จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) 1.รหัสวิชา 2.ชื่อยอภาษาอังกฤษ 3.ชื่อวิชา ชื่อภาษาไทย : ชื่อภาษาอังกฤษ : 4.หนวยกิต 5.สวนงาน 5.1.คณะ/หนวยงานเทียบเทา 5.2.ภาควิชา 5.3.สาขาวิชา 6.วิธีการวัดผล 7.ประเภทรายวิชา 8.ภาคการศึกษาที่เปดสอน 9.ปการศึกษาที่เปดสอน 10. การจัดการสอน ตอนเรียน

2310310 GEN BIOCHEM ชีวเคมีทั่วไป GENERAL BIOCHEMISTRY 3(3–0–6) คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาชีวเคมี สาขาวิชาชีวเคมี ทวิภาค ภาคปลาย 2559 ผูสอน

ชวงเวลาประเมิน

00025096 รศ. ดร. วิเชียร ริมพณิชยกิจ

03-04-2560 ถึง 31-05-2560

00039323 ผศ. ดร. รัฐ พิชญางกูร

03-04-2560 ถึง 31-05-2560

00040514 ผศ. ดร. มัญชุมาส เพราะสุนทร

03-04-2560 ถึง 31-05-2560

10003662 ผศ. ดร. นุชนาถ วุฒิประดิษฐกุล

03-04-2560 ถึง 31-05-2560

00037073 ผศ. ดร. กนกทิพย ภักดีบํารุง

03-04-2560 ถึง 31-05-2560

11.เงื่อนไขรายวิชา เปนรายวิชาที่คณะอนุญาตใหเรียน (Consent of Faculty) 12.หลักสูตรที่ใชรายวิชานี้ 13.ระดับการศึกษา 14.สถานที่เรียน 15.เนื้อหารายวิชา ชีวเคมีเบื้องตน เทคนิคพื้นฐานที่ใชในการศึกษาดานชีวเคมี สมบัติทางเคมีและทางชีวภาพ ของชีวโมเลกุล การทํางานและจลนพลศาสตรของเอนไซม เมแทบอลิซึมของชีวโมเลกุลโดยเนนกระบวนการเกิด พลังงานและโรคที่เกิดจากความบกพรองของเมแทบอลิซึม กระบวนการสังเคราะหกรดนิวคลีอิกและโปรตีน กระบวนการควบคุมเมแทบอลิซึม พันธุวิศวกรรมพื้นฐานและการประยุกต Basic techniques used in biochemical studies; chemical and biological properties of biomolecules; functions and kinetics of onzymes; metabolism of biomolecules with emphasis on energy-yielding processes and metabolic diseases; biosyntheses of nucleic acids and proteins; metabolic regulation; basic genetic engineering and its application. 16.ประมวลการเรียนรายวิชา 16.1.วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม # This document is generated from CUCAS.

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1/4

1

อธิบายพื้นฐานทางชีวเคมีในระดับเซลลเซลล ปฏิกิยาทางเคมีและฟสิคัล และในระดับยีน ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

2

อธิบายโครงสราง สมบัติทางเคมีและชีวภาพของคารโบไฮเดรต นิวคลิโอไทด กรดนิวคลิอิก ลิปด กรดอะมิโน และโปรตีนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

3

อธิบายโครงสราง สมบัติทางเคมี ชีวภาพ การทํางานของเอนไซม และการประยุกตใชทางการแพทยได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

4

อธิบายภาพรวมของชีวพลังงานและเมแทบอลิซึมของพลังงานได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

5

อธิบายกระบวนการเมแทบอลิซึมของคารโบไฮเดรตได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

6

อธิบายกระบวนการเมแทบอลิซึมของไขมันได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

7

อธิบายกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

8

อธิบายกระบวนการเมแทบอลิซึมของนิวคลิโอไทดได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

9

อธิบายความสําคัญของฮอรโมนและอธิบายเมแทบอลิซึมของชีวโมเลกุลตางๆในตับ กลามเนื้อ สมอง โดยผานฮอรโมนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

10

อธิบายกระบวนการลอกแบบดีเอ็นเอ (replication) การถอดรหัสดีเอ็นเอ (transcription) และการสังเคราะหโปรตีน (translation) ได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

11

อธิบายการควบคุมการแสดงออกยีนในเซลลโปรคาริโอตได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

12

อธิบายขั้นตอนการทําพันธุวิศวกรรมและการนําเอายีนเทคโนโลยีไปประยุกตใชในดานตางๆ ได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

16.2.แผนการสอนรายสัปดาห สัปดาหที่ This document is generated from CUCAS.

เนื้อหาที่สอน

การมอบหมายงาน 2/4

1

Foundation of Biochemistry วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 1 ผูสอน : • กนกทิพย

2

Carbohydrates วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 2 ผูสอน : • วิเชียร

3

Nucleotides and nucleic acids วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 2 ผูสอน : • วิเชียร

4

Lipids วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 2 ผูสอน : • วิเชียร

5

Amino acids and proteins วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 2 ผูสอน : • วิเชียร

6

Enzymes วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 3 ผูสอน : • กนกทิพย

7

Overview of bioenergetics and metabolism วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 4 ผูสอน : • รัฐ

8

Carbohydrate metabolism วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 5 ผูสอน : • รัฐ

9

Lipid metabolism วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 6 ผูสอน : • รัฐ

10

Metabolism of N-containing compounds วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 7 • 8 ผูสอน : • รัฐ

11

Integration of metabolism and metabolic regulation วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 9 ผูสอน : • รัฐ

12

Information pathways วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 10 ผูสอน : • นุชนาถ

13

Gene regulation วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 11 ผูสอน : • มัญชุมาส

14

Genetic engineering วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 12 ผูสอน : • มัญชุมาส

16.3. สื่อการสอน (Media) ✓ สื่อนําเสนอในรูปแบบ Powerpoint media 16.4.การติดตอสื่อสารกับนิสิตผานระบบเครือขาย 16.4.1.รูปแบบและวิธีการใชงาน: 16.4.2.ระบบจัดการการเรียนรู (LMS) ที่ใช 16.5.จํานวนชั่วโมงที่ใหคําปรึกษาแกนิสิต 0.0 ชั่วโมงตอสัปดาห 16.6.การประเมินผล This document is generated from CUCAS.

3/4

กิจกรรมการประเมิน

รอยละ

เกณฑการวัดผล 17.รายชื่อหนังสืออานประกอบ 17.1.หนังสือบังคับ 17.2.หนังสื่ออานเพิ่มเติม 17.3.บทความวิจัย/บทความวิชาการ (ถามี) 17.4.สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือเว็บไซตที่เกี่ยวของ 18.การประเมินการสอน 18.1.การประเมินการสอน ผานระบบ CUCAS - SCE 18.2.การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผานมา มีการปรับปรุงเนื้อหาใหทันสมัยขึ้น เพื่อสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน 19.หมายเหตุ

This document is generated from CUCAS.

4/4

syllabus-th-2310310-2016.PDF

mis. t. r. y. วัต. ถุป. ร. ะ. ส. ง. ค . เ. ชิ. ง. พ. ฤ. ติ. ก. ร. ร. ม : •. 1. ผู . ส. อ. น : •. ก. น. ก .... Page 3 of 4. syllabus-th-2310310-2016.PDF. syllabus-th-2310310-2016.PDF.

68KB Sizes 3 Downloads 208 Views

Recommend Documents

No documents