SCAN & READ IT

Hearing Different ปฤษณ กัญจา

ON MOBILE PHONE

SUGDEN A21SESIGNATURE

เรียกผมว่า “คลาสสิก” “แค่เสียงโน้ตแรกก็เพราะแล้ว” ผมนึกในใจ ตอนนั้นผมฟังแผ่นซีดีอัลบั้ม “ITALIA” ของนักทรัมเป็ตหนุ่ม Chris Botti เสียงโน้ตที่ว่าเป็นเสียงของอะคูสติกกีตาร์ที่มีความกังวาน มีเนื้อของเสียงที่ไม่ได้เข้มข้น หรือว่า บางเป็นเส้น มันมีความลงตัวที่ผสมกันให้เกิดเป็นเสียงที่ไพเราะ ผมไม่อยากสื่อสารโดยบอกว่า เสียงเป็น ธรรมชาติ แต่อยากใช้ค�าว่า “เสียงที่ไพเราะ” แทน ... พอเสียงกีตาร์จางลง เสียงทรัมเป็ตของ Chris Botti ก็ค่อยๆ ดังขึ้น และก็เช่นเดียวกันครับ เป็นเสียงทรัมเป็ตที่ไพเราะ น�าเราเข้าสู่ท่อนต่อมาของเพลงที่เป็น เสียงร้องของ Andrea Bocelli มีความนุ่มนวล มีเร้นจ์เสียงกว้าง มีความแข็งแรงของเสียงที่จับได้ตั้งแต่ จุดเริ่มต้นในระดับการร้องปกติ และค่อยๆ เพิ่มไดนามิกไปจนสุดเสียง โดยที่ไม่มีวี่แววของพลังที่ลดน้อยลง หรืออาการแกว่งของเสียงเมื่อต้องแตะโน้ตสูงๆ เลย และนี่เป็นครั้งแรกที่รู้สึกว่า “ผมรักอัลบั้มนี้”

AUDIOPHILE

78

VIDEOPHILE

SUGDEN A21SE SIGNATURE ก‹อนจะเปšนตํานาน

ผมเคยคิดอยางคอนขางจริงจัง (555) วา... ถาจะซื้อเครื่องเสียง มาฟงเพลง โดยตองการใชนานๆ ไมขายออกไป ถึงแมเปลี่ยนเครื่องใหม แลวก็ตาม หรือถามีกําลังทรัพยเพียงพอก็จะซื้อมาเก็บสะสมอะไรทํานองนั้น เครื่องที่วาควรมีคุณสมบัติอยางไร? ผมคิดอยูนาน เหมือนคนบา แตจนแลว จนรอดก็ยังไมไดคําตอบใหกับตัวเอง วันหนึ่ง ขณะทํางาน และฟงเพลงจากลําโพงฟูลเรนจโมโน ตัวเขื่องที่ตั้งอยูหนาโตะ ก็เห็นกลอง Rolleiflex Twin Lens ที่วางอยูบน หลังลําโพง พลันก็เกิดความคิดวูบขึ้นมาวา... ใชแลว! เครื่องเสียงที่จะ ซื้อเก็บไวอยูกับผมนานๆ ตองเปนเครื่องที่มีคุณสมบัติเขาขายคลาสสิก อยางเชน ลําโพง Quad ESL57, ลําโพง Rogers LS3/5a อะไรทํานองนี้ หรือถาเปนอินทิเกรตแอมปก็ควรเปนที่ยอมรับอยาง NAD 3020 หรือ Naim Nait ประมาณนั้น ... โอเคครับ! ไดคอนเซ็ปตละ ยอนหลังไปประมาณสี่ปที่แลว ผมไดไปยกอินทิเกรตแอมป Sugden A21a จากรานมิสเตอรบาลานซมาฟงเพลงอยูพักหนึ่ง ตอนนั้นรูวา มันเจง แตมีภาระ ก็ไดแตปลอยไปดวยใจละหอย ถัดมาอีกประมาณปหรือสองป คุณโจ Sound Box ถามผมวา... พี่ ถาผมจะนําเขาเครื่องเสียงยี่หอ Sugden มาทําตลาด พี่วายังไง? ผมจะไป วายังไงละครับ นอกจากบอกวา... รีบๆ สั่งมา 555 ยอนไปอีกเกือบยี่สิบป ผมรูจักเครื่องเสียงยี่หอ Sugden เปนครั้งแรก ในงานเครื่องเสียงที่โรงแรมแอมบาสซาเดอร ตึกใหม ตอนนั้น เฮียเส็ง บริษัท KS World บอกราคา โอโห! สูงจัง แตถานํามาเทียบกับ ราคาของใหมที่ขายใน พ.ศ. นี้ ถือวาไมไดขึ้นมามากมายนัก Sugden ผมขอออกเสียงวา “ซุดเยน” เปนเครื่องเสียงจาก อังกฤษ ที่ผมคิดสะระตะแลววา นาจะเขาขายคลาสสิกได โดยเฉพาะ อินทิเกรตแอมปรุน A21 ที่เริ่มผลิตจําหนายมาตั้งแตป 1967 และพัฒนา มาเรื่อยๆ โดยปจจุบันก็ยังคงผลิตจําหนาย และใชชื่อรุนเดิมคือ A21 แต เพิ่มตัวอักษรตอทายมาเรื่อยๆ ตามการพัฒนา กระทั่งเปนรุนลาสุด A21ai Series 2 และมีเวอรชั่นที่ดีกวาคือ A21SE Signature ทําไม? ผมถึงคิดวา Sugden A21 เขาขายองคประกอบของ การเปนเครื่องในระดับคลาสสิก!!!

ประการแรก... อายุอานาม ผลิตครั้งแรกป 1967 ปจจุบัน ป 2016 นับเวลารวม 49 ป เกือบครึ่งศตวรรษ ผมวาสินคาประเภท อิเล็กทรอนิกส ถาไมแนจริง ตกรุนไปนานแลวครับ เพราะฉะนั้น ถาสามารถ ยืนระยะมาไดนานขนาดนี้ก็สมควรชมเชยครับ ประการที่สอง... คุณภาพของตัว A21 เอง ... ถาอานจากประวัติ ของ Sugden อาจกลาวไดวา A21 เปนอินทิเกรตแอมป Class A รุนแรก ที่ผลิตออกจําหนายเชิงพาณิชยในตลาดเครื่องเสียง รวมถึงการออกแบบที่ James Sugden ทําไวอยางดีมาแตตน แมตอนหลังบริษัทจะเปลี่ยนมือเปน เจาของคนใหม หากยังยึดวงจรเดิมหลักๆ ไว โดยที่มีการพัฒนาภาคจายไฟ เลือกใชอุปกรณที่ดีขึ้น และมีกําลังขับที่เพิ่มขึ้นเล็กนอย โดยหลักๆ ยังคง คุณภาพเสียงแนวเดิมในลักษณะสืบพันธุกรรมตอยอดกันมา จุดที่ดูเหมือน ตางจากรุนเดิมในประเด็นคุณภาพเสียงเห็นจะเปนเรื่องของการถายทอด เสียงยานความถี่ตํ่าที่กระชับขึ้น จากรุนเดิมที่เสียงกลางหวานเดนขึ้นมาเลย แตความถี่ตํ่าจะซอฟตๆ ไมกระชับเทาไหร สําหรับผม จากคุณสมบัติ 2 ขอนี้ ก็เพียงจะจัดให Sugden A21 อยูในทําเนียบ “คลาสสิก” ครับ...

A21SE Signature Version

เอาละครับ ตอไปนี้เราจะมาโฟกัสกันที่ Sugden A21SE Signature ซึ่งผมไดใชเวลาฟงตั้งแตแกะกลองใหมๆ และเบิรนอินกันนาน เปนเดือน ถือวาอยูกินกันจนรูใจครับ อยางไรก็ตามการที่ผมรูจัก A21SE Sig. ดีนั้น สวนหนึ่งตองยกความดีใหกับลําโพง System Audio รุน Explorer Master ครับ ลําโพงคูนี้เหมือนเปนครูใหผมไดรูจักกับบางเรื่อง ที่กอนหนานั้นเคยสงสัย แตมาบัดนี้ความสงสัยไดหายไป และมีความ กระจางมาแทนที่ครับ สําหรับรูปรางหนาตาของ A21SE Sig. ถือวาหลอเลยครับ เครื่องที่ไดมาฟงเปนสีไทเทเนี่ยม การผลิตดีมาก วัสดุที่ใชอยูในเกณฑดี บอดี้หนักอึ้ง ขั้วตอสายลําโพงคุณภาพสูง ไมมีภาคขยายสัญญาณโฟโน การใชงานโดยทั่วไปไมพบปญหาอะไร ยกเวนความรอนที่ตัวเครื่อง เพราะวงจรเปนคลาสเอ ซึ่งเปนเรื่องปกติ ผมเปดวันละ 6 – 8 ชั่วโมงติดตอ กันก็ไมมีปญหาครับ เว็บไซตบอกวา A21SE Sig. มีดีกวา A21a ธรรมดา ในเรื่องของ ภาค power supply ที่ใหญกวาเดิม 50% ไดกําลังขับเพิ่มขึ้นเปน 30 วัตต ตอแชนเนล ภาคปรีแอมปก็พัฒนาดีขึ้น การเพิ่มคุณภาพในสองสวนหลักๆ สงผลใหประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องดีขึ้นกวาเดิม ขณะที่ยังคง AUDIOPHILE

79

VIDEOPHILE

Hearing Different

รักษาเอกลักษณของนํ้าเสียงของ Sugden ไว กอนหนานี้ ผมมีโอกาสฟงทั้ง A21a เวอรชั่นเดิมๆ และ A21a Series 2 กับ A21SE บอกไดเลยวา ผมชอบ A21SE Sig. มากที่สุด เพราะ ไดเสียงกลางที่ฉํ่าๆ ใกลเคียง A21a เวอรชั่นเดิม แตการควบคุมความถี่ตํ่า ทําไดดีกวา ในความเห็นสวนตัว ผมวา A21SE Sig. ลงตัวที่สุดครับ ผมขอกลาวถึงตัวเครื่องและเรื่องทางเทคนิคไวเล็กนอยแคนี้ นะครับ เพราะตื่นเตนอยากจะเลาเรื่องคุณภาพเสียงใหฟงเปนที่สุดครับ

คุณภาพเสียง ผมมีแผนซีดี The Four Seasons ที่ชอบๆ อยู 4 – 5 แผน ปกติกช็ อบฟงทุกแผนครับ เพราะพอเปน The Four Seasons ก็ชอบหมด เคยคิดอยางนัน้ ๆ จริง แตวา พอเอามาฟงกับ Sugden A21SE Sig. กับลําโพง System Audio Explorer Master ไอทเี่ คยคิดไววา ชอบหมด ก็เริม่ เปลีย่ นใจ เพราะซิสเต็มนี้แยกใหเห็นไดชัดถึงแนวการบรรเลงของแตละวง คือเมื่อกอน ก็ไดยินทานอาจารยทางดนตรีคลาสสิกบอกเรามาวา บทประพันธแตละบท ประพันธนั้น เวลาที่นําไปบรรเลงโดยวงดนตรีคลาสสิกแตละแหง วิธีการ ตีความของแตละวงไมเหมือนกัน ดนตรีที่ไดยินแมโดยรวมฟงแลวคลายกัน แตไมเหมือนกัน ซึ่งความขอนี้มากระจางชัดเจนก็ตอนนี้ครับ แผนซีดี The Four Seasons ที่มีอยู บรรเลงไมเหมือนกันสักแผน ที่สําคัญ พอถึงวันนี้กลับพบวามีบางแผนที่ผม ไมชอบ เมื่อเลนกับซิสเต็มนี้ ไมชอบ หมายถึงการบรรเลงนะครับ ฟงกัน หลายเที่ยว ทายที่สุดก็เลือกไดวา ชอบแผนไหนมากที่สุด นั่นคือ... Gala Stradivaius Concert Recorded Highlights อัลบั้มนี้ ก็ฟงมาไมรูกี่เที่ยวแตกี่เที่ยว แต ก็ไมรูสึกวามีอะไรพิเศษ ยังเคยสงสัยวา ไวโอลินที่ เอามาบรรเลงก็ชื่อชั้นระดับโลก แตไมเห็นจะแตกตางกับทั่วๆ ไปเลย ทวา มาคราวนี้ฟงออกครับ สิ่งที่ไดยินมันถูกรายงานออกมาเปนชั้นๆๆๆๆ ตั้งแต AUDIOPHILE

80

VIDEOPHILE

เสียงหลัก เสียงรอง ความกังวาน สไตลเสียง วิธีการเลนของนักไวโอลิน การผสมผสานระหวางคนโซโลกับวงแบ็กอัพ เวลาที่คันสีไวโอลินถูกกดเนนๆ เสียงก็ออกมาใหไดยินถึงลักษณะการกดของคันสี พอไดยินรายละเอียด เล็กๆ นอยๆ แบบนี้ ทําใหรูวาอารมณของดนตรีขณะนั้นเปนอยางไร Summer ของแผนนี้ กับ Summer ของอีกแผนก็ไมเหมือนกัน Spring, Autumn, Winter ก็ไมเหมือนกัน พอไดยินแบบนี้มันทําใหเราอยากลง ลึกคนตอวา การตีความของแตละวงนั้นเปนอยางไร ฟงเฉพาะ The Four Seasons ก็สุขใจแลวครับ ตอไปเปนเชลโล ผม วาเชลโลเปนเครื่องดนตรีที่ ฟงจากชุดเครื่องเสียงแลว ไพเราะคอนขางยาก ถาไมใช ชุดไฮเอ็นดดีๆ หรือชุด ลําโพงฮอรน แตจะดวยอะไร ก็แลวแต กับซิสเต็มนี้ทําเอา ผมแฮปปมากๆ เพราะให เสียงเชลโลที่ไพเราะ มีความ ลึกของโนต มีความกังวาน และมีบอดี้ที่ไมแบน ผมไมไดบอกวามันเปนเสียงที่เหมือนจริง แตผมบอก วามันใหเสียงที่ไพเราะ ฟงอัลบั้ม Beethoven Cello Sonata บรรเลง โดย Mischa Maisky (เชลโล) และ Martha Argerich (เปยโน) ตั้งแตตน จนจบ โดยที่ไมปดกลางครันเหมือนที่ผานมาๆ เสนหอยางหนึ่งของซิสเต็มนี้ นอกจากการถายทอดรายละเอียดที่เก็บไดไมตกหลนแลว ความที่สัญญาณ รบกวนตํ่าก็เปนอีกเหตุผลหนึ่งที่ทําใหไดยินรายละเอียดมากมายอยางที่ได กลาวไป และผลตอเนื่องที่ไดจากสัญญาณรบกวนตํ่าอีกอยางก็คือ ความเปด โปรงโลงไปทั่วเวทีเสียง คืออาณาบริเวณที่เกิดเปนเสียงนั้นไมไดถูกจํากัดให อยูในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แตมันแปรเปลี่ยนไปตามสิ่งที่บันทึกมา ดังนั้นไมวาตําแหนงของเครื่องดนตรี หรือคนรองอยูตรงไหน เสียงก็จะ ปรากฏขึ้นตามที่ไดยิน บางแผนก็โนนอยูหลังไปไกลๆ บางแผนก็คอนมาทาง ดานหนาๆ ซึ่งจริงๆ ก็เปนเรื่องปกติที่เครื่องเสียงชั้นดีจะสามารถถายทอด ออกมาใหไดยิน แตวาครั้งนี้พิเศษกวาตรงที่ทุกเสียงมีความเปนอิสระ ผอนคลาย ไมมีลักษณะของการบีบเคน หรือเนนออกมาแตอยางใด เปยโน... ผมนึกภาพไมออก เวลาที่พี่ๆ ทดสอบชุดเครื่องเสียง ไฮเอ็นด แลวบรรยายวาไดยินเสียงโนนเสียงนี้ แตคราวนี้ผมเขาใจละ แม ซิสเต็มที่ทดสอบอาจไม ไฮเอ็นดมาก แตก็มี คุณสมบัติที่ทําใหไดยิน เสียงเหมือนที่เคยอานพบ จากบทความเครื่องเสียง ไฮเอ็นด อัลบั้ม Matter of Love: Michael Allen Harrison and Friends เสียงเปยโน Bosendorfer:

SUGDEN A21SE SIGNATURE Imperial ผมไมเคยไดยินของจริง มันเปน ยังไง ก็เลยเปดฟงตามยูทูบ และเขาไปฟง เสียงจากซอฟตแวรที่แซมปลิ้งมาจาก เปยโน Bosendorfer ของจริง ก็พอเขาใจ วาเสียงมันอุนๆ แผกวาง มีพลัง ทีนี้ก็เปด แผนนี้ฟงกับซิสเต็มนี้ โปะ! ครับ ไมใชก็ ใกลเคียง เสียงเปยโนอุนๆ แผกวาง มีพลัง ถึงสเกลไมใหญเทาของจริง แตการจําลองเสียงออกมาใหไดยิน ผมวา นาพอใจมากทีเดียว Bosendorfer ยังเปน Bosendorfer หรือแมแตอัลบั้มอื่นที่ใช เปยโน Shigeru Kawai ก็ใหคุณลักษณะ ของเสียงเปนเสียงของเปยโนนั้นๆ แมแต อัลบั้มของปู Vladimir Horowitz ที่ใช เปยโน Steinway ซิสเต็มนี้ก็ถายทอด คุณสมบัติที่เปนเสียงของ Steinway ออก มาได ทั้งหมดนี้... ผมตองการสื่อวา เสียง เปยโนที่ไดยินมีความแตกตางกัน ไมใช เปนเสียงเดียว เหมือนๆ กันทั้งหมด สําหรับเสียงรองก็เชนเดียวกัน ครับ ซิสเต็มสามารถแยกแยะความตาง ของเสียงออกมาใหไดยินเชนเดียวกับเสียง เครื่องดนตรีอื่นๆ ฟงเพลงรองกับซิสเต็มนี้แลว ผมคิดวาแคนี้ก็เพียงพอครับ มีงบฯ นอย แคนี้ก็สุขใจแลว

พัฒนาการยุคต‹างๆ ของ SUGDEN A21

สรุป ถาสังเกตดีๆ ในภาคของคุณภาพเสียง ผมไมไดเขียนวา... เสียง ของ Sugden A21SE Sig. แตผมเขียนวา... เสียงของซิสเต็ม ทั้งนี้เพราะ เวลาฟง เราฟงเสียงที่ออกมาจากการทํางานของทั้งซิสเต็ม ซึ่งรวมถึง เครื่องเลนซีดี สายสัญญาณ สายลําโพง สายไฟ และอื่นๆ แตทีนี้ถาวิเคราะห และถอดใจความหลักๆ ที่เปนคุณลักษณะเสียงของ A21SE Sig. ก็พอจะ ประมวลไดดังนี้ คือ... ความไพเราะที่มีรายละเอียด โดยที่มีความกลมกลืน ของเสียงทั้งสามยาน เสียงกลางสะอาดมีเนื้อ ไมมืดทึบ ออกไปทาง โปรงสวาง เหมือนคนผิวพรรณมีออรา เสียงความถี่สูงฟงสบายไมกัดหู มีเนื้อเสียง ฟงไดจากเสียงไวโอลินที่ไมบางเปนเสนๆ เสียงความถี่ตํ่ากระชับ มีรายละเอียดของโนต เลนกับลําโพงคูนี้เบสลงลึกพอสมควร เปนเบส ที่มีคุณภาพ ไมเนนมาเปนลูกๆ กระแทกอก แตวาทําใหรูสึกมีมวลแผมา ตามพื้นได ถาสังเกตดีๆ จะเห็นวา ขอความในยอหนาขางบนก็ไมไดแตกตาง จากคุณสมบัติเครื่องเสียงดีๆ ไฮเอ็นดเครื่องอื่นๆ ก็แนละครับ ดวยความที่ เปนตัวหนังสือ มันก็ยากอธิบายเนาะ ทวาสิ่งหนึ่งที่ผมคิดวาแตกตางก็คือ อารมณครับ เพราะวาในระยะหลังๆ ผมเขียนเรื่องเสียงของเครื่องเสียง สั้นมาก มีคราวนี้แหละครับที่ยาวขึ้นมาอีกนิด เพราะชอบจริงๆ เงินแสนกวาบาท ไมนอ ยครับ แตถา มีพอสําหรับเอาไวซอื้ เครือ่ งเสียง โดยไมเดือดรอนกับคาใชจายสวนอื่น Sugden A21SE Sig. นี่ละครับ ที่ผมจะเลือกเอาไวฟงเพลงตลอดไป ไมขายตอแนนอน แมวาโอกาสตอไป จะมีเงินซื้อเครื่องเสียงใหมก็ตาม เพราะนอกจากมันเสียงดีมากแลว มันยัง คลาสสิกดวยครับ ผมชอบของที่มันคลาสสิก ซื้อครั้งเดียวจบครับ. ADP

คุณสมบัติทางเทคนิคที่สําคัญ Power output 110mV @ zero attenuation for full output 30 Watts into 8 Ohms both channels working 40 Watts into 4 Ohms both channels working Frequency response +/-1dB 12Hz - 141kHz Bandwidth

6Hz - 280kHz

Signal to noise

>90dB

Packed weight

15 kgs

Dimensions

115 x 430 x 360 mm

ราคา 160,000 บาท นําเขŒาและจัดจําหน‹ายโดย Sound Box โทร. 089-920-8297, 0-2642-1448 ภาพประกอบจาก http://neophonics.com/

* รูปเปดบทความจากเว็บไซต http://www.sugdenaudio.com/ AUDIOPHILE

81

VIDEOPHILE

Sugden No.235.pdf

และมีบอดี้ที่ไม แบน ผมไม ได บอกว ามันเป นเสียงที่เหมือนจริง แต ผมบอก. ว ามันให เสียงที่ไพเราะ ฟ งอัลบั้ม Beethoven Cello Sonata บรรเลง. โดย Mischa Maisky ...

2MB Sizes 24 Downloads 160 Views

Recommend Documents

Test Sugden A21a Series2_BEST.pdf
Loading… Page 1 of 2. Page 2 of 2. Test Sugden A21a Series2_BEST.pdf. Test Sugden A21a Series2_BEST.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu.