วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (2557), 15-23

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (2557) 15-23 Available online at www.tsae.asia การบริหารจัดการน้ําในลุ่มน้ําเพชรบุรีแบบบูรณาการ Integrated Water Management in Phetchaburi River Basin

บทความวิจัย ISSN 1685-408X

ยุทธนา ตาละลักษมณ์1*, บัญชา ขวัญยืน1, วราวุธ วุฒิวณิชย์1 Yutthana Talaluxmana1*, Bancha Kwanyuen2, Varawoot Vudhivanich2 1

ทศ ไท ย

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน, คณะวิศวกรรมศาสตร์ กําแพงแสน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม, 73140 Department of Irrigation Engineering, Faculty of Engineering at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Nakorn Pathom, Thailand, 73140 *Corresponding author: Tel: +66-8-1844-0100, Fax: +66-34-352-053, E-mail: [email protected] 1

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

ะเ

บทคัดย่อ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝนรายปีกับปริมาตรเก็บกักน้อยที่สุดของอ่างเก็บน้ําแก่งกระจานที่จะไม่ทําให้เกิดการขาดน้ําถูก พัฒนาขึ้ นภายใต้ การบริหารจั ดการอ่ างเก็บ น้ํ าแก่ ง กระจานตามเกณฑ์ป ฏิ บัติการอ่ างเก็บ น้ํ า เพื่ อใช้ เป็ นแนวทางในการประเมิ น สถานการณ์น้ําในลุ่มน้ําเพชรบุรี และวางแผนการบริหารจัดการน้ําจากปริมาณฝนคาดการณ์ในปีถัดไป พร้อมทั้งประเมินโอกาสที่จะ เกิดสภาวะการขาดน้ําเนื่องจากปริมาณฝนที่ตกน้อยกว่าที่คาดการณ์ ซึ่งแสดงถึงความเสี่ยงที่จะเกิดการขาดน้ํา ในงานวิจัยได้เสนอ แนวทางลดความเสี่ยงที่จะเกิดการขาดแคลนน้ํา ด้วยการจัดสรรน้ําระหว่างภาคการใช้น้ําต่างๆ ในสัดส่วนที่เท่ากันอย่างเป็นธรรม ซึ่งจะ ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างภาคการใช้น้ําต่างๆ ผลการศึกษาที่ได้สามารถใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจในการวางแผนการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ํา นอกจากนี้ ในการศึกษายังพบว่า การบริหารจัดการน้ําภายใต้เกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ําที่มีลักษณะคงที่ จะทําให้การใช้น้ําไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ควรปรับปรุงเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ําแก่งกระจานให้มีลักษณะเป็นพลวัติเพื่อเหมาะสม กับสภาพการใช้น้ําและปริมาณฝนในปัจจุบัน คําสําคัญ: การบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการ, ลุ่มน้ําเพชรบุรี, ความเป็นธรรม

สม

าค

มว

Abstract The relationship between annual rainfall and minimum storage of Kaengkachan reservoir without water shortage was developed. It was constructed base on Kaengkachan reservoir operation rule curve. This relationship was developed for water resources assessment and water management planning of Phetchaburi river basin, when the next year rainfall was predicted. The water shortage probability due to less rainfall than prediction was also estimated to show risk of water shortage. To decrease shortage risk, water allocation among water use sectors should be in equitable manner at the same proportion. This should decrease conflict between water use sectors. The study output could be used for decision making of water resources management planning. Besides, it found that water management, base on static rule curve, let insufficient water use. So the operation rule curve of Kaengkachan reservoir should be revised to be dynamic rule curve for consistency with the present situation. Keywords: Integrated water management, Phetchaburi river basin, Equity

15

Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 20 No. 2 (2014), 15-23 2 วิธีการ

ะเ

ทศ ไท ย

2.1 พื้นที่ศึกษา ลุ่มน้ําเพชรบุรีเป็นลุ่มน้ําหมายเลข 19 ตั้งอยู่ในภาคตะวันตก ของประเทศไทยมี พื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า รวมทั้ ง สิ้ น 6,260.17 km2 มีปริมาณน้ําท่าเฉลี่ยรายปี 1,329 MCM พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขต จังหวัดเพชรบุรี ลักษณะลุ่มน้ําเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าวางตัวในแนว ตะวันตก-ตะวันออกอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 1230เหนือถึงเส้นรุ้งที่ 1330เหนือ และอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 9900ตะวันออกถึง เส้นแวงที่ 10015ตะวันออก มีทิศเหนือติดกับลุ่มน้ําแม่กลอง ทิ ศ ใต้ ติ ด กั บ ลุ่ ม น้ํ า ชายฝั่ ง ทะเลตะวั น ตก ทิ ศ ตะวั น ตกติ ด กั บ สหภาพเมียนมาร์ และทิศตะวันออกติดกับอ่าวไทย โดยลุ่มน้ํา เพชรบุรีถูกแบ่งออกเป็น 3 ลุ่มน้ําย่อยได้แก่ ลุ่มแม่น้ําเพชรบุรี ตอนบน ลุ่มน้ําห้วยแม่ประจันต์ และลุ่มแม่น้ําเพชรบุรีตอนล่าง ดังแสดงใน Figure 1 (กรมทรัพยากรน้ํา, 2552) 2.2 การรวบรวมปริมาณความต้องการน้ํา ข้ อ มู ล การใช้ น้ํ า ในภาคการใช้ น้ํ า ต่ า งๆ ในด้ า นการอุ ป โภค บริโภค การปศุสัตว์ และการอุตสาหกรรม ได้ถูกประเมินในช่วง คาบเวลา 30 yr (พ.ศ.2522-2551) และรวบรวมไว้ในงานศึกษา โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ปฏิบัติการพยากรณ์เตือนภัยเพื่อ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา (กรมทรัพยากรน้ํา, 2553) ส่วน ปริมาณน้ํารักษาระบบนิเวศน์เป็นปริมาณน้ําที่ใช้ผลักดันน้ําเค็ม แต่ยังไม่มีการศึกษาเพื่อกําหนดปริมาณที่เหมาะสมอย่างชัดเจน ปั จ จุ บั น ทางโครงการส่ ง น้ํ า และบํ า รุ ง รั ก ษาเพชรบุ รี ไ ด้ กํ า หนด ปริมาณน้ําระบายต่ําสุดที่ท้ายเขื่อนเพชรไว้ที่ 5 m3 s-1 (กรม ชลประทาน, 2550)

สม

าค

มว

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

1 บทนํา การที่ จ ะสามารถกํ า หนดแนวทางการบริ ห ารจั ด การน้ํ า ได้ อย่างเหมาะสม จําเป็นที่จะต้องรู้ทั้งปริมาณน้ําต้นทุน และความ ต้องการน้ําในพื้นที่ ปริมาณความต้องการน้ําสามารถประเมินหรือ กําหนดได้ค่อนข้างแน่นอน เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นปริมาณน้ําซึ่ง เกิ ด จากกิ จ กรรมที่ ม นุ ษย์ กํ า หนดขึ้ น แต่ ป ริ ม าณน้ํ า ต้ น ทุ นเป็ น ปริมาณน้ําที่ต้องคาดการณ์ ถ้าสามารถคาดการณ์ได้ใกล้เคียงกับ ความเป็นจริงมากเท่าไร ก็ทําให้การวางแผนในการบริหารจัดการ น้ํามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น แต่ในความเป็นจริง ยั ง ไม่ มี แ บบจํ า ลองใดที่ ส ามารถคาดการณ์ ป ริ ม าณน้ํ า ถู ก ต้ อ ง แม่นยํา อีกทั้งยังอาจมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ดังนั้น การ ประเมิ น ปริ ม าณน้ํ า ต้น ทุ น จึ ง ต้ อ งอาศั ยค่ าความน่ า เชื่ อถื อหรื อ ความน่าจะเป็นทางสถิติ ซึ่งค่าความน่าจะเป็นและรอบการเกิดซ้ํา ของปริมาณฝนรายเดือนสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการวาง แผนการบริหารจัดการน้ําและประกอบการตัดสินใจในการดําเนิน กิจกรรมด้านการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด (สมานและ ปรเมศร์, 2551) กรมทรั พยากรน้ํา (2553) ได้ทําการศึกษาปั ญหาภัยแล้งใน พื้ น ที่ ลุ่ มน้ํ า เพชรบุ รี พบว่ า การจั ดสรรน้ํ าในลุ่ มน้ํ า เพชรบุ รี จ ะ เพี ยงพอต่ อการอุ ปโภคบริ โภคและอุ ตสาหกรรม ส่ วนโครงการ ชลประทานขนาดใหญ่ที่พิจารณาให้มีการเพาะปลูกพืชเต็มพื้นที่ ชลประทานด้วยระบบการปลูกพืชปัจจุบัน พบว่าจะมีปริมาณน้ํา ไม่เพียงพอ ในงานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ปริมาณ ฝนรายปีเฉลี่ยและประเมินโอกาสในการเกิดขาดแคลนน้ําในพื้นที่ ลุ่มน้ําเพชรบุรีในรูปของค่าความเสี่ยงจากค่าความน่าจะเป็นในการ เกิ ด ฝนที่ ร อบปี ก ารเกิ ด ซ้ํ า ต่ า งๆ โดยใช้ ก ารขาดน้ํ า ในพื้ น ที่ ชลประทานของโครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรีเป็นตัวบ่งชี้ ถึ ง การขาดน้ํ า ในพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ช ลประทานของ โครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรีเป็นกิจกรรมการใช้น้ําที่มี ความต้องการน้ํ ามากที่ สุ ด และจะเป็ นกิ จกรรมการใช้ น้ําแรกที่ ได้ รับผลกระทบเมื่อปริมาณน้ํ าในพื้ นที่ ลุ่มน้ําเริ่ มไม่เพียงพอกั บ ความต้ อ งการ ซึ่ ง ผลการวิ จั ย สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางในการ กํ า หนดการบริ ห ารจั ด การน้ํ า ระหว่ า งภาคการใช้ น้ํ า ต่ า งๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ําที่มีอยู่ในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจาน ทั้ ง นี้ ใ นงานวิ จั ย นี้ ไ ด้ ใ ช้ ป ริ ม าณน้ํ า ในอ่ า งเก็ บ น้ํ า แก่ ง กระจาน ณ ต้นเดือนกรกฎาคม เป็นค่าตั้งต้นการวิเคราะห์การใช้น้ําแต่ละปี

Figure 1 Phetchaburi river basin. 16

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (2557), 15-23

สม

าค

มว

ะเ

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

2.3 ระบบลุ่มน้ําเพชรบุรี ในการวิจั ยได้ แบ่ ง ลุ่มน้ํ าย่ อยออกเป็น 13 ลุ่ มน้ํา ตามลํา น้ํ า สาขาสํ า คั ญ ดั ง Figure 2 และแผนภู มิ ร ะบบลุ่ ม น้ํ า แสดงใน Figure 3 สําหรับโครงการชลประทานขนาดกลางและขนาดเล็ก ในแต่ ล ะพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า สาขาจะถู ก พิ จ ารณารวมเป็ น กลุ่ ม ตามลุ่ ม น้ํา ย่ อย ส่ ว นโครงการสู บ น้ํ า ด้ วยไฟฟ้ า จะรวมเป็ น กลุ่ ม ตามลุ่ ม น้ําย่อยและพิจารณาให้สูบน้ําตามลําน้ําสายหลัก ความต้องการ น้ํา ในกิจ กรรมต่ างๆ ของลุ่ มน้ํ าเพชรบุ รี ถูกจั ดเป็น กลุ่ มตามลุ่ ม น้ําย่อยเช่นกัน การประเมิ น การใช้ น้ํ า ของภาคการใช้ น้ํ า ต่ า งๆ ในลุ่ ม น้ํ า เพชรบุรีได้ถูกวิเคราะห์โดยใช้แบบจําลอง MIKE BASIN 2009 เพื่อจําลองสภาพลุ่มน้ําสําหรับการจัดการน้ําและจัดสรรน้ําตาม จุดต่างๆ ในลุ่มน้ําแบบผสมผสาน

ทศ ไท ย

สํ า ห รั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ น้ํ า เ พื่ อ ก า ร ช ล ป ร ะ ท า น มี อ งค์ ป ระกอบหลั ก ที่ ต้ อ งนํ า มาพิ จ ารณา ประกอบด้ ว ย พื้ น ที่ เพาะปลูกและรูปแบบการเพาะปลูกพืช ปริมาณการใช้น้ําของพืช ปริมาณน้ําซึมลึกลงในดิน ปริมาณฝนใช้การ และประสิทธิภาพ การชลประทาน สําหรับการคํานวณหาปริมาณการใช้น้ําของพืช อ้ า งอิ ง คํ า นวณโดยใช้ ข้ อ มู ล ภู มิ อ ากาศด้ ว ยวิ ธี PenmanMonteith (Allen et al., 1998)

Figure 2 Sub-basin installation in model.

Figure 3 Schematic of Phetchaburi river basin.

2.4 แนวทางการจัดสรรน้ําชลประทาน ในช่ ว งฤดู ก ารส่ ง น้ํ า ก่ อ นการส่ ง น้ํ า โครงการส่ ง น้ํ า และ บํารุงรักษาเพชรบุรีจะอาศัยน้ําต้นทุนในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจาน เป็นแนวทางในการวางแผนการส่งน้ํา (กรมชลประทาน, 2550) ดังนี้ ฤดูแล้ง (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม) - มากกว่า 380 MCM ส่งน้ําเพื่อการทํานาปรังและอุปโภคบริโภค ในเขตโครงการฯ - ระหว่าง 300-380 MCM กําหนดพื้นที่ทํานาปรังและพืชฤดู แล้งในบริเวณที่สามารถส่งน้ําได้บางส่วน - น้อยกว่า 300 MCM งดการส่งน้ําทํานาปรังและพืชฤดูแล้ง ฤดูฝน (มิถุนายน-ธันวาคม) - มากกว่า 300 MCM เริ่ มส่ง น้ํา เพื่อการทํา นาปี ประมาณ 1 มิถุนายน - ระหว่ า ง 250-300 MCM เริ่ ม ส่ ง น้ํ า เพื่ อ การทํ า นาปี ประมาณ 1 กรกฎาคม - น้อยกว่า 250 MCM เริ่มส่งน้ําเพื่อการทํานาปี ประมาณ 15 กรกฎาคม แนวทางการจั ด สรรน้ํ า ของโครงการส่ ง น้ํ า และบํ า รุ ง รั ก ษา เพชรบุ รี นี้ ถู ก กํ า หนดขึ้ น โดยพิ จ ารณาจากโค้ ง ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งค่ า ระดั บ ความจุ และพื้ น ที่ ผิ ว น้ํ า ของอ่ า งเก็ บ น้ํ า แก่ ง กระจานเดิมที่ได้สํารวจไว้เมื่อ พ.ศ. 2505 แต่ในปี พ.ศ. 2548 17

Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 20 No. 2 (2014), 15-23 3 ผลและวิจารณ์ ในการประเมินความต้องการน้ําเพื่อการชลประทาน ได้ทํา การคํานวณปริมาณความต้องการน้ําของพืชอ้างอิง (ETO) ด้วยวิธี Penman-Monteith (Allen et al., 1998) ดังแสดงใน Table 1 Table 1 Reference crop evapotranspiration by Penman-Monteith method. Jan

Feb

Mar

Apr

May

Jun

ETO (mm/d)

4.8

5.5

6.4

6.6

6.2

6.0

month

Jul

Aug

Sep

Oct

Nov

Dec

ETO (mm/d)

6.3

5.8

5.7

5.2

4.7

4.6

ทศ ไท ย

month

ในการประมาณค่ า ความน่ า จะเป็ น ของปริ มาณฝนที่ ต กใน พื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า ที่ ร ะดั บ ต่ า งๆ ได้ ดํ า เนิ น การวิ เ คราะห์ ก ารแจกแจง ความถี่ ข องปริ ม าณฝนเฉลี่ ย ที่ ต กในพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า โดยใช้ ข้ อ มู ล ปริ ม าณฝนเฉลี่ ย รายปี ใ นรอบ 30 yr (พ.ศ. 2522-2551) ด้วยแบบจําลองคณิตศาสตร์ HYDSTAT ผลการทดสอบความ เหมาะสมของ Probability distribution โดย Chi-Square test พบว่า รูปแบบของ Probabilities distributions ที่ให้ค่า ChiSquare น้อยที่สุด คือ Log-Gumbel probability distribution แสดงในสมการที่ 1

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

ะเ

ได้มีการสํารวจโค้งความสัมพันธ์ระหว่างค่าระดับ ความจุ และ พื้นที่ผิวน้ําของอ่างเก็บน้ําแก่งกระจานใหม่ (สํานักอุทกวิทยาและ บริหารน้ํา, 2548) พบว่า ปริมาณน้ําที่แท้จริงในอ่างเก็บน้ําแก่ง กระจานจะมี ค่ า มากกว่ า ปริ ม าณน้ํ า ที่ ไ ด้ จ ากการจํ า ลอง สถานการณ์ ดังแสดงใน Figure 4

Figure 4 Comparison of capacity-area-elevation curves between 1962 and 2005.

สม

าค

มว

2.5 การประเมินค่าความน่าจะเป็นของปริมาณฝน การวิเคราะห์ การแจกแจงความถี่ปริมาณฝนในพื้นที่ลุ่มน้ํ า (Rainfall frequency analysis) ได้ดําเนินการด้วยแบบจําลอง HYDSTAT ซึ่งเป็นแบบจําลองคณิตศาสตร์สําหรับวิเคราะห์สถิติ ทางอุทกวิทยาเพื่อประเมินค่าความน่าจะเป็นและรอบการเกิดซ้ํา ของปริ ม าณฝนรายปี เ ฉลี่ ย ของลุ่ ม น้ํ า และทํ า การคั ด เลื อ ก แบบจํ า ลองที่ มี ก ารกระจายความน่ า จะเป็ น (Probability distributions) ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด ในการวิ เ คราะห์ ไ ด้ ใ ช้ ข้ อ มู ล ปริ ม าณฝนรายปี เ ฉลี่ ย ของพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า เพชรบุ รี จํ า นวน 30 yr (พ.ศ. 2522-2551) ค่ า ความน่ า จะเป็ น ถู ก ใช้ ป ระเมิ น โอกาสที่ ปริมาณฝนที่ตกในพื้นที่ลุ่มน้ําจะน้อยกว่าปริมาณฝนที่รอบการ เกิดซ้ําต่างๆ

2.6 การประเมินความเสี่ยงต่อการขาดน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ํา ในงานวิ จั ยนี้ กํ า หนดให้ ก ารขาดน้ํ า ในพื้ น ที่ ลุ่ มน้ํ า เพชรบุ รี เกิดขึ้นเมื่อมีการขาดน้ําในพื้นที่ชลประทานของโครงการส่งน้ํา และบํารุงรักษาเพชรบุรี ในการประเมินสภาวะการขาดน้ําจะทํา การวิ เ คราะห์ ส มดุ ล น้ํ า ในลุ่ ม น้ํ า และสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ข อง ปริมาณน้ําต่ําสุดในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจาน ณ ต้นเดือนกรกฎาคม กับปริมาณฝนรายปีคาดการณ์ในพื้นที่ลุ่มน้ําซึ่งเพียงพอกับความ ต้องการน้ําในพื้นที่ ค่าความเสี่ยงต่อการขาดน้ําแสดงในรูปของ โอกาสที่ปริมาณฝนที่ตกในพื้นที่ลุ่มน้ําเฉลี่ยจะน้อยกว่าค่าปริมาณ ฝนทั้งหมดดังกล่าว (Non-exceedance probability) 18

ln R = 6.93768+0.12738YT

(1)

  T    ln ln    T  1 

โดยที่ YT

R = ปริมาณฝนที่รอบการเกิดซ้ํา T yr (mm) T = รอบการเกิดซ้ํา (yr) ผลการวิเคราะห์ความน่าจะเป็นที่ปริมาณฝนจะตกน้อยกว่า ค่าปริมาณฝนที่กําหนด สรุปได้ดังแสดงใน Table 2 ซึ่งค่าความ น่าจะเป็นนี้จะบอกถึงโอกาสหรือความเสี่ยงที่ปริมาณฝนจะน้อย กว่าค่าที่กําหนด และทําให้เกิดสภาวะการขาดน้ํา Table 2 Non-exceedance probability. Rainfall (mm) P(X
848.2 926.5 969.8 1079.6 1372.4 1851.3 1

10

20

50

90

99

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (2557), 15-23

ะเ

ทศ ไท ย

ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคาดการณ์ว่าปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยในปีถัดไป เท่ากับ 970 mm และปริมาณน้ําต่ําสุดในอ่างแก่งกระจาน ณ ต้น เดื อ นกรกฎาคม เท่ า กั บ 410 MCM ควรจั ด สรรน้ํ า ให้ ภ าค การเกษตรและอุตสาหกรรม 80% ของความต้องการ เพื่อให้มี ปริมาณน้ําเพียงพอตลอดปี แต่ทั้งนี้ ก็ยังคงมีความเสี่ยงที่จะเกิด การขาดน้ําได้เท่ากับ 20% เนื่องจากความเป็นไปได้ที่ปริมาณฝน ที่ ต กจะน้ อ ยกว่ า ที่ ค าดการณ์ นอกจากนี้ ในการพั ฒ นา แบบจําลองสําหรับการพยากรณ์ปริมาณฝนจะมีการกําหนดช่วง ความเชื่อมั่นของแบบจําลอง ซึ่งในงานวิจัยนี้ ได้กําหนดช่วงความ เชื่อมั่นไว้ที่ 95% (95% Confidence interval) ดังแสดงเป็น พื้นที่ส่วนที่แรเงาใน Figure 5 นั่นคือ ยังมีโอกาสที่จะเกิดสภาวะ การขาดน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ําเพชรบุรีได้ ถ้าความสัมพันธ์ของปริมาณ ฝนคาดการณ์ในปีถัดไปและปริมาณน้ําต่ําสุดในอ่างเก็บน้ําแก่ง กระจาน ณ ต้นเดือนกรกฎาคมอยู่ในพื้นที่ส่วนนี้ (ยุทธนา, 2556) ในการวิเคราะห์เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการขาดน้ําในพื้นที่ ชลประทาน ยังพบอีกว่า โอกาสที่จะเกิดการขาดแคลนน้ําในพื้นที่ ลุ่มน้ําเพชรบุรีมี 2 ช่วง คือ เดือนเมษายน และเดือนสิงหาคม ซึ่งจากแผนการปลูกพืชปัจจุบันเป็นช่วงเวลาที่มีความต้องการน้ํา สูง จาก Figure 5 จะเห็นว่า เส้นกราฟแบ่งเป็น 2 ช่วง การขาด แคลนน้ําจะเกิดในเดือนเมษายนในกรณีที่ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ย ของลุ่มน้ําต่ํา (ช่วงเส้นกราฟด้านซ้ายของจุด Inflection) ส่วนใน กรณี ที่ ป ริ ม าณฝนรายปี เ ฉลี่ ย สู ง จะมี โ อกาสที่ จ ะเกิ ด การขาด แคลนน้ํ า ในเดื อ นสิ ง หาคมได้ เ ช่ น กั น หากมี ป ริ ม าณน้ํ า เก็ บ กั ก ณ ต้นเดือนกรกฎาคมน้อยกว่าเส้นกราฟ (ช่วงเส้นกราฟด้านขวา ของจุด Inflection) อย่างไรก็ตาม แม้ว่าปริมาณฝนคาดการณ์จะ อยู่เหนือเส้นความต้องการ แต่ก็มีโอกาสเกิดการขาดน้ําในพื้นที่ เนื่องจากมีความเป็นไปได้ที่ปริมาณฝนจะตกน้อยกว่าที่คาดการณ์ สํ า หรั บ พื้ น ที่ บ ริ เ วณเหนื อ เส้ น เกณฑ์ ป ฏิ บั ติ ก ารอ่ า งเก็ บ น้ํ า บน (Upper rule curve) และใต้เส้นเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ําล่าง (Lower rule curve) เป็นบริเวณที่อยู่นอกขอบเขตการบริหาร อ่างเก็บน้ํา ซึ่งในทางปฏิบัติจะไม่มีการบริหารระดับน้ําในอ่างเก็บ น้ําให้อยู่ในบริเวณดังกล่าว ทั้งนี้ ค่า Upper และ Lower rule curve ณ ต้ น เดื อ นกรกฎาคม เท่ า กั บ 453 และ 237 MCM ตามลําดับ ในการคาดการณ์ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยของแต่ละลุ่ม น้ํ า ย่ อ ย ได้ ส ร้ า งแบบจํ า ลองทาง Stochastic เพื่ อ คาดการณ์ ปริ ม าณฝนในปี ถั ด ไปของแต่ ล ะสถานี วั ด น้ํ า ฝนในพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า เพชรบุรีโดยกําหนดช่วงความเชื่อมั่น 95% (95% Confidence interval) เพื่อคาดการณ์สถานการณ์น้ําของพื้นที่ลุ่มน้ําในปีถัดไป ถ้าปริมาณฝนคาดการณ์อยู่ในพื้นที่ส่วนที่แรเงา แสดงว่า ปริมาณ

สม

าค

มว

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

ในการวิเคราะห์สมดุลน้ําของลุ่มน้ําเพชรบุรีได้ทําการประเมิน ปริมาณน้ําต่ําสุดในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจาน ณ ต้นเดือนกรกฎาคม สัมพันธ์กับค่าปริมาณฝนรายปีคาดการณ์ในลุ่มน้ํา ซึ่งไม่ทําให้เกิด สภาวะการขาดน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ํา พร้อมประเมินค่าความเสี่ยงต่อ การขาดน้ําจากค่าความน่าจะเป็นที่ปริมาณฝนในพื้นที่ลุ่มน้ําจะ น้อยกว่าปริมาณฝนคาดการณ์ ผลการวิเคราะห์ จะได้ปริมาณน้ําต่ําสุดที่ควรมีในอ่างเก็บน้ํา แก่งกระจาน ณ ต้นเดือนกรกฎาคม ที่จะไม่ทําให้เกิดสภาวะการ ขาดน้ําในพื้นที่ชลประทานโครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรี และโอกาสที่ปริมาณฝนที่ตกจะต่ํากว่าปริมาณฝนที่คาดการณ์ซึ่ง จะทําให้เกิดการขาดแคลนน้ํา หรือหมายถึงความเสี่ยงที่จะเกิด การขาดน้ํ า ซึ่ ง สามารถสร้ า งเป็ น ความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ ดั ง แสดงใน Figure 5 โดยที่กราฟแต่ละเส้นแสดงถึงปริมาณน้ําต่ําสุดที่ต้องมี ในอ่ า งเก็ บ น้ํ า แก่ ง กระจาน ณ ต้ น เดื อ นกรกฎาคมสั ม พั น ธ์ กั บ ปริมาณฝนรายปีที่คาดการณ์ในปีถัดไปที่ระดับความต้องการน้ํา ในลุ่มน้ําเพชรบุรีต่างๆ (Percent of water demand in basin) เช่น ที่ระดับความต้องการน้ํา 100% หมายถึง ความต้องการน้ํา ทั้งหมดของกิจกรรมการใช้น้ําต่างๆ ในลุ่มน้ําเพชรบุรีเมื่อดําเนิน กิ จ กรรมเต็ ม ที่ ใ นสภาพปั จ จุ บั น ซึ่ ง ในงานวิ จั ย นี้ ใ ช้ ค่ า ความ ต้องการน้ําเฉลี่ยในรอบ 10 yr (พ.ศ.2542-2551) ส่วนเส้นระดับ ความต้องการน้ําในลุ่มน้ําเพชรบุรีที่ 90% และ 80% สร้างขึ้นใน ลักษณะเดียวกับเส้นระดับความต้องการที่ 100% แต่พิจารณาลด ปริมาณความต้องการน้ําในภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ลง 10% และ 20% ตามลําดับ โดยที่ปริมาณน้ําเพื่อการอุปโภค บริโภค และปริมาณน้ําเพื่อรักษาระบบนิเวศน์ ยังคงจัดสรรให้เต็ม ตามความต้องการ ถ้าความสัมพันธ์ของปริมาณฝนคาดการณ์ในปี ถัดไปและปริมาณน้ําต่ําสุดในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจาน ณ ต้นเดือน กรกฎาคมอยู่ เ หนื อ เส้น ระดั บ ความต้ อ งการนั้ น แสดงว่า ในปี ถัดไปจะมีปริมาณน้ําต้นทุนมากกว่าความต้องการ (Supply > Demand) นั่นคือ จะมีปริมาณน้ําเพียงพอกับความต้องการ แต่ ถ้ า ความสั ม พั น ธ์ ดั ง กล่ า วอยู่ ใ ต้ เ ส้ น ระดั บ ความต้ อ งการจะมี ปริมาณน้ําในปีถัดไปน้อยกว่าความต้องการ นั่นคือ มีความเป็นไป ได้ ที่ จ ะเกิ ด สภาวะการขาดน้ํ า ในปี ถั ด ไป โดยในงานวิ จั ย นี้ พิจารณาว่าการขาดน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ําเพชรบุรีเกิดขึ้นเมื่อผลการ วิเคราะห์แสดงการขาดน้ําในพื้นที่ชลประทานของโครงการส่งน้ํา และบํารุงรักษาเพชรบุรี นอกจากนี้ ในความสัมพันธ์ยังแสดงถึง ความน่ า จะเป็ น ที่ ป ริ ม าณฝนที่ ต กจะน้ อ ยกว่ า ปริ ม าณฝนที่ คาดการณ์ ทําให้เห็นถึงความเสี่ยงที่จะเกิดสภาวะการขาดน้ําแม้ จะคาดการณ์ว่าปริมาณน้ําในปีถัดไปจะเพียงพอกับความต้องการ

19

Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 20 No. 2 (2014), 15-23

ทศ ไท ย

ปริ ม าณฝนรายปี เ ฉลี่ ย คาดการณ์ เท่ า กั บ 1,430 mm ความสัมพันธ์อยู่ในพื้นที่แรเงา แสดงว่า จะมีปริมาณน้ําเพียงพอ กับความต้องการ แต่แบบจําลองมีค่าความน่าเชื่อถือ 95% นั่นคือ ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยที่เป็นได้จะอยู่ในช่วงระหว่าง 1,357.6 ถึง 1,502.4 mm (1,430±72.4) แสดงว่า มีโอกาสที่จะเกิดภาวะการ ขาดน้ําได้ นอกจากนี้ จาก Figure 5 มีความเป็นไปได้ที่ปริมาณ ฝนรายปีเฉลี่ยจะต่ํากว่า 1,400 mm เท่ากับ 91% และจะเกิด ภาวการณ์ขาดแคลนน้ํา หากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการใช้ น้ําต้องการลดความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําให้เหลือประมาณ 40% จะต้องลดความต้องการน้ําให้เหลือ 80% ดังนั้น ภาคการใช้ น้ําต่างๆ สามารถวางแผนการดําเนินกิจกรรมการใช้น้ําได้อย่าง เหมาะสม

สม

าค

มว

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

ะเ

น้ํ า ในปี ถัด ไปน่ า จะเพี ยงพอกั บ ความต้ อ งการ แต่ ยัง มี โ อกาสที่ ปริมาณฝนที่ตกจริงจะน้อยกว่าปริมาณฝนที่คาดการณ์ ซึ่งช่วง ความเชื่อมั่น 95% ของแบบจําลองที่ใช้คาดการณ์ในงานวิจัย สําหรับข้อมูลปริมาณฝนในรอบ 30 yr (พ.ศ.2522-2551) เท่ากับ ±72.4 mm ในกรณีที่ปริมาณฝนคาดการณ์แสดงให้เห็นว่าอาจ เกิดการขาดน้ําในปีถัดไป หรือมีความเป็นไปได้ที่ปริมาณฝนจะตก น้อยกว่าที่คาดการณ์และทําให้เกิดภาวะการขาดน้ํา หากผู้มีส่วน เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการใช้น้ําต้องการลดความเสี่ยงต่อการขาด แคลนน้ํ า ลงสามารถทํ า ได้ โ ดยการลดการใช้ น้ํ า ลงในสั ด ส่ ว นที่ เท่าๆ กัน ตามหลักความเป็นธรรม จนกระทั่งอยู่ในระดับความ เสี่ยงที่จะเกิดการขาดน้ําที่ยอมรับได้ เช่น ถ้าปริมาณน้ําในอ่าง เก็บน้ําแก่งกระจาน ณ ต้นเดือนกรกฎาคม เท่ากับ 350 MCM

Figure 5 Relationship between rainfall storage volume and non-exceedance probability of rainfall in Phetchaburi river basin. นอกจากนี้ ในการวิ เคราะห์ เมื่ อกํา หนดให้ ป ริ ม าณฝนรายปี เฉลี่ ย น้ อ ยกว่ า 1,100 mm และเพิ่ ม ปริ ม าณน้ํ า เก็ บ กั ก ณ ต้นเดือนกรกฎาคมให้มากขึ้นเกินกว่าระดับของ Upper rule curve ปรากฏว่ายังคงมีสภาวะการขาดน้ํา ซึ่งจากการตรวจสอบ พบว่า เงื่อนไขการระบายน้ําตาม Rule curve จะทําให้มีการ 20

ระบายน้ําออกจากอ่างเก็บน้ําเพื่อรักษาระดับน้ําในอ่างเก็บน้ํา ไม่ให้เกินกว่าระดับ Upper rule curve ทําให้ปริมาณน้ําต้นทุน ในระหว่างปีไม่เพียงพอต่อความต้องการ เนื่องจากปริมาณฝนราย ปีเฉลี่ยต่ํา ซึ่งจากข้อมูลสถิติน้ําฝนในรอบ 30 yr (พ.ศ. 25222551) ค่าปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยเท่ากับ 1,110 mm มีจํานวนปีที่

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (2557), 15-23

ทศ ไท ย

Figure 7 Kaengkrachan reservoir simulation in dry season.

ะเ

สําหรับการจําลองสถานการณ์ในฤดูแล้ง จะเห็นว่า ปริมาณ น้ําต้นฤดูแล้งอยู่ต่ํากว่า Lower rule curve ซึ่งตามแนวทางการ จัดสรรน้ําของโครงการฯ จะให้มีการปลูกพืชฤดูแล้งตามปกติ จะ ทําให้ปริมาณน้ําในอ่างเก็บน้ําจะลดลงอย่างมาก ปริมาณน้ําใน อ่างเก็บน้ํา ณ ต้นเดือนมิถุนายนจะต่ํากว่า 250 MCM สําหรับ การเพาะปลูกในฤดูฝน โครงการฯ จะกําหนดให้เริ่มปลูกพืชฤดู ฝนวั น ที่ 1กรกฎาคม จากการจํ า ลองสถานการณ์ จ ะเห็ น ว่ า ปริ ม าณน้ํ า ในอ่ า งเก็ บ น้ํ า จะลดลงถึ ง ระดั บ น้ํ า ต่ํ า สุ ด ในเดื อ น กันยายน มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดการขาดน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ําอย่าง รุนแรงตามการจําลองสถานการณ์ ทั้งนี้ผลการจําลองสถานการณ์ โดยการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ําด้วย Rule curve ได้ว่า อ่างเก็บ น้ํ า แก่ ง กระจานค วรมี ป ริ ม า ณน้ํ า ประมาณ 595 MCM ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ และบริหารจัดการอ่างเก็บน้ําด้วย Rule curve เพื่อลดความเสี่ยงในเกิดภาวการณ์ขาดน้ํา

สม

าค

มว

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

มีปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยต่ํากว่า 1,110 mm ถึง 18 yr คิดเป็น 56.67% และผลการวิเคราะห์ด้วยแบบจําลอง HYDSTAT โอกาส ที่ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยจะน้อยกว่า 1,110 mm เท่ากับ 57% เพื่อศึกษาสถานการณ์น้ําตามแนวทางการจัดสรรน้ําที่กําหนด โดยโครงการส่ ง น้ํ า และบํ า รุ ง รั ก ษาเพชรบุ รี ได้ ทํ า การจํ า ลอง สถานการณ์ ด้ ว ยระบบการปลู ก พื ช เช่ น เดี ย วกั บ ที่ กํ า หนดใน งานวิจัยโดยใช้ค่าปริมาณฝนรายปีเฉลี่ย เท่ากับ 1,194.8 mm (ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2542-2551) โดยทําการ จํ า ลองสถานการณ์ เ มื่ อ ปริ ม าณน้ํ า ในอ่ า งเก็ บ น้ํ า แก่ ง กระจาน เท่ า กั บ 300 MCM ที่ ต้ น เดื อ นมิ ถุ น ายน (ฤดู ฝ น) และเท่ า กั บ 380 MCM ที่ ต้ น เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ เปรี ย บเที ย บกั บ การจํ า ลอง สถานการณ์ตามแนวทางงานวิจัยโดยการบริหารจัดการน้ําตาม Rule curve เดิมที่ได้สํารวจไว้เมื่อ พ.ศ. 2505 ซึ่งผลการจําลอง แสดงใน Figure 6 และ Figure 7 ตามลําดับ ผลการจําลองสถานการณ์ในฤดูฝน พบว่า ไม่เกิดภาวะการ ขาดน้ําในปีการเพาะปลูกนั้น (ฤดูฝนต่อฤดูแล้งปีถัดไป) แต่ทั้งนี้ การบริหารน้ําในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจานจะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ปฏิบัติอ่างเก็บน้ําแก่งกระจาน (Rule curve) เนื่องจากปริมาณ น้ําในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจานจะอยู่ต่ํากว่า Lower rule curve ในบางช่ ว งเวลา ดั ง นั้ น ถ้ า ปริ ม าณฝนที่ ต กในพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า หรื อ ปริมาณน้ําท่าไหลเข้าอ่างเก็บน้ําน้อยกว่าที่คาดการณ์ อาจเกิด ภาวะการขาดน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ําได้ นั่นคือ พื้นที่ลุ่มน้ํามีความเสี่ยง ที่จะเกิดภาวะการขาดน้ํา ซึ่งจากสถานภาพที่กําหนด ถ้าจะลด ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะการขาดน้ํา ปริมาณน้ําในอ่างเก็บน้ํา แก่งกระจาน ณ ต้นเดือนมิถุนายน ควรมีประมาณ 392 MCM และต้องบริหารจัดการอ่างเก็บน้ําตาม Rule curve

Figure 6 Kaengkrachan reservoir simulation in wet season.

4 สรุป จากการประเมินความเสี่ยงต่อการขาดน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ําผล การวิเคราะห์ได้ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรเก็บกักน้ําต่ําสุดใน อ่างเก็บน้ําแก่งกระจาน ณ ต้นเดือนกรกฎาคมกับปริมาณฝนราย ปี เ ฉลี่ ย ที่ ค่ า ความเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด การขาดแคลนน้ํ า ต่ า งๆ ความสัมพันธ์นี้จะช่วยในการประเมินสถานภาพของน้ําในลุ่มน้ํา และโอกาสที่จะเกิดภาวะการขาดแคลนน้ําในพื้นที่ ซึ่งผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับการใช้น้ําทุกภาคส่วนสามารถใช้เป็นเครื่องมือช่วย การตัดสินใจในการกําหนดการดําเนินกิจกรรมการใช้น้ําต่างๆ ให้ เหมาะสมกั บ สถานภาพน้ํ า นอกจากนี้ ในกรณี ที่ ก ารประเมิ น สถานภาพของน้ําในลุ่มน้ําแสดงให้เห็นว่าจะเกิดการขาดแคลนน้ํา หรือมีค่าความน่าจะเป็นที่จะเกิดการขาดแคลนน้ําสูง ควรจัดสรร น้ําให้แก่ภาคการใช้น้ําต่างๆ ในสัดส่วนที่เท่าๆ กัน ตามหลักความ 21

Thai Society of Agricultural Engineering Journal Vol. 20 No. 2 (2014), 15-23

ะเ

ทศ ไท ย

แสดงสภาวะการขาดน้ํา แสดงว่า แนวทางการจัด สรรน้ํา ของ โครงการเหมาะสมกับสภาพการใช้น้ําในพื้นที่โครงการในปัจจุบัน ดังนั้น จากโค้งปริมาณน้ําในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจานที่เป็นจริง สู ง กว่ า โค้ ง ปริ ม าณน้ํ า ในอ่ า งเก็ บ น้ํ า ที่ ไ ด้ จ ากการจํ า ลอง สถานการณ์ดังแสดงข้างต้น ค่าความเสี่ยงต่อภาวะการขาดน้ําจะ ลดลง แต่ทั้งนี้การบริหารจัดการน้ําไม่ได้แสดงสถานภาพของน้ํา ในอ่างเก็บน้ําที่แท้จริง ทําให้ประสิทธิภาพการใช้น้ําในอ่างเก็บน้ํา ลดลง จึงควรปรับปรุงเกณฑ์ปฏิบัติอ่างเก็บน้ําให้สอดคล้องกับ ลักษณะของอ่างเก็บน้ําที่แท้จริง เพื่อให้สามารถนําน้ําในอ่างเก็บ น้ํามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแนวทางการจัดสรรน้ําของโครงการส่งน้ํา และบํา รุง รัก ษาเพชรบุ รี จะไม่ทําให้ เกิด การขาดแคลนน้ํ า แต่ เพื่ อ ให้ ก ารใช้ น้ํ า ในอ่ า งเก็ บ น้ํ า แก่ ง กระจานเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ จึงควรทบทวนและปรับปรุง Rule curve ใหม่ให้ เหมาะสมกับสภาพของอ่างเก็บน้ําที่แท้จริง และปรับแนวทางการ จัดสรรน้ําให้สอดคล้องกับ Rule curve เพื่อป้องกันความ ผิดพลาดในการจัดสรรน้ํา และลดความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา นอกจากนี้ ควรทําการติดตามและจําลองสถานการณ์น้ําในทุกๆ เดื อ น เพื่ อ ให้ ส ามารถติ ด ตาม ประเมิ น ผล และปรั บ เปลี่ ย น แผนการบริหารจัดการน้ําได้เหมาะสมกับสถานการณ์

สม

าค

มว

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

เป็ น ธรรม (Equity) ซึ่ ง เป็น หลั ก การที่กํ า หนดไว้ ในนิ ย ามของ IWRM ในการจัดสรรน้ําระหว่างภาคการใช้น้ํา เพื่อบรรเทาปัญหา การขาดแคลนน้ํา หรือลดความเสี่ยงที่จะเกิดการขาดแคลนน้ํา และที่สําคัญคือทําให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมการใช้ น้ํา ซึ่ง ช่วยลดความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้ นในการ จัดสรรน้ําระหว่างภาคการใช้น้ํา อย่างไรก็ตาม เกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ําที่ใช้ในปัจจุบันไม่ รองรับลักษณะการใช้น้ําภายในลุ่มน้ําเพชรบุรีที่เปลี่ยนแปลงไป ขอบเขตบนของเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ําสามารถรองรับการใช้ น้ําได้เพียงพอเมื่อมีปริมาณฝนตกไม่น้อยกว่า 1,100 mm ดังนั้น ควรจะมีการปรับปรุงเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ําให้เหมาะสมกับ ลักษณะการใช้น้ําปัจจุบัน อีกทั้ง Rule curve ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ถูกกําหนดให้มีค่าคงที่ในแต่ละเดือนในทุกๆ ปี คือมีลักษณะเป็น Static rule curve ซึ่งไม่สอดคล้องกับสภาพฝนที่เปลี่ยนแปลงใน แต่ละปี อาจทําให้เกิดภาวะการขาดน้ําได้เนื่องจากการระบายน้ํา ออกจากอ่างเก็บน้ําเพื่อควบคุมระดับน้ําในอ่างเก็บน้ําให้เป็นไป ตาม Rule curve ดังนั้น ถ้าสามารถปรับเปลี่ยนเกณฑ์ปฏิบัติการ อ่างเก็บน้ํา ให้เป็ นพลวัติ (Dynamic rule curve) คื อ เปลี่ยนแปลงค่าตามสภาพปัจจุบัน น่าจะช่วยบรรเทาปัญหาการ ขาดแคลนน้ําให้เหมาะสมกับสถานการณ์น้ํามากขึ้น ในการจัดสรรน้ําตามแนวทางการจัดสรรน้ําของโครงการส่ง น้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรีที่ผ่านมาไม่ประสบภาวะการขาดแคลน น้ํา เนื่อ งจากเกณฑ์ กํา หนดการจั ดสรรน้ํ า ถูก พิจ ารณาจากโค้ง ความสัมพันธ์ระหว่างค่าระดับ ความจุ และพื้นที่ผิวน้ําของอ่าง เก็บน้ําแก่งกระจานเดิมที่ได้สํารวจไว้เมื่อ พ.ศ.2505 แต่ในโค้ง ความสัมพันธ์ระหว่างค่าระดับ ความจุ และพื้นที่ผิวน้ําของอ่าง เก็บน้ําแก่งกระจานใหม่ ที่สํารวจในปี พ.ศ.2548 พบว่า ปริมาณ น้ําที่แท้จริงในอ่างเก็บน้ําแก่งกระจานจะมีค่ามากกว่าปริมาณน้ํา ที่ใช้ในการจําลองสถานการณ์การจัดสรรน้ํา ดังแสดงใน Figure 4 ซึ่งเมื่อตรวจสอบปริมาณน้ําในอ่างเก็บน้ําด้วยโค้งความจุอ่างเก็บ น้ําใหม่ ได้ว่า ที่ ความจุ อ่างเก็บ น้ํา เดิม เท่ า กับ 300 และ 380 MCM ความจุ ที่ แ ท้ จ ริ ง จากสํ า รวจใหม่ เท่ า กั บ 400.73 และ 513.85 MCM ตามลํ า ดั บ นั่ น คื อ มี ป ริ ม าณน้ํ า ในการบริ ห าร จัดการมากกว่าที่กําหนดประมาณ 100 และ 133 MCM ซึ่งค่า ความจุที่สํารวจใหม่จะสอดคล้องกับค่าปริมาณน้ําที่ควรจะมีใน อ่ า งเก็ บ น้ํ า คื อ 392 และ 595 MCM ตามลํ า ดั บ เมื่ อ บริ ห าร จัดการอ่างเก็บน้ําด้วย Rule curve ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการจําลอง สถานการณ์ทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้งโดยใช้การบริหารจัดการน้ํา ตาม Rule curve เดิม จะเห็นว่า ผลการจําลองการจัดสรรน้ําก็ไม่ 22

5 กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบคุณโครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรีที่ให้ การสนับสนุนข้อมูลต่างๆ และขอขอบคุณห้องปฏิบัติการวิจัยการ จําลองระบบทรัพยากรน้ําด้วยคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ให้การสนับสนุนแบบจําลองในการ ทําวิจัย จนทําให้งานวิจัยสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี 6 เอกสารอ้างอิง กรมชลประทาน. 2550. โครงการศึกษาวางแผนระบบและติดตั้ง ระบบโทรมาตรเพื่ อ การพยากรณ์ น้ํ า และเตื อ นภั ย ลุ่ ม น้ํ า เพชรบุรี. รายงานฉบับสมบูรณ์. จัดทําโดยบริษัท ทีม คอน ซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จํากัด บริษัท ซีเมนส์ จํากัด และบริษัท ไทยพลัส เทคโนโลยีพลัส จํากัด. กรมทรัพยากรน้ํา. 2552. แผนที่มาตรฐานการแบ่งลุ่มน้ําหลักและ ลุ่มน้ําสาขาของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สํานักวิจัย พั ฒ นาและอุ ท กวิ ท ยา กรมทรั พ ยากรน้ํ า กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ะเ

สม

าค

มว

ิศว กร ร สง มเ วน กษ ลิข ตร สิท แห ธิ์ ่งป ร

กรมทรั พ ยากรน้ํ า . 2553. โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพศู น ย์ ปฏิบัติการพยากรณ์เตือนภัยเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากร น้ํา. รายงานฉบับหลัก. จัดทําโดยบริษัทเซ้าท์อี๊สท์เอเซียเทค โนโลยี่ จํากัด บริษัท ซิกม่า ไฮโดร คอนซัลแตนท์ จํากัด และ บริษัท ทรานเอเซีย คอนซัลแตนท์ จํากัด. ยุทธนา ตาละลักษมณ์. 2556. การบริหารจัดทรัพยากรน้ําในลุ่ม น้ํา เพชรบุ รีแ บบบู ร ณาการ. วิ ท ยานิพ นธ์ วิศ วกรรมศาสตร ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต . ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร : บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สมาน ปราการรัตน์, ปรเมศร์ อมาตยกุล. 2551. ความน่าจะเป็นและ รอบการเกิดซ้ําของปริมาณฝนรอบรายเดือนของประเทศไทย. ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร : สํ า นั ก พั ฒ น า อุ ตุ นิ ย ม วิ ท ย า กรมอุตุนิยมวิทยา. สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. 2548. รายงานผลการสํารวจความจุอ่างเก็บ น้ําแก่งกระจาน. Allen, R. G., L. S. Pereira, D. Raes , M. Smith. 1998. FAO Irrigation and Drainage Paper 56 Crop Evapotranspiration. Rome: Food and Agriculture Organization.

ทศ ไท ย

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (2557), 15-23

23

24-32-Integrated Water Management in Phetchaburi River Basin.pdf ...

Besides, it found that water management, base on static rule curve, let insufficient water use. So the. operation rule curve of Kaengkachan reservoir should be ...

747KB Sizes 101 Downloads 319 Views

Recommend Documents

Benchmarking River Water Quality in Malaysia
The water quality status of rivers in. Malaysia has always been a cause for concern for various local authorities, government agencies as well as the public at large. Rivers in Malaysia are generally considered to be polluted with coherent examples s

pdf-1876\colorado-river-basin-water-management-evaluating-and ...
... the apps below to open or edit this item. pdf-1876\colorado-river-basin-water-management-evaluat ... ility-by-committee-on-the-scientific-bases-of-colo.pdf.

Rapid coastal geomorphic change in the River ... - Lakes Need Water
Granites crop out at Port Elliot and meta- sandstones ..... of Middleton at Port Elliot (W2347 TL age. 266 ^ 34ka ...... Telephone 61 1 8-8226-4946. References.

Rapid coastal geomorphic change in the River ... - Lakes Need Water
2.18 m at Victor Harbor (open ocean) and 1.30 m. (inside the ..... rivers and offshore sources, reduced sand supply ... Eyewitness accounts document dramatic.

Aragvi River Basin Water Balance.PDF
Aragvi River Basin Water Balance.PDF. Aragvi River Basin Water Balance.PDF. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu.

IAEA Nuclear Energy Series Efficient Water Management in Water ...
16 ,QF ,QIRUPDWLRQ %XVLQHVV 'HSW 6DPKR %OGJ QG )ORRU

WATER RESOURCES MANAGEMENT IN TANZANIA-final draft_31 ...
WATER RESOURCES MANAGEMENT IN TANZANIA-final draft_31 july 2012.pdf. WATER RESOURCES MANAGEMENT IN TANZANIA-final draft_31 july 2012.

Qualitative Study of Zohreh River Water Using QUAL2K Model.pdf ...
Page 1 of 8. Qualitative study of Zohreh River water using QUAL2K. model. Mohammad Manshouri. Islamic Azad University, Science and Research Branch. Tehran, Iran. [email protected]. Omid Pourmand. Islamic Azad University, Science and Research Bran

River Basin Transact - Forum for Policy Dialogue on Water ...
Mar 30, 2010 - Media, being the reflection of the society also align the news ... 5 Odia and 1 English News Paper, along with other information and analysis related to Odisha's .... Flash Floods which are common in the Lanjigarh village are.

River Basin Transact - Forum for Policy Dialogue on Water Conflicts in ...
Mar 30, 2010 - ries, comprehending and applying this tool in Indian context is .... Bheden River is heavily polluted due to the industrial effluents. The Bhusan ...

Water-Management-in-the-upper-Mekong-Delta.pdf
Water-Management-in-the-upper-Mekong-Delta.pdf. Water-Management-in-the-upper-Mekong-Delta.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu.

pdf-1829\water-rights-and-principles-of-water-resources-management ...
... apps below to open or edit this item. pdf-1829\water-rights-and-principles-of-water-resource ... nagement-water-project-series-by-chhatrapati-singh.pdf.

Water Resources Update - South Florida Water Management District
Feb 4, 2016 - Meetings website (11/5/15 Meeting Date). 2. Questions about nitrogen to and from Lake. Okeechobee and in Estuary watersheds resulted in ...

water resource management pdf
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. water resource ...