จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) 1.รหัสวิชา 2.ชื่อยอภาษาอังกฤษ 3.ชื่อวิชา ชื่อภาษาไทย : ชื่อภาษาอังกฤษ : 4.หนวยกิต 5.สวนงาน 5.1.คณะ/หนวยงานเทียบเทา 5.2.ภาควิชา 5.3.สาขาวิชา 6.วิธีการวัดผล 7.ประเภทรายวิชา 8.ภาคการศึกษาที่เปดสอน 9.ปการศึกษาที่เปดสอน 10. การจัดการสอน

2310336 PRIN BIOPHYS TECH หลักการของเทคนิคทางชีวฟสิกส PRINCIPLES OF BIOPHYSICAL TECHNIQUES 2(2–0–4) คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาชีวเคมี สาขาวิชาชีวเคมี Letter Grade (A B+ B C+ C D+ D F) Semester Course ทวิภาค ภาคปลาย 2559

ตอนเรียน

ผูสอน

ชวงเวลาประเมิน

10011417 ผศ. ดร. เกื้อการุณย ครูสง

03-04-2560 ถึง 31-05-2560

10015133 ผศ. ดร. ธนะกาญจน มัญชุพาณี

03-04-2560 ถึง 31-05-2560

11.เงื่อนไขรายวิชา เปนรายวิชาที่คณะอนุญาตใหเรียน (Consent of Faculty) รายวิชาที่ตองสอบผาน (Prerequisite) : 2310335 12.หลักสูตรที่ใชรายวิชานี้ 25420011100288 : ชีวเคมี (rev.2015) 13.ระดับการศึกษา ปริญญาบัณฑิต 14.สถานที่เรียน 15.เนื้อหารายวิชา นําเสนอเทคนิคชีวเคมีเชิงฟสิกสซึ่งประกอบไปดวย สเปกโทรสโครป แมสสเปกโทรเมทรี และ การหามวลโมเลกุลของชีวโมเลกุล เทคนิคการหาโครงสรางสามมิติของชีวโมเลกุลขนาดใหญ และไบโอแคลอริเมท รี โดยเนนถึงหลักการ และการประยุกตใชในงานวิจัย Address biophysical techniques including spectroscopy; mass spectrometry and molecular weight determination; three-dimensional structure determination of macromolecules and biocalorimetry. Emphasize on the principles and applications of biophysical techniques with examples on research publications. 16.ประมวลการเรียนรายวิชา 16.1.วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม # 1

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม อธิบายหลักการของ Molecular Absorption Spectroscopy และการนําไปใชประโยชนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย

This document is generated from CUCAS.

1/4

วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน 2

อธิบายหลักการของ spectrophotometer UV/VIS/IR และการนําไปใชประโยชนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

3

อธิบายหลักการของ fluorescence spectroscopy และการนําไปใชประโยชนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

4

อธิบายหลักการของ scattering/polarization และการนําไปใชประโยชนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

5

อธิบายหลักการของ mass spectrometry องคประกอบที่สําคัญของ mass spectrometer และการนําไปใชหา molecular weight รวมไปถึงการนําไปประยุกตใชในดานอื่นๆได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

6

อธิบายหลักการของ electrophoresis และการนําไปใชประโยชนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

7

อธิบายหลักการของ equilibrium ultracentrifugation และ และการนําไปใชหา molecular weight ได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

8

อธิบายหลักการของ osmotic pressure และการนําไปใชประโยชนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

9

อธิบายหลักการ ขั้นตอน และประโยชนของ Protein X-ray crystallography ได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : วิธีการประเมิน :

10

อธิบายหลักการ และประโยชนของ NMR ได สามารถเปรียบเทียบขอดี ขอเสียของการใช NMR และเทคนิคอื่นๆในการหา โครงสรางสามมิติของโปรตีนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

11

อธิบายหลักการของ cryo-EM และการนําไปใชประโยชนได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

12

อธิบายหลักการ และการนําไปใชประโยชนของ Isothermal titration calorimetry ได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.3.มีทักษะในการคิดแกปญหา • 4.4.มีทักษะทางคณิตศาสตรและสถิติ วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

13

อธิบายหลักการ และการนําไปประยุกตใชของ Differential scanning calorimetry ได ผลการเรียนรู : • 1.2.รูลึก • 3.3.มีทักษะในการคิดแกปญหา วิธีการสอน/พัฒนา : • การบรรยาย วิธีการประเมิน : • การสอบขอเขียน

This document is generated from CUCAS.

2/4

14

ยกตัวอยางงานวิจัยที่ใชเทคนิคทาง Physical Biochemistry ได ผลการเรียนรู : • 3.1.สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีการสอน/พัฒนา : • การอภิปราย วิธีการประเมิน : • การประเมินการวิพากษ/การนําเสนอผลงาน

16.2.แผนการสอนรายสัปดาห สัปดาหที่

เนื้อหาที่สอน

1

1. Molecular Absorption Spectroscopy วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 1 ผูสอน : • ธนะกาญจน

2

2. Fluorescence spectroscopy วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 3 ผูสอน : • ธนะกาญจน

3

2. Fluorescence spectroscopy (cont.) วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 4 ผูสอน : • ธนะกาญจน

4

3. Mass spectrometry วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 5 ผูสอน : • เกื้อการุณย

5

4. Electrophoresis วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 6 ผูสอน : • เกื้อการุณย

6

5. Equilibrium ultracentrifugation วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 7 ผูสอน : • เกื้อการุณย

7

6. Osmotic pressure วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 8 ผูสอน : • เกื้อการุณย

8

สอบกลางภาค

9

7. X-ray diffraction วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 9 ผูสอน : • เกื้อการุณย

10

8. NMR วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 10 ผูสอน : • เกื้อการุณย

11

9. Cryo-EM วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 11 ผูสอน : • เกื้อการุณย

12

10. Isothermal titration calorimetry วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 12 ผูสอน : • เกื้อการุณย

13

11. Differential scanning calorimetry วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 13 ผูสอน : • เกื้อการุณย

14

12. Applications of Physical Biochemistry วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : • 14 ผูสอน : • เกื้อการุณย

การมอบหมายงาน

การบาน

การบาน

การนําเสนอหนาชั้นเรียน/การ อภิปรายในหองเรียน

16.3. สื่อการสอน (Media) ✓ เขียนกระดาน ✓ สื่อนําเสนอในรูปแบบ Powerpoint media ✓ สื่ออิเล็กทรอนิกส เว็บไซต This document is generated from CUCAS.

3/4

16.4.การติดตอสื่อสารกับนิสิตผานระบบเครือขาย 16.4.1.รูปแบบและวิธีการใชงาน: ✓ อีเมล/Email 16.4.2.ระบบจัดการการเรียนรู (LMS) ที่ใช 16.5.จํานวนชั่วโมงที่ใหคําปรึกษาแกนิสิต 2.0 ชั่วโมงตอสัปดาห 16.6.การประเมินผล กิจกรรมการประเมิน

รอยละ

สอบกลางภาคและปลายภาค

90.00

การบาน, การนําเสนอ-อภิปรายในชั้นเรียน

10.00 0.00 0.00

เกณฑการวัดผล 17.รายชื่อหนังสืออานประกอบ 17.1.หนังสือบังคับ 1. Principles of Physical Biochemistry, (1998) by K.E. van Holde and W.C. Johnson, PrenticeHall, Inc. 2. Biophysical Chemistry, 12th Edition (2002) by C.R. Cantor and Paul R. Schimmel, W.H. Freeman and Company 17.2.หนังสื่ออานเพิ่มเติม 3. Physical Biochemistry: Principles and Application, (2000) by D. Sheehan, John Wiley & Sons Ltd. 17.3.บทความวิจัย/บทความวิชาการ (ถามี) 4. ตามที่ผูสอนกําหนด 17.4.สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือเว็บไซตที่เกี่ยวของ 5. ตามที่ผูสอนกําหนด 18.การประเมินการสอน 18.1.การประเมินการสอน ผานระบบ CUCAS - SCE 18.2.การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผานมา ปรับปรุงเนื้อหา โดยเพิ่มเนื้อหาดาน Applications ปรับปรุงสื่อการสอนใหทันสมัย ปรับปรุง วิธีการสอน ใหนิสิตมีสวนรวมในชั้นเรียนเพิ่มขึ้น 19.หมายเหตุ

This document is generated from CUCAS.

4/4

syllabus2310336-th-PDF--2016.PDF

Whoops! There was a problem loading this page. syllabus2310336-th-PDF--2016.PDF. syllabus2310336-th-PDF--2016.PDF. Open. Extract. Open with. Sign In.

71KB Sizes 8 Downloads 211 Views

Recommend Documents

No documents