) ผล งานขนาด 1:1 บนทีต่ งั้ พัฒนาผลงานวิดที ศั น์ แบบร่างครัง้ ที่ 5 (งานกลุม่ กลุม่ ละ 3 คน) ผลงานขนาด 1:1 บนทีต่ งั้ upload ผลงานวิดที ศั น์บน youtube site ส่งแบบ ครัง้ ที่ 1 ตรวจผลงานโดยคณาจารย์ประจ�า ส่งแบบครัง้ ที่ 2 คณาจารย์และแขกรับ เชิญวิพากษ์ผลงาน

4.2. MoX 0114 barrier AR34 AR166 LA102 LA134 http://youtu.be/zj9awPxYjqc

วัสดุอปุ กรณ์ ไม่ใช้วสั ดุเกินความจ�าเป็น ทัง้ ในแง่โครงสร้างและการลวงตา ไม่จา� กัดชนิดวัสดุ ข้อแนะน�าคือใช้วสั ดุนอ้ ยชนิด ใช้สี และ หรือ สีของวัสดุ กระดาษร่าง อุปกรณ์เขียน แบบ อุปกรณ์ถา่ ยและตัดต่อวิดที ศั น์ การประเมินผล แบบร่าง 50 % แบบจริง 40 % การน�าเสนอผลงานวิดที ศั น์ 10 % เกณฑ์การ ตัดสิน ประกอบด้วย คุณภาพของทีว่ า่ งลวงตา ความเฉพาะเจาะจงของทีต่ งั้ และผล งาน วัสดุและการก่อสร้าง วิธสี ร้างสรรค์วดิ ที ศั น์บนั ทึกผลงาน

4.2. MoX 0114 barrier AR34 AR166 LA102 LA134 http://youtu.be/zj9awPxYjqc

62

63

4.3. MoX 0104 Let me in AR120 IA104 IA120 https://www.youtube.com/watch?v=pzlF4x7VOoY ส�าหรับงานชิน้ อืน่ กรุณาดูตามนี้ MoX dot line place IA102 LA118 AR150 https://www.youtube.com/watch?v=V6sDm9WP4E0 MoX 0313 dynamics AR127 IA111 UA126 https://www.youtube.com/watch?v=Apk0JhbE7YU&fe ature=youtu.be

4.3. MoX 0104 Let me in AR120 IA104 IA120 https://www.youtube.com/watch?v=pzlF4x7VOoY

64

65

05

ENCLOSED SPACE PLAY BOX ทีเ่ ล่นเด็ก

ให้งาน วันศุกร์ที่ 9 มกราคม 2558 ส่งแบบร่าง วันอังคารที่ 13 มกราคม 2558 ส่งงาน วันศุกร์ ที่ 16 มกราคม 2558

วัตถุประสงค์ ให้นสิ ติ ศึกษาค้นคว้าและออกแบบรูปทรงปิดล้อมทีต่ อบรับกับความต้องการและ พฤติกรรมมนุษย์ ขนาดส่วนมนุษย์ โดยค�านึงถึง ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับที่ ว่าง ความเชือ่ มต่อระหว่างทีว่ า่ งภายในกับทีว่ า่ งภายใน การใช้โครงสี และผิวสัมผัส งานทีต่ อ้ งการ ให้นสิ ติ ออกแบบพืน้ ทีเ่ ล่นเพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กอนุบาลชัน้ ปีที่ 3 (ความ สูงเด็ก 100-110 เซนติเมตร) จ�านวน 3 คน โดยมีพนื้ ทีไ่ ม่เกิน 9 ตารางเมตร ไม่จา� กัด รูปทรง สูงไม่เกิน 3 เมตร และมีชอ่ งเปิดสูภ่ ายนอกไม่เกิน 30% 1. รายงานการค้นคว้าเรื่องพัฒนาการของเด็ก แสดงบนกระดาษร่าง 1 แผ่น ด้วยแผนภาพและรูปภาพทีเ่ ข้าใจง่าย 2. หุน่ จ�าลอง มาตราส่วน 1:20 3. ภาพสเก็ตช์ผงั พืน้ รูปด้าน รูปตัด และรูปอืน่ ๆทีแ่ สดงกระบวนการคิดและการ ออกแบบของนิสติ 4. ผังพืน้ มาตราส่วน 1:20 5. รูปตัด มาตราส่วน 1:20 วัสดุอปุ กรณ์ 1. กระดาษชานอ้อย หรือกระดาษอัด 2. วัสดุอนื่ ๆ ทีม่ สี แี ละพืน้ ผิวตามทีน่ สิ ติ ออกแบบ 3. อุปกรณ์สา� หรับตัดและติด 4. กระดาษร้อยปอนด์ ขนาด ½ Imp จ�านวน 2-3 แผ่น 5. อุปกรณ์สา� หรับเขียนแบบ (ให้ใช้ดนิ สอเขียนแบบ 2B) 6. กระดาษร่าง การประเมินผล 1. การสร้างสรรค์ทวี่ า่ งและองค์ประกอบทีเ่ หมาะสมกับความต้องการ พฤติกรรม และขนาดสัดส่วนมนุษย์ (เด็ก) 2. ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมกับขนาดส่วนมนุษย์ ปริมาตรกับทีว่ า่ ง และที่ ว่างภายในกับภายใน 3. ความสวยงาม ความประณีตเรียบร้อย และความตัง้ ใจในการท�างาน 4. คะแนนรายงาน 10% แบบร่าง 30% งานขัน้ สมบูรณ์ 60%

66

67

06 ให้งาน วันศุกร์ที่ 16 มกราคม 2558 ส่งแบบครัง้ ทีห่ นึง่ วันอังคารที่ 27 มกราคม 2558 ส่งแบบ ร่างครัง้ ทีส่ อง วันศุกร์ที่ 30 มกราคม 2558 ส่ง แบบร่างครั้งที่สาม วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 ส่งงานวันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558

ทีต่ งั้ ตรอกข้างสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม เชือ่ มแยก บางล�าภูกบั ถนนสามเสน 6.2. แผนภาพแสดงการออกแบบรถเข็นขายก๋วยเตีย๋ วชาม ด่วน วาดโดยสมัชญ์ สกุลสุพชิ ญ์

6.1. แผนภาพแสดงการท�าก๋วยเตีย๋ วหนึง่ ชามเทียบกับ เวลาการท�า วาดโดยสมัชญ์ สกุลสุพชิ ญ์ 68

STREET VENDORS รถเข็นก๋วยเตีย๋ ว

วัตถุประสงค์ แบบฝึกหัดนี้เป็นการส�ารวจความสัมพันธ์ระหว่าง 1). ศิลปะ สถาปัตยกรรม และการออกแบบ 2). กิจกรรมการประกอบอาหารจานด่วน การจัดทีน่ งั่ พฤติกรรม การรับประทานอาหาร การเข้าถึงทีต่ งั้ และบุคลิกของถนน ให้นสิ ติ เลือกรถเข็นขาย ก๋วยเตีย๋ วข้างถนนในกรุงเทพฯ ทีน่ สิ ติ คิดว่าอร่อย ศึกษากระบวนการเตรียมอาหาร เทียบกับเวลาการปรุง ลักษณะและการจัดวางเฟอร์นเิ จอร์ เพือ่ ออกแบบร้านก๋วยเตีย๋ ว เคลือ่ นทีใ่ นสเปสรูปทรงใหม่ สร้างประสบการณ์รบั ประทานอาหารข้างถนนทีต่ า่ งไป จากเดิม ผลงานควรรับลูกค้าให้รบั ประทานอาหารพร้อมกันได้จริงอย่างน้อย 10 คน รอคิวได้อย่างน้อย 4 คน

ทีต่ งั้ ตรอกข้างสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม เชือ่ มแยกบางล�าภูกบั ถนนสามเสน งานทีต่ อ้ งการ 1. รูปตัดถนนด้านยาว แสดงรถเข็นทีน่ สิ ติ เลือกและบรรยากาศของถนนเส้นนัน้ เขียนแบบเข้ามาตราส่วนตามความเหมาะสม 2. ไดอะแกรมการประกอบอาหารเทียบกับเวลา ให้นิสิตเขียนภาพผังพื้นเน้น อุปกรณ์การเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร บนรถเข็น เฟอร์นเิ จอร์อนื่ อืน่ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ของลูกค้า ร่ม ให้นสิ ติ คิดสัญลักษณ์แสดงเวลา เขียนไดอะแกรมแสดงการเคลือ่ นที่ ของอุปกรณ์การประกอบอาหาร การรับประทาน และการเก็บล้าง เขียนแบบเข้า มาตราส่วนตามความเหมาะสม 3. วิเคราะห์ทตี่ งั้ ใหม่ การเข้าถึง 4. หาความเป็นไปได้ในการออกแบบ นิสติ ควรเลือกว่าผลงานทีน่ สิ ติ ออกแบบใช้ 69

วิธกี ารเดินทางอะไร อย่างไร เช่น รถจักรยาน รถมอเตอร์ไซด์ เรือ บอลลูน นิสติ ให้ ลูกค้ารับประทานก๋วยเตีย๋ วอย่างไร เช่น นัง่ ต�า่ นัง่ สูง ยืน คนท�าอาหารอยูต่ รงไหน 5. ผังผืน้ รูปตัด และรูปด้าน ของผลงานทีน่ สิ ติ ออกแบบ 6. ภาพไอโซเมตริกเสนอผลงานการออกแบบ (ดูภาพตัวอย่างประกอบ) ภาพไอโซ เมตริกนีแ้ บ่งเป็นสีส่ ว่ น ส่วนบนคือผังพืน้ ส่วนทีส่ องแสดงอุปกรณ์หลักในกระบวนการ เตรียมและประกอบอาหาร ส่วนทีส่ ามแสดง enclosure ของส่วนเตรียมอาหาร ส่วน ทีส่ แี่ สดง enclosure ของส่วนพืน้ ทีน่ งั่ รับประทานอาหาร นิสติ ไม่ตอ้ งระบุระยะใน งานแผ่นนี้ แต่ให้เขียนแบบในมาตราส่วนทีเ่ หมาะสม พร้อมวาด graphic scale

6.3. ออกแบบโดยสมัชญ์ สกุลสุพชิ ญ์

6.4.ออกแบบโดยสมัชญ์ สกุลสุพชิ ญ์

7. รูปตัดถนนทีน่ สิ ติ เลือกด้านยาว แสดงผลงานและบรรยากาศของถนนเส้นนัน้ เขียนแบบเข้ามาตราส่วนตามความเหมาะสม 8. หุน่ จ�าลอง พร้อมทีต่ งั้ เข้ามาตราส่วนทีเ่ หมาะสม การประเมินผล 1. วิธคี ดิ การวิเคราะห์ ตามวัตถุประสงค์ของโจทย์ 2. การเขียนแบบ การท�าหุน่ จ�าลอง 3. ความมีบคุ ลิกของแบบ 4. วิธจี ดั หน้ากระดาษ วิธเี สนอผลงาน

70

71

6.6. ออกแบบโดยยศวดี จุลธาดา

6.5. ออกแบบโดยกฤตชยญ์ กาญจนะเดชะ

72

73

6.7. ออกแบบโดยพิชญาภา จิตร์แจ้ง

74

6.8. ออกแบบโดยภิญญวัฒน์ รุง่ สิตา

75

07

BRAIN AND BODY EXPERIMENTAL SPACE ห้องทดลองประสิทธิภาพทางสมองและร่างกาย

ให้งาน วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 ส่งแบบ ร่างครัง้ ทีห่ นึง่ วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 ส่งแบบร่างครัง้ ทีส่ อง วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 ส่งแบบร่างครัง้ ทีส่ าม น�าเสนอทางเลือก ในการออกแบบ วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ 2558 ส่งแบบ วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558

ทีม่ า กระทรวงศึกษาธิการ โดยความร่วมมือกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ริเริม่ แผน งานน�าร่องเพือ่ ยกระดับความสามารถเชิงวิชาการทีส่ มดุลทัง้ ทางสมองและทาง ร่างกายของนิสิตนักศึกษาในประเทศ อันเป็นที่มาของโครงการ Brain & Body Experimental Space หรือ ห้องทดลองประสิทธิภาพทางสมองและร่างกายส�าหรับ พัฒนาการเรียนระดับอุดมศึกษา ในการนี้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มีโอกาสร่วม เสนอแบบร่าง Brain & Body Experimental Space เพือ่ ท�าการติดตัง้ จริงภายใน คณะฯ เป็นระยะเวลาหนึง่ ภาคการศึกษา หรือ เวลา 2 เดือน ระหว่างเดือน มกราคม 2559 – กุมภาพันธ์2559 วัตถุประสงค์ เพื่อให้นิสิตสามารถจ�าแนกแจกแจงโปรแกรมกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างสัมพันธ์ กับการวิเคราะห์ทตี่ งั้ วัสดุกอ่ สร้าง โดยค�านึงถึงลักษณะเฉพาะตัวทีม่ คี วามหมาย เงือ่ นไขส�าคัญเพือ่ ใช้ในการออกแบบมีดงั นี้ 1. เงือ่ นไขทัว่ ไป กลุม่ ทดลอง ได้แก่ นิสติ ระดับชัน้ ปีที่ 4 (ภาควิชาทีน่ สิ ติ สังกัดอยู)่ ช่วงเวลาท�าการ ทดลอง คือ ช่วงเวลาเรียนตามปกติ โดยกลุม่ ทดลองไม่ตอ้ งออกไปเรียนตามชัน้ เรียน แต่เป็นการเรียนผ่านระบบสารสนเทศ (เชือ่ มต่อด้วยกล้องวงจรปิดภายในห้องเรียน) กลุม่ ทดลอง ใช้ชวี ติ การเรียนทีค่ ณะของตนเองตามปกติ โดยสามารถออกไปรับ ประทานอาหาร เข้าห้องน�า้ ภายนอกห้องทดลองได้ กลุม่ ทดลอง จะถูกวางตารางกิจกรรมให้สมดุลระหว่าง กิจกรรมการพัฒนาสมอง และกิจกรรมการพัฒนาร่างกาย โดยให้สลับกิจกรรมทัง้ สองอย่าง เพือ่ ไม่ให้เกิดการ ท�ากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึง่ ต่อเนือ่ งเกิน 2 ชัว่ โมง กลุม่ ทดลอง จะได้รบั การตรวจสอบประเมินผลโดยนักวิจยั ทุกวันสองเวลา คือ 08.30 และ 17.30 น.

7.1. ออกแบบโดยพันธิตรา โปติบตุ ร

2. เงือ่ นไขทางสถาปัตยกรรม ต�าแหน่งทีต่ งั้ ห้องทดลอง ให้ใช้พนื้ ทีว่ า่ งส่วนกลาง พืน้ ทีซ่ อกอาคาร หรือ พืน้ ที่ ใดๆทีไ่ ม่รบกวนการเรียนการสอนของคณะ โดยห้ามใช้พื้นทีภ่ ายในห้องเรียนหรือ ห้องท�างาน ห้องทดลองมีพน้ื ทีไ่ ม่เกิน 15 ตารางเมตร เป็นรูปทรงปิดมากกว่า 50% มีลกั ษณะ 76

77

เป็นอาคารชัว่ คราว โดยฝากโครงสร้างกับส่วนต่างๆของอาคารหรือพืน้ ทีใ่ นคณะ ไม่ จ�ากัดทัง้ ความสูงภายใน และความสูงของระดับพืน้ ทีต่ งั้ ในการก่อสร้างห้องทดลอง มีการสนับสนุนวัสดุกอ่ สร้าง ได้แก่ ไม้เนือ้ แข็งขนาด 2” x 6” ไม้เนือ้ แข็งขนาด 2” x 4” ไม้เนือ้ แข็งขนาด 1.5” x 3” ไม้เนือ้ แข็งขนาด 1” x 4” ไม้เนือ้ แข็งขนาด 1/2” x 4” ความยาว 3 เมตร จ�านวนไม่จา� กัด เพือ่ ประกอบ เป็นองค์ประกอบสถาปัตยกรรมต่างๆได้ทงั้ หมด (ยกเว้น เสาตอม่อและฐานราก) ห้องทดลองประกอบด้วย (ก) ส่วนพัฒนาสมอง (ส่วนการเรียน) (ข) ส่วนพัฒนา ร่างกาย (ส่วนออกก�าลัง) และ (ค) ส่วนวัดผลทางสมองและร่างกาย โดยมีราย ละเอียดเพิม่ เติม ดังนี้ ส่วนพัฒนาสมอง (ส่วนการเรียน) รองรับการใช้งานคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล แบบพกพา การท�างานประเภทปฏิบตั กิ ารออกแบบ การวางหนังสือประกอบการ เรียน การวางของใช้สว่ นตัว ส่วนพัฒนาร่างกาย (ส่วนออกก�าลัง) รองรับการออกก�าลังกายพัฒนากล้ามเนือ้ ประเภทต่างๆมากกว่า 5 ประเภท เช่น กล้ามเนือ้ ต้นคอ กล้ามเนือ้ แผ่นหลังส่วนบน กล้ามเนื้อต้นแขนส่วนหน้า กล้ามเนื้อน่อง กล้ามเนื้อ (โดยไม่ต้องซื้ออุปกรณ์ออก ก�าลังกาย เพราะไม่มงี บประมาณด้านนี)้ ส่วนวัดผลทางสมองและร่างกาย รองรับการพูดคุยกันของผูร้ บั การทดลองและ นักวิจยั ทีเ่ ข้ามาตรวจประเมิน ด้วยเครือ่ งคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลแบบพกพา เพือ่ อ่านวิเคราะห์ค่าการเต้นของหัวใจ คลื่นสมอง และรายละเอียดส�าคัญอื่นๆ ผ่าน ปลอกแขนเก็บข้อมูล งานทีต่ อ้ งการ แบบจริง ประกอบด้วย ผังบริเวณในขนาดทีเ่ หมาะสม ผังพืน้ มาตราส่วน 1:25 รูปด้าน มาตราส่วน 1:25 (2 รูป) รูปตัด มาตราส่วน 1:25 (2 รูป) รูปถ่ายโมเดล มาตราส่วนที่เหมาะสม แสดงรูปลักษณ์ภายนอก และสามารถเปิดผนังแสดงรูป ลักษณ์ภายใน 7.2. ออกแบบโดยพันธิตรา โปติบตุ ร

การประเมินผล การวิเคราะห์เงื่อนไขที่ตั้ง และความรู้ด้านวัสดุก่อสร้าง การจ�าแนกแจกแจง โปรแกรมกิจกรรมต่างๆ ความเข้าใจลักษณะเฉพาะตัวทีม่ คี วามหมาย การโยงความ สัมพันธ์ดงั กล่าวข้างต้น เป็นผลงานสถาปัตยกรรมทีเ่ หมาะสม คะแนนแบบร่าง 50% งานขัน้ สมบูรณ์ 50%

78

79

08

BIKE AWAY KHAO KOR

สถานพักตากอากาศส�าหรับนักปัน่ จักรยาน

ให้งาน วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 แบบร่าง ครัง้ ทีห่ นึง่ วันอังคารที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 แบบ ร่างครัง้ ทีส่ อง วันศุกร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 แบบร่างครัง้ ที่ 3 วันอังคารที่ 10 มีนาคม 2558 ส่งแบบ วันศุกร์ที่ 13 มีนาคม 2558

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้นสิ ติ ได้ศกึ ษาเกีย่ วกับพฤติกรรมการนอน การพักผ่อน การอาบน�า้ การ ขับถ่าย การออกแบบห้องนอน ห้องน�า้ ส่วนแต่งตัว เฉลียง และทีจ่ อดรถจักรยาน การวิเคราะห์ทตี่ งั้ ทีม่ รี ะดับและความชันทีต่ า่ งกัน ทีต่ งั้ ต�าบล แคมป์สน อ�าเภอ เขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ พิกดั 16.7982972, 101.0374278 ทีม่ า เนื่องด้วยโครงการคืนความสุขให้ประชาชนด้วยเส้นทางจักรยานทั่วไทย โดย กระทรวงคมนาคม ร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดเพชรบูรณ์ได้ ผลักดันให้เกิดเส้นทางจักรยานขึ้นที่อ�าเภอเขาค้อ เนื่องจากเป็นมีแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติทสี่ วยงามและมีชอื่ เสียงของจังหวัด ทางเครือข่ายชมรมจักรยานเพือ่ สุขภาพแห่งจังหวัดเพชรบูรณ์ จึงมีความประสงค์ทจี่ ะสร้างสถานพักตากอากาศเพือ่ เป็นทีพ่ กั รองรับนักท่องเทีย่ วทีน่ ยิ มการปัน่ จักรยาน และชืน่ ชมธรรมชาติ

8.1. ออกแบบโดยวีรพร นุชพิทกั ษ์ 80

งานทีต่ อ้ งการ ให้นสิ ติ ออกแบบ Unit สถานพักตากอากาศส�าหรับนักท่องเทีย่ วทีม่ าปัน่ จักรยาน จ�านวน 2 คน ทีม่ ายังเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยภายใน Unit ทีพ่ กั ประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ได้แก่ ส่วนจอดรถจักรยาน ส่วนพักผ่อน ส่วนนอน ส่วนแต่งตัว ส่วนอาบ น�า้ ส่วนล้างหน้า ส่วนขับถ่าย และส่วนอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม โดยมีพนื้ ทีอ่ าคาร รวมไม่เกิน 40 ตารางเมตร (ไม่รวมพืน้ ทีถ่ นนภายใน site และทีจ่ อดรถจักรยาน) และมีรายละเอียดดังนี้ ทีจ่ อดรถจักรยาน 2 คัน มีการกันแดดกันฝน ส่วนนอน ประกอบไปด้วย เตียง นอน โต๊ะหัวเตียง โซฟา โต๊ะอ่านหนังสือ เก้าอี้ ชัน้ วางโทรทัศน์ และ ตูเ้ ย็นขนาดเล็ก ส่วนแต่งตัว ประกอบไปด้วย ตูเ้ สือ้ ผ้า โต๊ะเครือ่ งแป้ง และ ทีเ่ ก็บสัมภาระ ส่วนอาบน�า้ ส่วนล้างหน้า ส่วนขับถ่าย (ห้องน�า้ ) ประกอบไปด้วย โถปัสสาวะ โถส้วม อ่างล้างหน้า พร้อมกระจก ทีว่ างอุปกรณ์อาบน�า้ และ ส่วนอาบน�า้ (ฝักบัว และ/หรือ อ่างอาบน�า้ ) แยกส่วนเปียก ส่วนแห้งให้ชดั เจน เฉลียงภายนอกอาคาร ประกอบด้วย ทีน่ งั่ พักผ่อน ชมวิว มีการระบายอากาศ ที่ดี มีหลังคาปกคลุมพื้นที่อาคารตามความจ�าเป็น ให้นิสิตใช้ โครงสร้างไม้ และ คอนกรีตเสริมเหล็ก ท�าหุน่ จ�าลองอาคารพร้อมทีด่ นิ ขนาด 1:50 81

ให้เขียนงานทุกแผ่นลงบนกระดาษครึง่ อิม ผังบริเวณ 1:25 ผังพืน้ ทุกชัน้ 1:25 ผัง หลังคา 1:25 รูปตัด ตามยาว และตามขวาง 1:25 รูปด้านทุกด้าน 1:25

8.2. ออกแบบโดยวีรพร นุชพิทกั ษ์

การประเมินผล การวิเคราะห์โปรแกรม และทีต่ งั้ ความสัมพันธ์ระหว่างขัน้ ตอนการวิเคราะห์กอ่ น การออกแบบ กับผลงานการออกแบบ ความประณีตเรียบร้อยของงาน คะแนนแบบ ร่าง 50% งานขัน้ สมบูรณ์ 50%

82

83

8.3. ออกแบบโดยชนวรรธน์ อนันตนาถรัตน 84

85

09

MY HOME AND MY NEIGHBOUR บ้านและเพือ่ นบ้านของตน

ให้งาน วันศุกร์ที่ 13 มีนาคม 2558 ส่งแบบ วัน อังคารที่ 28 เมษายน 2558

วัตถุประสงค์ ให้นสิ ติ ศึกษาและออกแบบทีพ่ กั อาศัย โดยประยุกต์ความรูจ้ ากทีเ่ รียนมาตัง้ แต่ ภาคการศึกษาต้นและภาคการศึกษาปลาย โดยเฉพาะเรื่องการวิเคราะห์ที่ตั้ง ภูมิ อากาศ ภูมปิ ระเทศ ผูใ้ ช้ พฤติกรรม กิจกรรม ทีว่ า่ ง แนวความคิดทีส่ มั พันธ์กบั การ ออกแบบสถาปัตยกรรม การวางผัง เพือ่ สร้างสรรค์ “บ้านและเพือ่ นบ้านของตน” ข้อก�าหนด 1. ให้นสิ ติ ออกแบบบ้านของตน โดยมีการก่อสร้างครอบคลุมพืน้ ทีด่ นิ (footprint) ไม่เกิน 150 ตารางเมตร ในขนาดทีด่ นิ จ�ากัด 400 ตารางเมตร โดยพิจารณาความ สัมพันธ์ระหว่างบ้านของตนและของเพือ่ นบ้าน 2. ให้นสิ ติ เลือก หรือไม่เลือก ทีจ่ ะเป็นพันธมิตรกับเพือ่ นในกลุม่ ของตน การเลือก พันธมิตรมีผลกับการวางผังบริเวณ (figure and ground of the master plan) เพือ่ ให้เกิดทีว่ า่ งอันใช้ประโยชน์ได้รว่ มกัน (shared space) 3. ให้นสิ ติ ก�าหนดความต้องการของตน อันเกีย่ วเนือ่ งกับการออกแบบบ้านทีม่ บี คุ ลิก ความต้องการนีอ้ าจอยูน่ อกเหนือไปจากข้อพิจารณาเรือ่ งพืน้ ทีใ่ ช้สอย เช่น ออกก�าลัง กายโดยปีนหลังคาบ้านได้ มองเห็นการเปลีย่ นแปลงของแสงและเงา ลดทอนความ แตกต่างระหว่าง ประตู หน้าต่าง และช่องเปิด เป็นต้น

9.1. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล 86

ทีต่ งั้ ทีด่ นิ ด้านหลัง Ardel Gallery of Modern Art ถนนบรมราชชนนี ดูแผนที่ ประกอบ การแบ่งทีด่ นิ เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างนิสติ กับอาจารย์ประจ�ากลุม่ 87

ผูอ้ ยูอ่ าศัย เจ้าของบ้านคือตัวนิสติ เอง นิสติ ควรพิจารณาพฤติกรรมการใช้สอยพืน้ ทีว่ า่ งของ ตน ณ ปัจจุบนั และความต้องการของตนในอนาคต เพือ่ สร้างบ้านทีม่ บี คุ ลิก แขกมี สองประเภท ประเภททีห่ นึง่ คือคนทีน่ สิ ติ ต้องการให้นอนค้างด้วยได้ ประเภททีส่ อง คือคนทีน่ สิ ติ เชิญมาทีบ่ า้ นเพือ่ สังสรรค์ รับประทานอาหาร หรือท�างาน จ�านวนแขก ประเภทนีใ้ ห้พจิ ารณาไม่นอ้ ยกว่า 3 คน คนท�าความสะอาดมาทีบ่ า้ นหนังนีส้ องครัง้ ต่ออาทิตย์ ครัง้ ละสามชัว่ โมง ลักษณะทีพ่ กั อาศัย ทีพ่ กั อาศัยจะต้องมีการระบายอากาศทีด่ ี ไม่ตดิ ระบบปรับอากาศ และได้รบั แสง ธรรมชาติอย่างพอเหมาะ ถูกต้องตามเทศบัญญัติ มีบคุ ลิกและตอบสนองพฤติกรรม การใช้ชีวิตประจ�าวันของตน บ้านอาจมีหรือไม่มีรั้ว ก�าหนดอาณาเขตด้วยองค์ ประกอบสถาปัตยกรรมหรือภูมสิ ถาปัตยกรรมตามความเหมาะสม โครงสร้างอาคาร เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก และ หรือ โครงสร้างไม้ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ส่วนนอน (ของตนและแขก 1 คน) ส่วนแต่งตัว (เก็บเสือ้ ผ้า แต่งตัว แต่งหน้า ของตนและแขก 1 คน) ส่วนห้องน�้า ขับถ่าย รักษาความสะอาดร่างกาย ส่วนรับ ประทานอาหาร รองรับผูใ้ ช้งานได้ 3–4 คน ส่วนสังสรรค์ รองรับแขกจ�านวนไม่นอ้ ย กว่า 3 คน ส่วนประกอบอาหาร และเตรียมอาหาร ส่วนพักผ่อน ส่วนท�างาน ส่วนซัก ล้างและซักรีด ส่วนจอดรถจักรยาน ส่วนจอดรถยนต์ ระเบียง ห้องน�า้ แขก หรืออืน่ ๆ วิธกี ารสอน คณาจารย์มแี นวทางการสอนแตกต่างกัน อาจารย์ เทียนไท กีระนันทน์ ชีแ้ นะ นิสิตกลุ่มห้าดังนี้ “เราเริ่มต้นการออกแบบด้วยการวิเคราะห์ตัวตนของตัวเอง โดย ใช้วิธีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่างกันในกลุ่ม นิสิตทุกคนมีหน้า ที่อธิบายตัวตนของตัวเองและฟังความคิดเห็นของคนอื่น กระบวนการต่อมาคือ การแปลตัวตนนั้นๆ ออกมาเป็นภาษาค�าพูดห้าประโยค เพื่อน�าไปสู่การออกแบบ งานสามมิติ ในขัน้ ตอนนีจ้ ะใช้หนุ่ จ�าลองเป็นหลัก กระบวนการสุดท้ายคือการแปล ภาษาการออกแบบทั้งหมดที่เป็นงานสามมิติไปสู่งานสองมิติ กล่าวคือ การเขียน แบบสถาปัตยกรรม ในระหว่างกระบวนการออกแบบ นิสติ แต่ละคนจะต้องคิดกลับ ไปกลับมาเพือ่ หาหนทางแก้ปญ ั หาทีล่ งตัวทีส่ ดุ ระหว่างตัวตนกับการออกแบบบ้าน ของตัวเอง”

9.2. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล 88

อาจารย์ ภมรเทพ อมรวนิชย์กจิ และคณาจารย์ประจ�ากลุม่ เก้าถึงสิบสองแนะน�า นิสติ ดังต่อไปนี้ “การก�าหนดทีต่ งั้ ใช้ระบบจัดพืน้ ทีด่ นิ เรียงต่อเนือ่ งตามแนวยาวริม ถนน เพื่อให้มีข้อจ�ากัดทางด้านสภาพแวดล้อมไปในทิศทางเดียวกัน ลดความได้ เปรียบเสียเปรียบกัน โดยให้แต่ละพื้นที่ที่อยู่ข้างเคียงกันมีความสัมพันธ์กันในการ วางผังอาคาร โดยเน้นการจัดวางทีว่ า่ งระหว่างอาคารให้เกิดการเกือ้ กูลกัน ในเรือ่ ง 89

ของมุมมอง และการระบายอากาศทีด่ ี มีความต่อเนือ่ งของ ทีว่ า่ ง บ่อน�า้ สวน และ อืน่ ๆ ในงานภูมสิ ถาปัตย์ การออกแบบผังต้องค�านึงถึงการใช้พื้นที่ตามความต้องการของโครงการ และ ผู้ใช้อาคาร ที่มีการก�าหนดผู้อยู่อาศัยร่วม ประจ�า 1 คน พร้อมทั้งมีความถูกต้อง ตามการภูมอิ ากาศ และภูมปิ ระเทศพืน้ ถิน่ เทศบัญญัติ ระบบโครงสร้าง เป็นไปตาม การออกแบบโครงสร้างในรายวิชา วัสดุและการก่อสร้าง ของการศึกษาชัน้ ปีที่ 1 ที่ สามารถน�าไปก่อสร้างและอยูไ่ ด้จริง การออกแบบรูปลักษณะอาคาร เน้นให้นสิ ติ เรียนรูก้ ระบวนการออกแบบ โดยให้ ค�านึงถึง แนวความคิดทีช่ ดั เจน ซึง่ น�าไปสูค่ วามมีเอกลักษณ์เฉพาะบุคคล” ส�าหรับวิธกี ารสอนของกลุม่ สิบหก อาจารย์ มงคล วิชวิ านิเวศน์ กล่าวว่า “ครัง้ แรกที่ได้รับแนวความคิดเรื่องโจทย์นี้ ท�าให้เกิดความสนใจว่านิสิตชั้นปีที่หนึ่งที่พึ่ง ได้เรียนรู้การออกแบบมาไม่มากจะสามารถเข้าใจ และสร้างความสมดุลย์ระหว่าง การออกแบบบ้านทีต่ อ้ งแสดงความเป็นตัวตน กับ บ้านทีส่ มั พันธ์ หรือไม่สมั พันธ์ กับ เพือ่ นบ้านได้อย่างไร นับเป็นโจทย์ทที่ า้ ทาย ในกระบวนการพัฒนาแบบของนิสติ ในกลุม่ เน้นให้ทางนิสติ ทัง้ หมดในกลุม่ เป็น ผูก้ า� หนดการวางระบบ และระดับความสัมพันธ์ของกันและกันเอง ซึง่ สิง่ ทีส่ ร้างความ แปลกใจในการตรวจแบบร่างครัง้ แรก คือ นิสติ ในกลุม่ ตกลงกันว่าจะแบ่งพืน้ ทีต่ นเอง ด้านหลังเป็นระยะ 3 เมตร เพือ่ สร้าง ทีว่ า่ ง ทีเ่ ป็นน�า้ ของหมุบ่ า้ นขึน้ มาเพือ่ ให้เกิด หน้าบ้านทีส่ องทีจ่ ะท�าให้เกิดการแบ่งบันทีว่ า่ งของกันและกันได้มากขึน้ ซึง่ เป็นทีน่ า่ สนใจเป็นอย่างมากในประเด็นทีว่ า่ นิสติ ชัน้ ปีทหี่ นึง่ สามารถผนวกแนวคิดเรือ่ งการวาง ผังโครงการเข้ามาด้วยในการออกแบบโปรเจคนี้ ทัง้ ทีย่ งั ไม่เคยมีการฝึกออกแบบผัง แม่บทมาก่อนเลย ส่วนการพัฒนาแบบครัง้ ต่อๆมานิสติ ก็สามารถพัฒนาเรือ่ งระบบ ทีว่ า่ งและความสัมพันธ์ของทีว่ า่ งระหว่างกันได้ดขี นึ้ เรือ่ ยๆ ส�าหรับการพัฒนาแบบบ้านของนิสติ ในกลุม่ นิสติ กลับมีความระมัดระวังอย่าง สูงในการพัฒนารูปแบบ ของ My Home ท�าให้งานทีอ่ อกมายังไม่สามารถสะท้อน ความเป็นตัวตนของแต่ละคนได้ดพี อ เหตุผลอาจมาจากความกังวลเรือ่ งโครงสร้าง และเพือ่ นบ้าน ท�าให้งาน My Home ของนิสติ บางคนยังไม่ชดั เจนนัก เวลาการท�างาน ของโปรเจคนัน้ มีคอ่ นข้างจ�ากัด ส่วนตัวรู้สึกประทับใจในภาพรวมของโจทย์ครั้งนี้ เนื้อหาของโจทย์ท�าให้นิสิต พัฒนากระบวนการคิด และการออกแบบเพื่อค้นหาค�าตอบ ที่ต้องสร้างสมดุลย์ ระหว่างสองสิ่ง รวมถึงจากการพัฒนาแบบร่วมกับนิสิตในกลุ่มท�าให้เห็นประโยชน์ ที่ชัดเจนอย่างนึงว่า นิสิตสามารถที่จะเรียนรู้การออกแบบที่คา� นึง ถึงที่ว่างภายใน งานของตนเอง ไปพร้อมกับทีว่ า่ งภายนอก ทีจ่ ะสัมพันธ์ตอ่ เนือ่ งไปกับทีว่ า่ งภายใน ของอีกงานนึงด้วย ซึง่ วิธกี ารทีน่ สิ ติ จะได้เรียนรูแ้ บบนีอ้ าจจะต้องใช้ ความกล้าหาญ และท้าทายในการออกแบบโจทย์ฝกึ หัดลักษณะแบบนีต้ อ่ ไปอีกในอนาคต”

9.3. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล 90

อาจารย์ จรินพร เลาจริยกุล แนะน�านิสติ กลุม่ สิบสามดังนี้ “จากการเรียนการ สอนทีผ่ า่ นมา จะสังเกตได้วา่ นิสติ มีการวางแผนการออกแบบของงานตัวเอง เพือ่ น 91

บ้าน และชุมชน และค�านึงถึงผลกระทบกับส่วนรวมกันมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ ยังสามารถใช้แนวคิดของภาพรวมพัฒนาเข้าสู่งานของตัวเองได้อย่างน่าสนใจ มี แนวทางที่ชัดเจน ท้ายสุดยังสามารถพัฒนาแนวคิดที่ออกมาเป็นรูปธรรมผ่านทาง รายละเอียดทางสถาปัตยกรรมทีห่ ลากหลายแต่ยงั คงมีความเชือ่ มโยงถึงกัน” อาจารย์ บูรพา พรมมูล แนะน�านิสติ กลุม่ สิบสี่ มีความเห็นต่อการเรียนการสอน ดังต่อไปนี้ “หลังจากได้ออกแบบอาคารขนาดเล็กกึง่ สาธารณะในโปรเจคก่อนหน้านี้ โจทย์สดุ ท้ายของนิสติ ปี 1 ได้เปิดโอกาสให้ยอ้ นกลับมามองตัวเอง บ้านตัวเอง และ เพือ่ นบ้านทีอ่ ยูต่ ดิ กัน เรือ่ งของตัวเองเหมือนจะเป็นเรือ่ งง่าย แต่กไ็ ม่งา่ ยอย่างทีน่ สิ ติ และอาจารย์หลายคนคิด การสังเกตตัวเอง เข้าใจ เรือ่ งราวทีอ่ ยูร่ ายรอบตัว สิง่ ทีต่ วั เองชอบและไม่ชอบ บางเรื่องอาจจะเป็นสิ่งที่ตัวเองไม่เคยคิดมาก่อน ไม่เคยสนใจ ทีจ่ ะคิด กลัว หรือ คิดว่าเป็นเรือ่ งส่วนตัวทีจ่ ะน�ามาพูดถึง ก็ได้ถกู ไตร่ตรองและน�า มาแบ่งปันกับเพือ่ นในกลุม่ ระหว่างตรวจแบบ ซึง่ ก็เรียกเสียงฮา และรูจ้ กั เพือ่ นๆใน มุมทีไ่ ม่เคยรูม้ าก่อน ที่กลุ่มได้ย�้าเน้นในเรื่องขั้นตอนของการสังเกต การตั้งค�าถามในการออกแบบ การหาทางเลือกในการออกแบบ การตอบค�าถามให้กบั โจทย์ทตี่ วั เองสร้างขึน้ มา และ ท�าให้นสิ ติ เข้าใจว่า คิดเปลีย่ น ผลลัพธ์เปลีย่ น ตัง้ โจทย์ได้นา่ สนใจ ก็จะพาไปสูพ่ นื้ ที่ ใหม่ๆ ในการค้นหาค�าตอบ สิง่ ทีเ่ หนือความคาดหมายคือนิสติ หลายคนแสดงทักษะ ในการร้อยเรียงล�าดับความคิดได้เป็นระบบ ผลงานทีน่ สิ ติ น�าเสนอนัน้ มีความหลาก หลายทัง้ มิตขิ องโจทย์ การตีความ และเทคนิคในการออกแบบทีไ่ ด้เรียนมาตลอดปี โดยทีป่ ระสบการณ์ของผูอ้ ยูอ่ าศัย การใช้งานและ โครงสร้างนัน้ ต้องสอดคล้องและ ตอบโจทย์ที่ตัวเองตั้งขึ้น สิ่งสุดท้ายที่ขาดไม่ได้คือคือทักษะการสื่อสารทั้งในช่วง พัฒนาแบบกับอาจารย์และเล่มรายงานชิน้ สุดท้าย ทีน่ สิ ติ ต้องสามารถถ่ายทอดความ คิดอันยอดเยีย่ มไปให้ผอู้ นื่ เข้าใจได้งา่ ย กระชับ และเน้นย�า้ ว่าความคิดทีน่ า� เสนอนัน้ พิเศษอย่างไรส�าหรับบ้านหลังนี้ ประทับใจมาก”

9.4. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล 92

93

9.5. ผลงานนิสติ กลุม่ สาม ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล

94

95

9.6. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล

9.7. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล

96

97

9.8. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล

9.9. ถ่ายถาพโดยเอือ้ อังกูร หุน้ โกศล

98

99

9.10. ผลงานกลุม่ สาม

100

101

9.11. การพัฒนาแบบร่างของกลุม่ สาม

9.12. การพัฒนาแบบร่างของกลุม่ สาม

102

103

9.13. การพัฒนาแบบร่างของกลุม่ สาม

9.14. การพัฒนาแบบร่างของกลุม่ สาม

104

105

9.15. ภาพไอโซเมตริก มาตราส่วน 1:125 เขียนและออกแบบโดยเมธาวี อือ้ อารียก์ ลุ

9.16. ภาพไอโซเมตริก มาตราส่วน 1:100 เขียนและออกแบบโดยนนทชัย ไกรคง 106

107

9.18. ภาพไอโซเมตริก มาตราส่วน 1:100 เขียนและออกแบบโดยยศวดี โพทิพยวงศ์

9.17. เขียนและออกแบบโดยยศวดี โพทิพยวงศ์

9.19. เขียนและออกแบบโดยยศวดี โพทิพยวงศ์ 108

109

9.20. ออกแบบโดยภัทรานิษฐ์ เวียงค�ามา 110

111

9.22. ออกแบบโดยภัทรานิษฐ์ เวียงค�ามา

9.21. ออกแบบโดยภัทรานิษฐ์ เวียงค�ามา 112

113

9.23. บ้านเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ การจัดวางอาคารหันเข้า ทิศตะวันตกและตะวันออกเพือ่ บังคับในตนใช้เวลาในห้อง ท�างานมากกว่าห้องเล่นเกมส์ ณ เวลากลางวัน ออกแบบ โดยธงไชย อุย้ อืสริยไพศาล

9.24. บ้านเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ ออกแบบโดยธงไชย อุย้ อืสริยไพศาล

114

115

9.25. บ้านต่างระดับ ออกแบบโดยนภดล ตัง้ จิตปิยะนนท์

116

117

9.26. บ้านปรับเลือ่ นได้ ส�าหรับคนขีเ้ บือ่ เน้นวิธคี ดิ เรือ่ ง ระบบรางเลือ่ น ทัง้ ระนาบแนวนอนและแนวตัง้ การเปลีย่ น กายภาพของห้องและทางเดินเพือ่ รับแขก เสริมกิจกรรมดู ภาพยนตร์ภายในคอร์ทยาร์ดของบ้าน ออกแบบโดยธชพร ไชยรินทร์

118

119

9.27. บ้านปรับเลือ่ นได้ ส�าหรับคนขีเ้ บือ่ เน้นวิธคี ดิ เรือ่ ง ระบบรางเลือ่ น ทัง้ ระนาบแนวนอนและแนวตัง้ การเปลีย่ น กายภาพของห้องและทางเดินเพือ่ รับแขก เสริมกิจกรรมดู ภาพยนตร์ภายในคอร์ทยาร์ดของบ้าน ออกแบบโดยธชพร ไชยรินทร์

9.28. บ้านปรับเลือ่ นได้ ส�าหรับคนขีเ้ บือ่ ออกแบบโดยธชพร ไชยรินทร์

120

121

Studio One 2015_Web.pdf

Page 1. Whoops! There was a problem loading more pages. Retrying... Studio One 2015_Web.pdf. Studio One 2015_Web.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In.

6MB Sizes 4 Downloads 186 Views

Recommend Documents

MON TUE WED THU Studio 1 Studio 2 Studio 1 Studio 2 Studio 1 ...
Mambo Elite. Fede & Paola. CHOREOGRAPHY. 4.00pm. Juan Direction. Juan. 5.00pm. B-Souls. Ali & Kelsi. SQUAD. 6.00pm. Bachata Unit. Juan & Yiseul.

presonus studio one professional v2.0.5.pdf
presonus studio one professional v2.0.5.pdf. presonus studio one professional v2.0.5.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu.

presonus studio one professional v2.0.5.pdf
Page 1. Whoops! There was a problem loading more pages. Retrying... presonus studio one professional v2.0.5.pdf. presonus studio one professional v2.0.5.pdf.

5750F7 - 5750F7R - Henri Studio
that is leveled and provides pleasing viewing angles. Note: Always follow ... By following these simple and sensible precautions during the winter season, you will protect your fountain for years of beauty and enjoyment! CAUTION: The use ... Locate a

Studio Catinca Tilea_PRESSKIT_1minuteLamp_ENG.pdf ...
photo: © Studio Catinca Tilea. #1minuteLamp: spontaneous participatory composition. Detail. photo: © Rick Rossenham. #1minuteLamp: detail of the weight-sensitive surface. photo: © Studio Catinca Tilea. ©. copyright Studio Catinca Tilea | 2017. Pa

5750F7 - 5750F7R - Henri Studio
For best results, locate a suitable site for your fountain that is leveled and provides pleasing viewing angles. Note: Always follow local electrical codes and use a ...

Movie Studio - StoryGuide
I often mix HDV, Flip footage and movies from an iPhone in the same project. In that sort .... Cut Pro calls it “razor” and Sony Vegas calls it “Split”. .... To put it another way, you move keyframes up and down for volume, and left or right

GoPro Studio Manual.pdf
GoPro Studio Manual.pdf. GoPro Studio Manual.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu. Displaying GoPro Studio Manual.pdf. Page 1 of 113.

arcollab design studio -
Email : [email protected] [email protected] ; Ph ... As per the recent surveys, India may be classified as a drought ... efficient service.

Google Data Studio services
back and forth. With Data Studio, you and your marketing teams can better access your data, analyze and discover unique insights, and use them to make.

Studio 1031 flyer.pdf
Using apps and studio equipment like Final Cut Pro (what the pros use to produce films),. TriCaster, iMovie, and Pages on Macbook Pros or iMacs to produce ...

coke studio nelly.pdf
Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. coke studio nelly.pdf. coke studio nelly.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In.

Studio C Valentines.pdf
Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Studio C Valentines.pdf. Studio C Valentines.pdf. Open. Extract.

visual studio essential.pdf
Essential visual studio tips tricks that every developer should. Delivering reliable and trustworthy metro style apps building. Free developer offers visual studio ...

Descargar qizx studio
Descargar qizx studio - .34388647679512.como descargar blackberry app world desde ... Government banned the march these we'rethe ... seeclearly now- screechingweasel.descargar whatsapp para dsi xl.la bibliailustrada para niños pdf.

rca-studio-ii.pdf
Page 1 of 12. Page 1 of 12. Page 2 of 12. Page 2 of 12. Page 3 of 12. Page 3 of 12. Page 4 of 12. Page 4 of 12. rca-studio-ii.pdf. rca-studio-ii.pdf. Open. Extract.

Studio Border Conditions
Occupying Marginal Areas. Joana Torres. Istanbul Group 2003-2004. Studio. Border ... Studio Border Contidions ..... (Amersfoort: Twynstra Gudde Management.

rca-studio-ii.pdf
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. rca-studio-ii.pdf.

arcollab design studio -
Moreover, builders are just superficially constructing rainwater harvesting ... GROUND WATER STORAGE – for terrace areas >6000 Sft & site areas more than 3 ...

GoPro Studio Manual.pdf
Additional WHITE BALANCE Controls ................................................................................................................................................................ 95. Additional IMAGE ..... GoPro Studio Manual.pdf. GoP

Google Data Studio Services
When it comes to sharing insights with your clients, you need marketing data that effortlessly tells the story of your success, while also highlighting areas in which.