หลักสู ตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวาริชศาสตร์ หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวาริชศาสตร์ หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทั่วไป ๑. ชื่อหลักสู ตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Aquatic Science

๒. ชื่อปริ ญญา ชื่อปริ ญญาภาษาไทย ชื่อปริ ญญาภาษาอังกฤษ อักษรย่อภาษาไทย อักษรย่อภาษาอังกฤษ

: ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (วาริ ชศาสตร์) : Doctor of Philosophy (Aquatic Science) : ปร.ด. (วาริ ชศาสตร์) : Ph.D. (Aquatic Science)

๓. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสู ตร (ถ้ ามี) ไม่มี ๔. จานวนหน่ วยกิตที่เรียนตลอดหลักสู ตร แบบ ๑.๑ (สาเร็จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกว่า ๕๒ หน่วยกิต แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกว่า ๗๘ หน่วยกิต ๕. รู ปแบบของหลักสู ตร ๕.๑ รู ปแบบ เป็ นหลักสูตรระดับปริ ญญาเอก ๕.๒ ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย

๒ ๕.๓ การรับเข้ าศึกษา รับทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ ๕.๔ ความร่ วมมือกับสถาบันอืน่ เป็ นหลักสูตรเฉพาะของสถาบัน ๕.๕ การให้ ปริญญาแก่ ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปริ ญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (สาขาวาริ ชศาสตร์) ๖. สถานภาพของหลักสู ตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสู ตร หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๓ เปิ ดสอน ภาคการศึกษาปลาย ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ สภาวิชาการเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๓ วันที่ ๒๙ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ วันที่ ๒๑ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ๗. ความพร้ อมในการเผยแพร่ หลักสู ตรที่มีคณ ุ ภาพและมาตรฐาน จะขอประเมินหลักสูตรเพือ่ ขึ้นทะเบียนหลักสูตรใน พ.ศ. ๒๕๕๔ และในปี การศึกษา ๒๕๕๗ หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่ หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๘. อาชีพที่สามารถประกอบได้ หลังสาเร็จการศึกษา ประกอบอาชีพอาจารย์ นักวิชาการ นักวิจยั และผูป้ ฏิบตั ิงานเกี่ยวกับงานทางวาริ ชศาสตร์ท้งั ของภาครัฐ และภาคเอกชน และหน่วยงานวิจยั ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ๙. ชื่อ ตาแหน่ ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสู ตร อาจารย์ผูร้ ั บผิดชอบหลักสู ตร ปรัชญาดุ ษฎี บ ัณฑิ ต สาขาวิช าวาริ ชศาสตร์ ประกอบด้ว ยคณาจารย์ ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตร ๓ คนดังนี้ ๑) นายวีรพงศ์ วุฒิพนั ธุช์ ยั เลขประจาตัวประชาชน ๓๑๐๐๕๐๐๑๘xxxx คุณวุฒิ วท.บ (ประมง) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๗ M.Sc (Aquaculture) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๙ Ph.D (Marine Estuarine and Environmental Science) University of Maryland College Park, USA. ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๒ ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

๓ ๒) นายวิภูษิต มัณฑะจิตร เลขประจาตัวประชาชน ๓๑๐๑๕๐๐๑๕xxxx คุณวุฒิ วท.บ (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๗ วท.ม (ชีววิทยาทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๓๐ Ph.D (Marine Biology) James Cook University, Australia ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๑ ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ๓) นางสมถวิล จริ ตควร เลขประจาตัวประชาชน ๓๑๐๐๖๐๒๑๙xxxx คุณวุฒิ วท.บ (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๔ วท.ม (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๗ Ph.D. (Biological Science) University of Portsmouth, UK. ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๔ ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ๑๐. สถานที่จัดการเรียนการสอน จัดการเรี ยนการสอนที่มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ๑๑. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสู ตร ๑๑.๑ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ด้วยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) ที่กาหนดกรอบการ พัฒนาจากการที่ประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในหลายบริ บท ทั้งที่เป็ นโอกาสและ ข้อจากัดต่อการพัฒนาประเทศ จึงต้องมีการเตรี ยมความพร้อมของบุคลากรและระบบให้สามารถปรับตัวพร้อม รับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตและแสวงหาประโยชน์อย่างรู ้เท่าทันโลกาภิวตั น์และสร้างภูมิคุม้ กันให้กบั ทุกภาค ส่วนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งในประเด็นของการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาในกระแส โลกาภิวฒั น์ทางเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด เนื่องจากความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของ เทคโนโลยีดา้ นต่างๆทางวิทยาศาสตร์ ทีส่ ร้างความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งในด้านโอกาส และภัยคุกคาม จึงจาเป็ นต้องเตรี ยมพร้อมให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดงั กล่าวในอนาคต โดย จะต้องมีการบริ หารจัดการองค์ความรู ้อย่างเป็ นระบบ ทั้งการพัฒนาหรื อสร้างองค์ความรู ้ รวมถึงการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาผสมผสานร่ วมกับจุดแข็งในสังคมไทย อาทิ สร้างความเชื่อมโยงเทคโนโลยี และภูมิ

๔ ปั ญญาท้องถิ่น เพือ่ สร้างคุณค่าเพิม่ ให้กบั สินค้าและบริ การ มีการบริ หารจัดการลิขสิทธิ์และสิทธิบตั ร และการ คุม้ ครองทรัพย์สินทางปั ญญาอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งแบ่งปั นผลประโยชน์ที่เป็ นธรรมกับชุมชน เป็ นต้น ด้วยเหตุที่การศึกษาทางด้านวาริ ชศาสตร์ มีความเกี่ ยวข้อ งกับชุ มชน สังคม สิ่ งแวดล้อ ม และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติประเภทต่างๆที่อยูใ่ นน้ า เนื่ องจากขอบเขตของศาสตร์ดา้ นวาริ ชศาสตร์มีความเกี่ยวข้องกับ องค์ความรู ้ดา้ นการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า การประมง นิเวศวิทยาทางน้ า สมุทรศาสตร์ และสิ่งแวดล้อมทางน้ า ซึ่ งต่าง ก็มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีใหม่ๆอยูต่ ลอดเวลา และการศึกษาด้านนี้ ก็สามารถช่วยในการบูรณาการแนวคิด การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในน้ า และยังสามารถผลิตนวัตกรรมต่างๆที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ท้ งั ต่อ ชุ ม ชน หรื อ ผูป้ ระกอบการ จึ งมี ความจาเป็ นที่ตอ้ งพัฒนาหลัก สู ตรวาริ ชศาสตร์ ให้มี ความโดดเด่ นเพื่อ ให้ สามารถผลิตบุคลากรที่มีความสามารถด้านวาริ ชศาสตร์ออกไปช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศชาติ ต่อไป ๑๑.๒ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสั งคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม จานวนประชากรในโลกที่มากขึ้น ได้สร้าง แรงกดดันต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมของโลกให้เสื่ อมโทรมลง ส่ งผลกระทบต่อความแปรปรวน ของสภาพภูมิอากาศ และการเกิดภัยธรรมชาติบ่อยครั้งขึ้น รวมทั้งการเกิดการระบาดและแพร่ เชื้อโรคที่มีรหัส พัน ธุ ก รรมใหม่ ๆ เป็ นเหตุ ใ ห้ เ กิ ด เป็ นข้อ ตกลงระหว่ า งประเทศและสนธิ สั ญ ญาเพื่ อ ให้ มี ก ารดู แ ล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโลกในประเด็นต่างๆ ร่ วมกัน นอกจากนั้น การกีดกันทางการค้าที่เชื่อมโยง กับประเด็นด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมก็มีมากขึ้น ประเทศไทยจึงต้องยกระดับมาตรฐานการ จัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในน้ าให้ดีข้ ึนกว่าเดิม โดยสามารถปกป้ องฐานทรัพยากรเพื่อรักษา ความสมดุ ล ยัง่ ยืน ของระบบนิ เ วศด้ว ยการพัฒ นาระบบบริ ห ารจัด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ท างน้ าให้ มี ประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้กระบวนการมีส่วนร่ วม และปรับรู ปแบบการผลิตสินค้าสัตว์น้ าและบริ การที่เป็ นมิตร กับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ในปั จจุบนั สถานการณ์ดา้ นการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และการประมงของประเทศไทยเริ่ มประสบปั ญหามาก ขึ้นเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรสัตว์น้ าร่ วมกันระหว่างผูป้ ระกอบการ และชุมชน ซึ่งบ่อยครั้งที่ ชุมชน และสังคมได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และการประมง เช่นปั ญหาการทา ประมงชายฝั่ง ปั ญหาความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ า ปั ญหาความเสื่อมโทรมสภาพแวดล้อมในแหล่ง น้ า และปั ญหาสิ่งแวดล้อมชายฝั่ง เป็ นต้น นอกจากนี้ทรัพยากรในแหล่งน้ าจืด และทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่งลดความอุดมสมบูรณ์ลงไปมาก โดยป่ าชายเลนลดลงจาก ๒,๐๐๐,๐๐๐ ไร่ เหลือ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ไร่ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔) และอัตราการจับสัตว์น้ าลดลง ๓ เท่า แหล่งปะการังและหญ้าทะเล มีสภาพเสื่อมโทรม รวมทั้งการกัดเซาะของชายฝั่งทะเลอันเนื่องมาจากการ

๕ เปลี่ยนแปลงของสภาพชั้นบรรยากาศของโลกที่ทาให้ทิศทาง และกระแสลมเปลี่ยนแปลงทาให้มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงทางสภาพทางสมุทรศาสตร์ในทะเลมากขึ้น ซึ่งปั ญหาที่เกิดขึ้นเหล่านี้มีความจาเป็ นอย่างยิง่ ใน การบูรณาการองค์ความรู ้ทางวาริ ชศาสตร์เพือ่ ศึกษาวิจยั แก้ไขปั ญหาเหล่านี้ ที่มกั เกิดมาจากการดาเนินกิจกรรม ของมนุษย์ที่ทาลายถิ่นทีอ่ ยูอ่ าศัยของสิ่งมีชีวติ ชนิดต่างๆ และส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทางน้ า ทาให้อตั ราการสูญพันธุข์ องสัตว์น้ าเพิม่ ขึ้น และคุณภาพสิ่งแวดล้อมในน้ ามีความเสื่อมโทรม ๑๒. ผลกระทบจาก ข้ อ ๑๑.๑ และ ๑๑.๒ ต่ อการพัฒนาหลักสู ตรและความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจของสถาบัน ๑๒.๑ การพัฒนาหลักสู ตร จากปั ญหาและผลกระทบทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า การประมง และการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรสัตว์น้ า รู ปแบบต่างๆที่มีสิ่งแวดล้อมในน้ า ทาให้มีความจาเป็ นที่ภาควิชาวาริ ชศาสตร์ตอ้ งพัฒนาหลักสู ตรปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ ข้ ึนมา โดยให้นิสิตได้เน้นการทาวิจยั เพื่อให้ได้องค์ความรู ้แขนงต่างๆทางวาริ ช ศาสตร์ในการแก้ไขปั ญหาเหล่านั้นตามหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง โดยในขณะเดียวกันนิ สิตต้องสามารถ ตีพมิ พ์ผลงานวิจยั ที่มีคุณภาพเผยแพร่ ในวารสารวิชาการให้ได้ เพือ่ มัน่ ใจได้วา่ เป็ นหลักสูตรที่มีคุณภาพ ๑๒.๒ ความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจของสถาบัน ด้วยเหตุที่มหาวิทยาลัยบูรพา เป็ นสถาบันการศึกษาหลักในภาคตะวันออกที่มุ่งเน้นเป็ นมหาวิทยาลัยวิจยั มี ทาเลที่ต้งั เหมาะสมแก่การศึกษาทางวาริ ชศาสตร์ เพราะอยูใ่ กล้แม่น้ าบางปะกง และทะเลอ่าวไทย ทาให้สามารถ เข้าถึงทรัพยากรในแหล่งน้ าได้ง่าย และภาควิชาวาริ ชศาสตร์ได้เปิ ดสอนทั้งในระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท ทางวาริ ชศาสตร์มาเป็ นเวลานาน และยังมีคณาจารย์ที่มีผลงานวิจยั ทางวาริ ชศาสตร์มาอย่างสม่าเสมอ ประกอบ กับปั ญหาต่างๆด้านวาริ ชศาสตร์มีมากขึ้น จึงสมควรพัฒนาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ ขึ้นมาเพือ่ เปิ ดโอกาสให้นิสิตได้ศึกษาต่อในระดับปริ ญญาเอก เพือ่ ช่วยพัฒนาให้มหาวิทยาลัยบูรพาได้เป็ น มหาวิทยาลัยแห่งการวิจยั ของประเทศต่อไป ๑๓. ความสั มพันธ์ กับหลักสู ตรอื่นที่เปิ ดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่ น รายวิชาที่เปิ ดสอนเพื่อให้ บริการ คณะ/ภาควิชาอืน่ หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอืน่ )

๑๓.๑ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสู ตรอื่น หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ได้เน้นให้นิสิตทาวิจยั เป็ นหลัก โดยมีวชิ าบังคับเป็ นวิชา สัมมนาดุษฎีบณั ฑิต ๔ วิชาสาหรับผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท และสัมมนาดุษฎีบณั ฑิต ๖ วิชาสาหรับ ผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี เท่านั้น ซึ่งถ้านิสิตมีความจาเป็ นต้องปรับพื้นฐานความรู ้สาหรับการวิจยั ก็ สามารถเลือกเรี ยนจากหลักสูตรอื่นได้ท้งั ในและนอกประเทศ โดยอยูใ่ นดุลพินิจของอาจารย์ที่ปรึ กษานิสิต และ คณะกรรมการผูร้ ับผิดชอบหลักสูตร

๖ ๑๓.๒ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนให้ ภาควิชา/หลักสู ตรอื่นต้ องมาเรียน หลักสู ตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ เปิ ดสอนเฉพาะนิ สิตระดับปริ ญญาเอกของภาควิชา วาริ ชศาสตร์เท่านั้น ๑๓.๓ การบริหารจัดการ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์มีการบริ หารจัดการที่ใช้คณะกรรมการผูร้ ับผิดชอบ หลักสูตรเป็ นผูค้ วบคุมคุณภาพการศึกษาร่ วมกับอาจารย์ที่ปรึ กษาของนิสิต โดยจะพิจารณาร่ วมกันว่าถ้านิสิตต้อง เรี ยนบางรายวิชาเพือ่ ปรับพื้นฐานความรู ้สาหรับการวิจยั ควรไปเรี ยนในรายวิชาอะไรบ้าง สาหรับการวิจยั ของ นิสิตจะขึ้นอยูก่ บั การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นหลัก โดยคณะกรรมการผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรจะทาหน้าที่ สรุ ปผลการดาเนินการของรายวิชา และผลการดาเนิ นการของหลักสูตรให้ได้ตามกาหนดการที่กาหนดไว้ในแต่ ละปี

หมวดที่ ๒. ข้ อมูลเฉพาะของหลักสู ตร ๑. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร

๑.๑ ปรั ชญาของหลักสู ตร แบบ ๑.๑ (สาเร็ จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) มุ่งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางวาริ ชศาสตร์ให้มีประสิ ทธิภาพในเชิงวิชาการ และการวิจยั ทาง วาริ ชศาสตร์ รวมทั้งมีคุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยกาหนดให้ผทู ้ ี่สาเร็ จการศึกษาปริ ญญาโทต้องทา ดุษฎีนิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) มุ่งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางวาริ ชศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพในเชิงวิชาการ และการวิจยั ทาง วาริ ชศาสตร์ รวมทั้งมีคุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยกาหนดให้ผทู ้ ี่สาเร็จการศึกษาปริ ญญาตรี ตอ้ งทา ดุษฎีนิพนธ์ ๗๒ หน่ วยกิต

๑.๒ ความสาคัญ การพัฒนาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศที่ จาเป็ นต้องมีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ ที่ ๑๐ ที่กาหนดให้มีการบริ หารจัดการองค์ความรู ้อย่างเป็ นระบบ ทั้งการพัฒนาหรื อสร้างองค์ความรู ้ รวมถึงการ

๗ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ซึ่งการศึกษาในลักษณะการเน้นการทาวิจยั ในระดับปริ ญญาเอกจะช่วยแก้ไข ปั ญหา และตอบโจทย์การวิจยั และบริ หารจัดการองค์ความรู ้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุที่การศึกษาทางด้านวาริ ชศาสตร์มีความเกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า นิเวศวิทยาทางน้ า และสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อมทางน้ า เพือ่ ต้องการให้มีดารงความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความ มัน่ คงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน และเพือ่ สนับสนุนให้ชุมชนมีองค์ความรู ้และสร้างภูมิคุม้ กันเพือ่ คุม้ ครองฐานทรัพยากร และให้มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประกอบกับทาเลที่ต้งั ของมหาวิทยาลัยที่เหมาะสมแก่ การทาวิจยั ด้านวาริ ชศาสตร์ที่อยูใ่ กล้แม่น้ าและทะเล ทาให้มีความจาเป็ นที่ตอ้ งบูรณาการหลักสูตรนี้เพือ่ เพิม่ ศักยภาพแก่ผทู ้ ี่ตอ้ งการศึกษาต่อ และตอบสนองความต้องการของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจยั แห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔) ของสานักงานคณะกรรมการ วิจยั แห่งชาติที่เน้นบูรณาการด้านวิจยั ที่มีคุณภาพเพือ่ การพัฒนาที่สมดุลและยัง่ ยืน ซึ่งการวิจยั หลายๆสาขาทาง วาริ ชศาสตร์เป็ นงานวิจยั เร่ งด่วนของประเทศ หรื อเป็ นยุทธศาสตร์หลักของประเทศ เช่นยุทธศาสตร์การวิจยั ด้าน การสร้างศักยภาพและความสามารถเพือ่ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ทีม่ ุ่งเน้นการวิจยั เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการ สร้างมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรและประมง และยุทธศาสตร์การวิจยั ด้านการสร้างศักยภาพและความสามารถ เพือ่ การพัฒนาทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล ที่มุ่งเน้นการบริ หารจัดการและการใช้ประโยชน์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน เป็ นต้น

๑.๓ วัตถุประสงค์ของหลักสู ตร เพือ่ ผลิตบุคลากรในระดับปริ ญญาเอกทีม่ ีความเชี่ยวชาญในการวิจยั ทางวาริ ชศาสตร์ มีความรู ้ และมี ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และแก้ไขปั ญหาการวิจยั อย่างเป็ นระบบ บนพืน้ ฐานของการมี คุณธรรมและจริ ยธรรมการวิจยั รวมถึงการเป็ นผูน้ าในการพัฒนาความรู ้ใหม่ หรื อนวัตกรรมทางวาริ ชศาสตร์ที่ เหมาะสม ๒. แผนพัฒนาปรับปรุง แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง ๑. ปรับปรุ งหลักสูตรปรัชญา ดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ช ศาสตร์ให้มีมาตรฐานตามความ ต้องการของประเทศและ

กลยุทธ์ ๑. เชิญผูเ้ ชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนมาร่ วมพัฒนาและ ปรับปรุ งหลักสูตร ๒. มีการประเมินหลักสูตรอย่าง

หลักฐาน/ตัวบ่ งชี้ ๑. เอกสารการประสานงานกับผูเ้ ชี่ยวชาญ ๒. รายงานผลการดาเนินการทุกปี ๓. หลักฐานหรื อเอกสารแสดงผลการ ดาเนินงาน



แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ โดยดาเนินการพัฒนา ปรับปรุ งทุกๆ ๕ ปี

กลยุทธ์

หลักฐาน/ตัวบ่ งชี้ สม่าเสมอ ๔. ผูใ้ ช้บณั ฑิตมีความพึงพอใจบัณฑิตโดยเฉลี่ย ๓. คณาจารย์ทุกคนต้องผ่านการ ระดับ ๓.๕ จากระดับ ๕ อบรมหลักสูตรเบื้องต้นเกี่ยวกับ การวัดและประเมินผลเพือ่ ให้มี ความรู ้ในการประเมินผลตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ผสู ้ อน จะต้องสามารถวัดและ ประเมินผลได้เป็ นอย่างดี

หมวดที่ ๓. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้ างของหลักสู ตร ๑. ระบบการจัดการศึกษา ๑.๑ ระบบ หลักสูตรนี้จดั การศึกษาแบบระบบทวิภาค ๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่มี ๑.๓ การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี

๒. การดาเนินการหลักสู ตร ๒.๑ วัน – เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน จัดการเรี ยนการสอนในวันและเวลาราชการ ในบางครั้งถ้าต้องเชิญผูเ้ ชี่ยวชาญมาสอนวันเสาร์ หรื อวัน อาทิตย์ก็จาเป็ นต้องมีการจัดการเรี ยนการสอนนอกเวลาราชการ

๙ ๒.๒ คุณสมบัติของผู้เข้ าศึกษา แบบ ๑.๑ (สาเร็จปริญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์ ) ๑. สาเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาโททางวิทยาศาสตร์ หรื อสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องตามดุลยพินิจของ คณะกรรมการบริ หารหลักสูตร และมีคุณสมบัติเป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ หมายเหตุ : ในกรณี ที่นิสิตมีความจาเป็ นต้องปรับพื้นฐานความรู ้สาหรับการวิจยั นิสิตสามารถเลือก เรี ยนรายวิชาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์หรื อสาขาที่เกี่ยวข้องของ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา หรื อเลือกเรี ยนรายวิชาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ ที่มหาวิทยาลัยบูรพารับรอง ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจา หลักสูตร ๒. มีใบรับรองผลการสอบภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่ง มีคะแนนรวม TOEFL ไม่ต่ากว่า ๕๐๐ (paper-based), ๘๐ (computer-based), IELTS ไม่ต่ากว่า ๕.๕ หรื อ คะแนนในรู ปแบบอื่นๆที่เทียบเคียง ได้และมหาวิทยาลัยบูรพารับรอง หรื อถ้าไม่มีผลการสอบภาษาอังกฤษทีก่ ล่าวมาต้องสอบ BUU English Proficiency Test ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยบูรพากาหนด ๓. สาหรับผูเ้ ข้าศึกษาที่สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท ต้องมีบทความวิจยั ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการที่ มีผทู ้ รงคุณวุฒิกลัน่ กรองตรวจผลงาน (peer-review) หรื อตีพมิ พ์ใน proceedings ที่มีผทู ้ รงคุณวุฒิ กลัน่ กรองตรวจผลงาน ๔. คุณสมบัติอื่นๆ เป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๕. มีหนังสือรับรองจากหัวหน้าหน่วยงาน และ/หรื อ อาจารย์ผเู ้ คยสอนจานวน ๓ คน ๖. มีเอกสารอธิบายงานวิจยั ที่สนใจ (Statement of research interest) (ความยาวไม่เกิน ๕ หน้ากระดาษ A4) แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์ ) ๑. สาเร็จการศึกษาปริ ญญาตรี ทางวิทยาศาสตร์ หรื อเทียบเท่าที่ได้รับคะแนนเฉลี่ยระดับคะแนน เกียรตินิยม และ/หรื ออยูใ่ นร้อยละ ๑๐ แรกของชั้น และมีคุณสมบัติเป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย บูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒. มีใบรับรองผลการสอบภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่ง มีคะแนนรวม TOEFL ไม่ต่ากว่า ๕๐๐ (paper-based), ๘๐ (computer-based), IELTS ไม่ต่ากว่า ๕.๕ หรื อ คะแนนในรู ปแบบอื่นๆที่เทียบเคียง

๑๐ ได้และมหาวิทยาลัยบูรพารับรอง หรื อถ้าไม่มีผลการสอบภาษาอังกฤษทีก่ ล่าวมาต้องสอบ BUU English Proficiency Test ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยบูรพากาหนด ๓. คุณสมบัติอื่นๆ เป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๔. มีหนังสือรับรองจากหัวหน้าหน่วยงาน และ/หรื อ อาจารย์ผเู ้ คยสอนจานวน ๓ คน ๕. มีเอกสารอธิบายงานวิจยั ที่สนใจ (Statement of research interest) (ความยาวไม่เกิน ๕ หน้ากระดาษ A4) ๒.๓ ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้ า ไม่มี ๒.๔ กลยุทธ์ ในการดาเนินการเพื่อแก้ ไขปัญหา / ข้ อจากัดของนักศึกษาในข้ อ ๒.๓ ไม่มี

๒.๕ แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็ จการศึกษาในระยะ ๕ ปี จานวนนิสิต รับเข้าศึกษา (ปี ๑) ปี ๒ ปี ๓ คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา

๒๕๕๓ ๕ -

๒๕๕๔ ๕ ๕ -

ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ๕ ๕ ๕ -

๒๕๕๖ ๕ ๕ ๕ -

๒๕๕๗ ๕ ๕ ๕ ๕

๒.๖ งบประมาณตามแผน ตามที่ได้รับจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ รายการ ๑ งบบุคลากร ๒. งบดาเนินการ ๓. งบลงทุน ๔. งบเงินอุดหนุน รวม

๒๕๕๓ ๑๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๖๐๐

๒๕๕๔ ๑๐๐ ๕๐๐ ๖๕๐ ๕๕๐ ๑,๘๐๐

๒๕๕๕ ๑๕๐ ๖๐๐ ๙๕๐ ๖๐๐ ๒,๓๐๐

(หน่วย : พันบาท) ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๑๕๐ ๒๐๐ ๖๕๐ ๗๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๔๐๐ ๖๕๐ ๗๐๐ ๒,๙๕๐ ๓,๐๐๐

๑๑ ๒.๗ ระบบการศึกษา ใช้ระบบการศึกษาแบบสัมมนา ระบบการศึกษาเป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยเป็ นการจัดการเรี ยนการสอนเต็มเวลา และจัดเป็ นระบบทวิภาค ปี การศึกษาหนึ่งแบ่งออกเป็ น ๒ ภาค การศึกษา คือ ภาคการศึกษาต้น (ภาคเรี ยนที่ ๑) และภาคการศึกษาปลาย (ภาคเรี ยนที่ ๒) และมีขอ้ บังคับเพิม่ เติม ดังนี้ ๑. นิสิตจะต้องผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ตามที่คณะกรรมการบริ หาร หลักสูตรกาหนดภายในภาคการศึกษาที่ ๒ ในกรณี ที่สอบไม่ผา่ นนิสิตสามารถสอบ(เทียบ)ใหม่ ได้อีก สองครั้ง หากไม่ผา่ นจะพ้นสภาพนิสิตปริ ญญาเอก ๒. นิสิตจะต้องผ่านการสอบโครงร่ างดุษฎีนิพนธ์ต่อคณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ ที่มหาวิทยาลัย บูรพาแต่งตั้งเมื่อสอบผ่านการวัดคุณสมบัติและลงทะเบียนเรี ยนดุษฎีนิพนธ์แล้ว ๓. นิสิตจะต้องเขียนดุษฎีนิพนธ์เป็ นภาษาไทย หรื อภาษาอังกฤษ และมีการรายงานความก้าวหน้าต่อ คณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ ๑ ครั้งต่อภาคการศึกษา ๔. นิสิตต้องได้รับการตีพมิ พ์ หรื อตอบรับเพือ่ ตีพมิ พ์ผลงานวิจยั อันเป็ นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ ใน ลักษณะ full paper อย่างน้อย ๒ เรื่ อง ก่อนสาเร็จการศึกษา โดยเรื่ องที่ ๑ ต้องอยูใ่ นวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติในฐานข้อมูลที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรยอมรับ และเรื่ องที่ ๒ อย่างน้อยต้องอยู่ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ตีพมิ พ์ในประเทศไทย หรื อผลงานเทียบเคียงอื่นที่มีคุณภาพ เทียบเท่าที่คณะกรรมการบริ หารหลักสูตรเห็นควร ๒.๘ การเทียบโอนหน่ วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ ามมหาวิทยาลัย (ถ้ ามี) ในกรณี ที่นิสิตจาเป็ นต้อ งปรับพื้นฐานความรู ้สาหรับการวิจยั สามารถเรี ยนได้โดยอยู่ในดุล พินิจของ อาจารย์ที่ปรึ กษา และคณะกรรมการผูร้ ับผิดชอบหลักสู ตร โดยกาหนดให้นิสิตลงทะเบียนเรี ยนแบบไม่ นับ หน่วยกิต โดยมีผลการเรี ยนเป็ น S (ผ่าน) หรื อ U (ไม่ผา่ น) ๓. หลักสู ตรและอาจารย์ ผู้สอน ๓.๑ หลักสู ตร ๓.๑.๑ จานวนหน่ วยกิตรวมตลอดหลักสู ตร แบบ ๑.๑ (สาเร็จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) ไม่นอ้ ยกว่า ๕๒ หน่วยกิต แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) ไม่นอ้ ยกว่า ๗๘ หน่วยกิต

๑๒ ๓.๑.๒ โครงสร้ างหลักสู ตร แบบ ๑.๑ (สาเร็จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) ก. วิชาบังคับ ข. ดุษฎีนิพนธ์ รวมหน่วยกิต แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) ก. วิชาบังคับ ข. ดุษฎีนิพนธ์ รวมหน่วยกิต ๓.๑.๓ รายวิชา แบบ ๑.๑ (สาเร็จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) ก. วิชาบังคับ ๓๐๙๗๙๓ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๓ Doctoral Seminar 3 ๓๐๙๗๙๔ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๔ Doctoral Seminar 4 ๓๐๙๗๙๕ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๕ Doctoral Seminar 5 ๓๐๙๗๙๖ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๖ Doctoral Seminar 6 ข. ดุษฎีนิพนธ์ ๓๐๙๘๙๘ ดุษฎีนิพนธ์ Doctoral Dissertation แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) ก. วิชาบังคับ ๓๐๙๗๙๑ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๑ Doctoral Seminar 1 ๓๐๙๗๙๒ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๒ Doctoral Seminar 2

๔ หน่วยกิต ๔๘ หน่วยกิต ๕๒ หน่ วยกิต ๖ หน่วยกิต ๗๒ หน่วยกิต ๗๘ หน่วยกิต

หน่วยกิต ๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑) หน่วยกิต ๔๘(๐-๙๖-๔๘)

หน่วยกิต ๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑)

๑๓ ๓๐๙๗๙๓

สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๓ Doctoral Seminar 3 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๔ Doctoral Seminar 4 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๕ Doctoral Seminar 5 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๖ Doctoral Seminar 6

๑(๐-๒-๑)

ข. ดุษฎีนิพนธ์ ๓๐๙๘๙๙ ดุษฎีนิพนธ์ Doctoral Dissertation

หน่วยกิต ๗๒(๐-๑๔๔-๗๒)

๓๐๙๗๙๔ ๓๐๙๗๙๕ ๓๐๙๗๙๖

๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑)

ความหมายของเลขรหัสวิชา เลขรหัส ๓๐๙ หมายถึง สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ เลขรหัสตัวที่ ๔ หมายถึง ชั้นปี ที่เปิ ดสอน เลขรหัสตัวที่ ๕ หมายถึง หมวดวิชา เลขรหัสตัวสุดท้าย หมายถึง ลาดับรายวิชาในหมวดวิชาของเลขรหัสตัวกลาง ๓.๑.๔ แผนการศึกษา แบบ ๑.๑ (สาเร็จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) ๓๐๙๘๙๘ ๓๐๙๗๙๓

ปี ที่ ๑ ภาคการศึกษาต้น ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๓ รวม

๖(๐-๑๒-๖) ๑(๐-๒-๑) ๗ หน่วยกิต

๓๐๙๘๙๘ ๓๐๙๗๙๔

ปี ที่ ๑ ภาคการศึกษาปลาย ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๔ รวม

๖(๐-๑๒-๖) ๑(๐-๒-๑) ๗ หน่วยกิต

๑๔

๓๐๙๘๙๘ ๓๐๙๗๙๕

ปี ที่ ๒ ภาคการศึกษาต้น ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๕ รวม

๖(๐-๑๒-๖) ๑(๐-๒-๑) ๗ หน่วยกิต

๓๐๙๘๙๘ ๓๐๙๗๙๖

ปี ที่ ๒ ภาคการศึกษาปลาย ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๖ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑(๐-๒-๑) ๑๑ หน่ วยกิต

๓๐๙๘๙๘

ปี ที่ ๓ ภาคการศึกษาต้น ดุษฎีนิพนธ์ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑๐ หน่วยกิต

๓๐๙๘๙๘

ปี ที่ ๓ ภาคการศึกษาปลาย ดุษฎีนิพนธ์ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑๐ หน่วยกิต

แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) ปี ที่ ๑ ภาคการศึกษาต้น ๓๐๙๘๙๙ ดุษฎีนิพนธ์ ๓๐๙๗๙๑ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๑ รวม ๓๐๙๘๙๙ ๓๐๙๗๙๒

ปี ที่ ๑ ภาคการศึกษาปลาย ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๒ รวม

๖(๐-๑๒-๖) ๑(๐-๒-๑) ๗ หน่วยกิต ๖(๐-๑๒-๖) ๑(๐-๒-๑) ๗ หน่วยกิต

๑๕ ๓๐๙๘๙๙ ๓๐๙๗๙๓

ปี ที่ ๒ ภาคการศึกษาต้น ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๓ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑(๐-๒-๑) ๑๑ หน่ วยกิต

๓๐๙๘๙๙ ๓๐๙๗๙๔

ปี ที่ ๒ ภาคการศึกษาปลาย ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๔ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑(๐-๒-๑) ๑๑ หน่ วยกิต

๓๐๙๘๙๙ ๓๐๙๗๙๕

ปี ที่ ๓ ภาคการศึกษาต้น ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๕ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑(๐-๒-๑) ๑๑ หน่ วยกิต

๓๐๙๘๙๙ ๓๐๙๗๙๖

ปี ที่ ๓ ภาคการศึกษาปลาย ดุษฎีนิพนธ์ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๖ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑(๐-๒-๑) ๑๑ หน่ วยกิต

๓๐๙๘๙๙

ปี ที่ ๔ ภาคการศึกษาต้น ดุษฎีนิพนธ์ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑๐ หน่วยกิต

๓๐๙๘๙๙

ปี ที่ ๔ ภาคการศึกษาปลาย ดุษฎีนิพนธ์ รวม

๑๐(๐-๒๐-๑๐) ๑๐ หน่วยกิต

๑๖ ๓.๑.๕ คาอธิบายรายวิชา ๑๗.๖.๑ วิชาบังคับ ๓๐๙๗๙๑ สั มมนาดุษฎีนิพนธ์ ๑ ๑(๐-๒-๑) Doctoral Seminar 1 กระบวนการวิจยั และกรอบแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ และฝึ กปฏิบตั ิ Research methodology and conceptual framework in science and its practicum. ๓๐๙๗๙๒

สั มมนาดุษฎีนิพนธ์ ๒ ๑(๐-๒-๑) Doctoral Seminar 2 เทคนิคการค้นคว้างานทางวิทยาศาสตร์ การรวบรวมแนวความคิด และการวิจารณ์ Techniques utilized in searching scientific papers, integration of conceptual idea and evaluation of published science. ๓๐๙๗๙๓

สั มมนาดุษฎีนิพนธ์ ๓ ๑(๐-๒-๑) Doctoral Seminar 3 คุณธรรม และจริ ยธรรมในการทาวิจยั และเผยแพร่ ผลงาน และระเบียบวิธีวจิ ยั ทางวาริ ชศาสตร์ Moral and ethics associated with performing research and disseminating of scientific works and research methods in aquatic science. ๓๐๙๗๙๔

๓๐๙๗๙๕

สั มมนาดุษฎีนิพนธ์ ๔ ๑(๐-๒-๑) Doctoral Seminar 4 รวบรวมงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ นาเสนอ และอภิปราย Integration of research data related with doctoral dissertation, presentation and discussion.

สั มมนาดุษฎีนิพนธ์ ๕ ๑(๐-๒-๑) Doctoral Seminar 5 เทคนิค และขั้นตอนการเขียนผลงานวิจยั เพือ่ ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ Technique and steps associated with writing scientific papers for publishing in the national and international peer-reviewed journals.

๑๗ ๓๐๙๗๙๖

สั มมนาดุษฎีนิพนธ์ ๖ ๑(๐-๒-๑) Doctoral Seminar 6 นาเสนอ อภิปราย และรายงานผลงานวิจยั ในที่สาธารณะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั ผูท้ รงคุณวุฒิ Presentation, discussion and reporting of doctoral research in the public and exchange of relevant research information with the experts. ๑๗.๖.๒ ดุษฎีนิพนธ์ ๓๐๙๘๙๘ ดุษฎีนิพนธ์ (สาเร็จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) ๔๘(๐-๙๖-๔๘) Doctoral Dissertation การวิจยั สร้างองค์ความรู ้ใหม่ทางด้านวาริ ชศาสตร์ ด้วยการรวบรวมข้อมูล ดาเนินการตามระเบียบวิธี วิจยั วิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูล และจัดทารายงานการวิจยั อย่างเป็ นระบบบนพื้นฐานของการมีคุณธรรม และจริ ยธรรม Innovation of aquatic science research based on implementation of data collection, research methodology, analysis and synthesis of data and accomplishment of research report under systematic approaches with moral and ethics. ดุษฎีนิพนธ์ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) ๗๒(๐-๑๔๔-๗๒) Doctoral Dissertation การวิจยั สร้างองค์ความรู ้ใหม่ทางด้านวาริ ชศาสตร์ ด้วยการรวบรวมข้อมูล ดาเนินการตามระเบียบวิธี วิจยั วิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูล และจัดทารายงานการวิจยั อย่างเป็ นระบบบนพื้นฐานของการมีคุณธรรม และจริ ยธรรม Innovation of aquatic science research based on implementation of data collection, research methodology, analysis and synthesis of data and accomplishment of research report under systematic approaches with moral and ethics. ๓๐๙๘๙๙

๑๘ ๓.๒ ชื่อ ตาแหน่ งและคุณวุฒิของอาจารย์ ๓.๒.๑ อาจารย์ ประจาหลักสู ตร (๑) นายวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย เลขประจาตัวประชาชน ๓๑๐๐๕๐๐๑๘xxxx คุณวุฒิ วท.บ. (ประมง)เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๗ M.Sc. (Aquaculture) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๙ Ph.D. (Marine Estuarine and Environmental Science) University of Maryland College Park, USA ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๒ ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว ๓๐๙๓๗๑ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๔๗๘ เทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๔๗๙ การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุแ์ ละตัวอ่อนของสัตว์น้ า ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๓๗๒ อาหารสัตว์น้ า ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๕๐๑ วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๕๑๑ เทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๕๒๑ การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุแ์ ละตัวอ่อนของสัตว์น้ า ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๕๒๓ วิทยาต่อมไร้ท่อของปลา ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๕๒๘ วิทยาต่อมไร้ท่อของครัสเตเซีย ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๕๓๖ ผลกระทบของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าต่อสิ่งแวดล้อม ๓(๓-๐-๖) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ ๓๐๙๗๙๕ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๕ ๑(๐-๒-๑) ๓๐๙๗๙๖ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๖ ๑(๐-๒-๑) (๒) นายวิภูษิต มัณฑะจิตร เลขประจาตัวประชาชน ๓๑๐๑๕๐๐๑๕xxxx คุณวุฒิ วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๖ วท.ม. (ชีววิทยาทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๙ Ph.D. (Marine Biology) James Cook University, Australia ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๔๑

๑๙ ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว ๓๐๙๕๖๑ นิเวศวิทยาแหล่งน้ าขั้นสูง ๓๐๑๕๑๑ การออกแบบการทดลองในการวิเคราะห์สถิติ ๓๐๙๔๐๑ ระเบียบวิธีวจิ ยั ทางวาริ ชศาสตร์ ๓๐๙๔๖๕ นิเวศวิทยาแนวปะการัง ๓๑๓๕๘๒ การจัดการสิ่งแวดล้อม ๓๑๓๖๒๒ เทคนิคการวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ ๓๐๙๗๙๕ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๕

๓(๓-๐-๖) ๓(๓-๐-๖) ๑(๐-๒-๑) ๓(๒-๓-๔) ๓(๓-๐-๖) ๒(๒-๐-๔) ๑(๐-๒-๑)

(๓) นางสมถวิล จริตควร เลขประจาตัวประชาชน ๓๑๐๐๖๐๒๑๙xxxx คุณวุฒิ วท.บ.(วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๓ วท.ม.(วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๒๖ Ph.D.(Biological Science) University of Portsmouth, USA. ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๔ ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว ๓๐๙๕๔๓ สมุทรศาสตร์ชีวภาพขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๓๗๑ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ๓(๓-๐-๖)) ๓๐๙๔๖๑ นิเวศวิทยาทางน้ า ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๓๖๑ นิเวศวิทยาจุลชีพในแหล่งน้ า ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๕๐๑ วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๓๒๕ แพลงก์ตอนวิทยาเบื้องต้น ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๔๖๓ นิเวศวิทยาทางทะเล ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๕๖๒ แพลงก์ตอนวิทยาขั้นสูง ๓(๒-๓-๔)

๒๐ ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ ๓๐๙๗๙๑ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๑ ๓๐๙๗๙๓ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๓

๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑)

(๔) นางปภาศิริ บาร์ เนท เลขประจาตัวประชาชน ๓๑๒๐๑๐๐๙xxxx คุณวุฒิ วท.บ.(ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๕ วท.ม.(วิทยาศาสตร์การประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๗ Ph.D.( Aquaculture) Clemson University, USA. ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๕ ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว ๓๐๙๔๗๘ โรคและพยาธิสตั ว์น้ า ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๕๗๒ โรคและสุขภาพสัตว์น้ า ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๓๗๖ การเพาะเลี้ยงครัสเตเซีย ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๕๗๙ ภูมิคุม้ กันวิทยาของสัตว์น้ า ๓(๒-๓-๔) ๓๐๙๕๓๕ ภูมิคุม้ กันวิทยาของปลาต่อสารพิษ ๓(๓-๐-๖) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ ๓๐๙๗๙๓ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๓ ๑(๐-๒-๑) (๕) นายบุญรัตน์ ประทุมชาติ เลขบัตรประชาชน ๓๒๐๐๑๐๑๓๓xxxx คุณวุฒิ วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ บางแสน ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๙ วท.ม. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๓๔ Ph.D. (Aquatic Sciences) Universidade do Porto, Portugal ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๔ ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว ๓๐๙๓๗๑ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ๓(๓-๐-๖) ๓๐๙๓๗๒ การเพาะพันธุส์ ตั ว์น้ า ๓(๒-๓-๔)

๒๑ ๓๐๙๓๗๓ ๓๐๙๔๗๖ ๓๒๒๓๗๑ ๓๒๒๔๗๒ ๓๒๒๓๗๒ ๓๒๒๓๗๒ ๓๒๒๓๐๑ ๓๒๒๔๗๓

การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง ธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ธุรกิจการเพาะเลี้ยงและการจัดการฟาร์มสัตว์น้ า การเพาะพันธุส์ ตั ว์น้ า อาหารสัตว์น้ า พันธุศาสตร์สตั ว์น้ า การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง

ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ ๓๐๙๗๙๑ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๑ ๓๐๙๗๙๖ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ ๖ ๓.๒.๒ อาจารย์ ประจา (๑) นายวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย คุณวุฒิ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ภาระการสอนที่มีอยูแ่ ล้ว (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ภาระการสอนในหลักสูตรที่เปิ ดสอนใหม่(ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) (๒) นายวิภูษิต มัณฑะจิตร คุณวุฒิ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) (๓) นางสมถวิล จริตควร คุณวุฒิ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร)

๓(๒-๓-๔) ๓(๓-๐-๖) ๓(๓-๐-๖) ๓(๓-๐-๖) ๓(๒-๓-๔) ๓(๒-๓-๔) ๓(๓-๐-๖) ๓(๒-๓-๔) ๑(๐-๒-๑) ๑(๐-๒-๑)

๒๒ (๔) นางปภาศิริ บาร์ เนท คุณวุฒิ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) (๕) นายบุญรัตน์ ประทุมชาติ คุณวุฒิ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ภาระการสอนที่มีอยูแ่ ล้ว (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ภาระการสอนในหลักสูตรที่เปิ ดสอนใหม่ (ดู ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร) ๓.๒.๓ อาจารย์ พิเศษ (๑) นายไพศาล สิ ทธิกรกุล คุณวุฒิ กศ.บ.(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๑๕ วท.ม.(สัตววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศีกษา ๒๕๑๗ M.A.(Cell Biology) University of Kansas-Lawrence, USA ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๖ Ph.D.(Zoology) University of Wisconsin-Madison, USA ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๓๐ ตาแหน่ งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ (๒) นายแพทย์ บุญเสริม วิทยชานาญกุล คุณวุฒิ B.Sc. (Science) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยมหิดล ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๑๓ M.D. (Medical Health Science) มหาวิทยาลัยมหิ ดล ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๑๖ Ph.D.(Neuroendocrinology) University of Rochester, Rochester, NY, USA ปี ที่สาเร็จ การศึกษา ๒๕๒๑ ตาแหน่ งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑)

๒๓ (๓) นายเปี่ ยมศักดิ์ เมนะเศวต คุณวุฒิ B.Sc.(Fisheries) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๑๓ M.Sc.(Fisheries) University of Washington, U.S.A. ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๑๕ Ph.D.(Fisheries) University of Washington, U.S.A. ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๑๗ ตาแหน่ งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ (๔) นายไทยถาวร เลิศวิทยาประสิทธิ์ คุณวุฒิ วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๒๔ วท.ม. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๓๐ Ph.D.(Marine Ecological Chemistry) Ehime University, Japan ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๓๓ ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) (๕) นางสาวจิราภรณ์ ไตรศักดิ์ คุณวุฒิ วท.บ.(ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๒๙ วท.ม.(วิทยาศาสตร์การประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๓๓ M.Sc.(Fisheries Science) Oregon State University ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๓๖ Ph.D.(Fisheries Science) Oregon State University ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๔๔ ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) (๖) นายพิชาญ สว่ างวงศ์ คุณวุฒิ วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล)เกียรตินิยม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๑๑ วท.ม. (สมุทรศาสตร์สกายะและเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๑๗ Ph.D. (Marine Estuarine and Environmental Science) University of Maryland, USA. ปี การศึกษาที่จบ ๒๕๓๔

๒๔ ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) (๗) Dr. Federick W.H. Beamish คุณวุฒิ B.Sc. (Biology) University of Toronto, Canada ปี ที่สาเร็ จการศึกษ ๒๕๐๑ M.Sc./Ph.D. (Environmental Physiology) University of Toronto, Canada ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๐๕ ตาแหน่ งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) (๘) Dr. Brian W. Szuster คุณวุฒิ B.Sc.(Geography), University of Alberta ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๙ M.A.(Geography), Simon Fraser University ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๓๕ Ph.D.(Geography), University of Victoria ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๔๔ ตาแหน่ งทางวิชาการ Assistant Professor ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑) (๙) Dr. Mark Flaherty คุณวุฒิ B.E.S.(Urban and Regional Planning), University of Waterloo ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ๒๕๑๘ M.A.(Geography) University of Guelph ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๑ Ph.D.(Geography) McMaster University ปี ที่สาเร็จการศึกษา ๒๕๒๘ ตาแหน่ งทางวิชาการ Professor ผลงานทางวิชาการ (ดูภาคผนวก เอกสารหมายเลข ๑)

๒๕ ๔. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึ กงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ ามี) ไม่มี ๕. ข้ อกาหนดเกีย่ วกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย ๕.๑ คาอธิบายโดยย่ อ การศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิตสาขาวิชา สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ กาหนดให้นิสิตทา วิทยานิพนธ์ที่บูรณาการความรู ้ของการวิจยั เพือ่ แก้ไขปั ญหาทรัพยากรทางน้ า หรื อสร้างองค์ความรู ้ใหม่ของ วาริ ชศาสตร์ทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า นิเวศวิทยาทางน้ า สมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อมทางน้ า หรื อสาขา ใกล้เคียงที่มีความเกี่ยวข้องกับวาริ ชศาสตร์ โดยนิสิตต้องมีการทดลองในห้องปฏิบตั ิการ หรื อทดลองใน สภาพแวดล้อมจริ งเพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลที่สามารถนามาวิเคราะห์ และอภิปรายด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่าง เป็ นระบบ ๕.๒ มาตรฐานผลการเรียนรู้ นิสิตต้องมีผลงานวิจยั ที่มีคุณภาพ และสามารถตีพมิ พ์เผยแพร่ งานวิจยั ในวารสารวิชาการก่อนสาเร็จ การศึกษา และมีมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ตามกรอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ของบัณฑิตของสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาทั้งด้านคุณธรรมจริ ยธรรม ความรู ้ ทักษะทางปั ญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะในการวิเคราะห์ การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ และทักษะเชิงวิชาชีพ ๕.๓ ช่ วงเวลา การทางานวิจยั ของนิสิตกาหนดให้นิสิตได้เริ่ มทางานวิจยั ทันทีในภาคเรี ยนแรกที่นิสิตเริ่ มเข้ามาศึกษา ๕.๔ จานวนหน่ วยกิต แบบ ๑.๑ (สาเร็จปริ ญญาโท ทาดุษฎีนิพนธ์) มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่นอ้ ยกว่า ๕๒ หน่วยกิตโดย ประกอบด้วยวิชาบังคับ ๔ หน่วยกิต และดุษฎีนิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต แบบ ๑.๒ (สาเร็จปริ ญญาตรี ทาดุษฎีนิพนธ์) มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่นอ้ ยกว่า ๗๘ หน่วยกิตโดย ประกอบด้วยวิชาบังคับ ๖ หน่วยกิต และดุษฎีนิพนธ์ ๗๒ หน่วยกิต ๕.๕ การเตรียมการ นิสิตที่เข้ามาศึกษาในหลักสูตรจะได้รับการปฐมนิเทศจากมหาวิทยาลัย และภาควิชาวาริ ชศาสตร์ในการ แนะนาให้เริ่ มทาการวิจยั และอาจกาหนดให้มีการเรี ยนบางรายวิชาเพิม่ เติมเพือ่ ปรับฐานความรู ้พ้นื ฐานของนิสิตใน การทาวิจยั โดยคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและอาจารย์ที่ปรึ กษาจะร่ วมกันพิจารณาความเหมาะสมของการปรับ

๒๖ พืน้ ฐานของนิสิตเป็ นรายๆไป รวมทั้งการประสานงานเพือ่ ให้นิสิตได้มีโอกาสทาวิจยั ร่ วมกับนักวิจยั ในประเทศหรื อ ต่างประเทศให้เหมาะสมกับความต้องการต่อไป ๕.๖ กระบวนการประเมินผล การควบคุมงานวิจยั ของนิสิตให้มีคุณภาพ กาหนดให้นิสิตต้องมีการรายงานความก้าวหน้างานวิจยั ต่อ คณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ ๑ ครั้งต่อภาคการศึกษา และต้องพบอาจารย์ที่ปรึ กษาอย่างน้อยเดือนละ ๑ครั้ง ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาในหลักสูตร ซึ่งตัวชี้วดั ในการประเมินผลการวิจยั ได้กาหนดให้นิสิตต้องมีผลงานวิจยั ตีพมิ พ์อย่างน้อย ๒ เรื่ องก่อนสาเร็จการศึกษา โดยเรื่ องที่ ๑ ต้องอยูใ่ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติใน ฐานข้อมูลที่คณะกรรมการบริ หารหลักสูตรยอมรับ และเรื่ องที่ ๒ อย่างน้อยต้องอยูใ่ นวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ตีพมิ พ์ในประเทศไทย หรื อผลงานเทียบเคียงอื่นที่มีคุณภาพเทียบเท่าที่คณะกรรมการบริ หาร หลักสูตรเห็นควร

หมวดที่ ๔. ผลการเรียนรู้ และ กลยุทธ์ การสอนและการประเมินผล ๑. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ ด้านความสามารถในการคิดและ ดาเนินการวิจยั ได้โดยอิสระ ทักษะด้านภาวะผูน้ าและความ รับผิดชอบ และการมีวนิ ยั

กลยุทธ์ หรือกิจกรรมของนักศึกษา มีการสอบวัดคุณสมบัติ สอบโครงร่ างดุษฎีนิพนธ์ และตีพมิ พ์ผลงานวิจยั รวมทั้งมีความสามารถในการนาเสนอ และต้องพบอาจารย์ที่ปรึ กษาอย่าง น้อยเดือนละ ๑ ครั้ง กาหนดให้นิสิตต้องทาดุษฎีนิพนธ์ ที่ตอ้ งให้เวลาส่วนใหญ่ในการทดลอง สังเคราะห์และวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลของอาจารย์ที่ ปรึ กษา และต้องมีการรายงานความก้าวหน้าของงานวิจยั เทอมละ ๑ ครั้ง รวมทั้งมีกิจกรรมกลุ่มในวิชาสัมมนาดุษฎีบณั ฑิตที่ส่งเสริ มให้นิสิตมี ความรับผิดชอบ

๒. การพัฒนาผลการเรียนรู้ ในแต่ ละด้ าน ๒.๑ คุณธรรมจริ ยธรรม ๒.๑.๑ ผลการเรี ยนรู ้ดา้ นคุณธรรมจริ ยธรรม (๑) สามารถวินิจฉัย และจัดการปั ญหาที่เกิดขึ้นในสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและยุติธรรม โดยคานึงถึงคุณธรรม และจริ ยธรรม ด้วยหลักฐาน และหลักการทีม่ ีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์

๒๗ (๒) มีคุณธรรมและจริ ยธรรมวิชาชีพทางด้านวาริ ชศาสตร์ (๓) เป็ นผูน้ าในการส่งเสริ มให้มีการประพฤติ ปฏิบตั ิตามหลักคุณธรรม จริ ยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพวิทยาศาสตร์ในสังคม ๒.๑.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พฒั นาการเรี ยนรู ้ดา้ นคุณธรรมจริ ยธรรม ภาควิชาวาริ ชศาสตร์กาหนดให้นิสิตที่ศึกษาในระดับปริ ญญาเอกต้องมีความรับผิดชอบในการ วิจยั ที่มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ โดยนิสิตต้องทราบว่าการทางานวิจยั ที่มีคุณภาพสูงควรมีจรรยาบรรณอย่างไร ตั้งแต่เริ่ มต้นการวางแผนการทดลอง การทดลอง การประมวลผล และการตีพมิ พ์ผลงานวิจยั โดยคณาจารย์ ผูส้ อนและอาจารย์ที่ปรึ กษามีการสอดแทรกเรื่ องคุณธรรมและจริ ยธรรมทางวาริ ชศาสตร์ในการสอนในวิชา สัมมนาและดุษฎีนิพนธ์ รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริ มคุณธรรม และจริ ยธรรม ๒.๑.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นคุณธรรม จริ ยธรรม (๑) ประเมินจากความถูกต้องและน่าเชื่อถือของข้อมูลวิจยั เมื่อนิสิตทาการวิจยั (๒) ประเมินจากการมีวินัยและการมี ส่วนร่ วมของนิ สิตในการเข้าร่ วมกิจกรรมของภาควิชาฯ คณะและมหาวิทยาลัย (๓) ปริ มาณการกระทาทุจริ ตในการลอกข้อมูล ในการทาวิจยั และเผยแพร่ งาน ๒.๒ ความรู ้ ๒.๒.๑ ผลการเรี ยนรู ้ดา้ นความรู ้ (๑) มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในหลักการและทฤษฏีวทิ ยาศาสตร์และสาขาวาริ ชศาสตร์ (๒) มีความสามารถในการวิจยั และการปฏิบตั ิการทางด้านวาริ ชศาสตร์ (๓) สามารถติดตามความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์อื่นๆที่มี ผลกระทบต่อวิชาชีพและสังคมในระดับชาติและนานาชาติ ๒.๒.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พฒั นาการเรี ยนรู ้ดา้ นความรู ้ การสอนในหลักสูตรใช้หลากหลายรู ปแบบ โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญในการศึกษาวิจยั ด้วย ตนเองเป็ นส่วนใหญ่ โดยกาหนดให้เรี ยนในรายวิชาสัมมนาที่ครอบคลุมความรู ้พ้นื ฐานและความก้าวหน้าใหม่ๆ ทางวาริ ชศาสตร์ เพือ่ ให้นิสิตได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการอภิปรายร่ วมกัน และได้เพิม่ พูนความรู ้จาก คณาจารย์ และผูเ้ ชี่ยวชาญที่เชิญมาสอน นอกจากนี้มีการจัดให้นิสิตมีการเรี ยนรู ้จากการศึกษาดูงานหรื อเชิญ ผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงเฉพาะด้านมาเป็ นวิทยากรพิเศษ

๒๘ ๒.๒.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นความรู ้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและการวิจยั ของนิสิต ในด้านต่างๆ ทั้งการมีส่วนร่ วมในการ อภิปรายสัมมนาในชั้นเรี ยน และความสามารถในการวิจยั และการได้นาเสนอผลงานวิจยั ในที่ประชุมวิชาการ ต่างๆ ทั้งในระดับประเทศหรื อต่างประเทศ ๒.๓ ทักษะทางปั ญญา ๒.๓.๑ ผลการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะทางปั ญญา (๑) สามารถใช้ความรู ้ความเข้าใจทางวาริ ชศาสตร์ในการวิเคราะห์ประเด็นปั ญหา และพัฒนาแนว ทางแก้ไขปั ญหาทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์ (๒) มีความสามารถในการวางแผนการทดลอง และการวิจยั ทางวาริ ชศาสตร์ได้ดว้ ยตนเอง (๓) สามารถบูรณาการแนวความคิดใหม่ในการประยุกต์ใช้ผลงานวิจยั ในสถานการณ์จริ ง ๒.๓.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะทางปั ญญา (๑) กาหนดให้นิสิตนาเสนองานวิจยั ในวิชาสัมมนาที่เป็ นองค์ความรู ้ใหม่ทางวาริ ชศาสตร์อย่าง ต่อ เนื่ อ ง โดยนิ สิต จะได้รับความรู ้เ พิ่มเติม การวิจยั เฉพาะด้านจากคณาจารย์ และวิทยากรรับเชิ ญทั้ง จากใน ประเทศและต่างประเทศที่มีประสบการณ์วจิ ยั มาบรรยายให้นิสิตฟังอย่างสม่าเสมอ (๒) กาหนดให้นิสิตพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจยั เพือ่ สอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์อย่างเป็ นระบบ (๓) กาหนดให้นิสิตมีการสอบวัดความรู ้แบบข้อเขียนและปากเปล่า (๔) มีการสอนในวิชาสัมมนาให้นิสิตสามารถเขียนบทความวิชาการ เพือ่ ให้สามารถตีพมิ พ์ได้ใน วารสารนานาชาติ โดยสอนให้ทราบในประเด็นการเขียนผลงานวิจยั เป็ นภาษาอังกฤษที่มีคุณภาพควรทาอย่างไร ตั้งแต่การเขียนบทนา หลักการและเหตุผล วิธีทดลอง ผลการทดลอง และการอภิปรายผลการทดลอง รวมทั้งการ เสนอผลงานวิจยั เพือ่ ตีพมิ พ์ในวารสารนานาชาติที่มี impact factor ควรทาอย่างไรเพื่อให้บทความวิจยั นั้นได้รับ การตีพมิ พ์ ๒.๓.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะทางปั ญญา ประเมินจากความก้าวหน้าของนิสิตในการบูรณาการองค์ความรู ้ เพือ่ พัฒนาข้อเสนอ โครงการวิจยั และการวัดความรู ้ ข้อเขียนและปากเปล่า และความก้าวหน้าของงานวิจยั รวมทั้งการได้รับการ ตีพมิ พ์ผลงานวิชาการวารสารวิชาการนานาชาติ และพัฒนาการของนิสิตในการเขียน full paper ที่เป็ น ภาษาอังกฤษ ๒.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๒.๔.๑ ผลการเรี ยนรู ้ดา้ นความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ (๑) มีความสามารถสูงในการแก้ไขปั ญหาทางวิชาการได้ดว้ ยตนเอง

๒๙ (๒) สามารถรับผิดชอบการดาเนินงาน การประเมิน และปรับปรุ งตนเองและองค์กรให้มี ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงานได้ (๓) ภาวะผูน้ าและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ๒.๔.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาผลการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในรายวิชาสัมมนาให้นิสิตเรี ยนรู ้แบบการมีส่วนร่ วมในการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นทางวิชาการอย่างอิสระ ฝึ กการทางานเป็ นกลุ่มตลอดจนมีการสอดแทรกเรื่ องความรับผิดชอบต่อ ตนเองและสังคม การมีมนุษยสัมพันธ์ การเรี ยนรู ้ความแตกต่างระหว่างบุคคล การเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กร เข้าไปในรายวิชาสัมมนา และมีความรับผิดชอบในจริ ยธรรมการวิจยั ๒.๔.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากความสาเร็จในการทาวิจยั เพือ่ ให้ได้องค์ความรู ้ใหม่ ความรับผิดชอบของนิสิตต่อ งานวิจยั ที่ได้ดาเนินการวิจยั ความตรงเวลา การมีมนุษยสัมพันธ์ในการทางานร่ วมกันกับผูอ้ ื่น และความ รับผิดชอบของนิสิตในการนาเสนอผลงานวิจยั ในที่ประชุมวิชาการ ๒.๕ ทักษะในการวิเคราะห์ การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒.๕.๑ ผลการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะในการวิเคราะห์ การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ (๑) สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิ ตศาสตร์ และสถิติ เพือ่ การวิเคราะห์ขอ้ มูลวิจยั และสรุ ปผลได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ (๒) สามารถเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการสู่สาธารณชน โดยใช้ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ แหมะสม (๓) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวมรวมข้อมูลวิจยั จากฐานข้อมูลต่างๆ และ สามารถนาข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ในการพัฒนางานวิจยั ของตนเอง ๒.๕.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะในการวิเคราะห์ การสื่อสารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในรายวิชาสัมมนา ให้นิสิตได้นาเสนองานวิจยั เป็ นภาษาอังกฤษและค้นคว้า งานวิจยั ที่สนใจจากวารสารวิชาการนานาชาติในฐานข้อมูลงานวิจยั ต่างๆ รวมทั้งสามารถใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ทางสถิติ ๒.๕.๓ กลยุทธ์ก ารประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ด้านทักษะในการวิเ คราะห์ การสื่ อ สาร และเทคโนโลยี สารสนเทศ

๓๐ (๑) ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอข้อมูลงานวิจยั การวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติและความสามารถ ในการค้นคว้าข้อมูลวิจยั (๒) ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปราย กรณี ศึกษาต่างๆ ที่มีการนาเสนอต่อ ชั้นเรี ยน ๒.๖ ทักษะเชิงวิชาชีพ ๒.๖.๑ ผลการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะเชิงวิชาชีพ (๑) มีทกั ษะทางด้านการวิจยั ทางวาริ ชศาสตร์ (๒) มีทกั ษะการทางานวิจยั และสามารถพัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ๆ ที่ช่วยในการพัฒนา หรื อแก้ไข ปั ญหาต่างๆที่เกี่ยวกับวาริ ชศาสตร์ ๒.๖.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะเชิงวิชาชีพ จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้นิสิตได้เรี ยนรู ้เพิม่ เติมด้วยการศึกษาดูงานในหน่วยงานวิจยั ทางวาริ ช ศาสตร์ท้งั ของภาครัฐและภาคเอกชนในระหว่างการทาวิทยานิพนธ์ เพือ่ สร้างเสริ มประสบการณ์ของวิชาชีพ ทา ให้ทราบและเข้าใจปั ญหาจากผูท้ ี่เกี่ยวข้องโดยตรงเพือ่ ได้เรี ยนรู ้ และนาไปพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาต่อไป ๒.๖.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะเชิงวิชาชีพ (๑) ประเมินจากผูใ้ ช้บณั ฑิตหลังจบการศึกษา (๒) ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปราย กรณี ศึกษาต่างๆ ที่มีการนาเสนอต่อ ชั้นเรี ยน ไม่วา่ จะเป็ นทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า นิเวศวิทยาทางน้ า และสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อมทางน้ า ๓. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้สู่ รายวิชา (Curriculum Mapping) (เอกสารแนบหมายเลข ๒)

หมวดที่ ๕. หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา ๑. กฎ ระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ ระดับคะแนน ใช้ระบบการให้คะแนนแบบมีค่าระดับขั้น และแบบไม่มีค่าระดับขั้น ดังนี้ ๑.๑ การให้คะแนนแบบมีค่าระดับขั้น แบ่งเป็ น ๘ ระดับ คือ A, B+, B, C+, C, D+, D และ F ซึ่งคิดเป็ นค่า ระดับขั้น 4.0, 3.5, 3.0, 2.5, 2.0, 1.5, 1.0 และ 0 ตามลาดับ ๑.๒ การใช้คะแนนแบบไม่มีค่าระดับขั้นสาหรับดุษฎีนิพนธ์ และวิชาปรับพื้นฐานจะให้คะแนนเป็ น S ซึ่ ง หมายถึง ผลการศึกษาผ่านตามเกณฑ์ และ U ซึ่งหมายถึง ผลการศึกษาไม่ผา่ นตามเกณฑ์

๓๑ ๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสั มฤทธิ์ของนิสิต ๒.๑ อาจารย์ผสู ้ อนรายวิชาสัมมนาประเมินศักยภาพของนิสิตในการค้นคว้าเพือ่ นาเสนอ และตอบข้อ ซักถามในชั้นเรี ยน และการตรวจสอบจากรายงานของวิชาสัมมนา ๒.๒ การประเมินผล และการให้เกรดของแต่ละรายวิชาสัมมนาต้องผ่านที่ประชุมของคณะกรรมการประจา หลักสูตร ๓. เกณฑ์ การสาเร็จการศึกษาหลักสู ตร เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาเป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมีเกณฑ์การให้ปริ ญญา ดังนี้ ๓.๑ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ ๓.๒ สอบผ่านความรู ้ภาษาต่างประเทศตามประกาศมหาวิทยาลัย ๓.๓ สอบผ่านการสอบวัดความรู ้แบบข้อเขียนและปากเปล่าตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยบูรพา ๓.๔ สอบผ่านเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ และสอบผ่านดุษฎีนิพนธ์ ๓.๕ ผลงานดุษฎีนิพนธ์ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการก่อนสาเร็จการศึกษาอย่างน้อย ๒ เรื่ อง โดยเรื่ องที่ ๑ ต้องอยูใ่ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติในฐานข้อมูลที่คณะกรรมการบริ หารหลักสูตร ยอมรับ และเรื่ องที่ ๒ อย่างน้อยต้องอยูใ่ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ตีพมิ พ์ในประเทศไทย หรื อ ผลงานเทียบเคียงอื่นที่มีคุณภาพเทียบเท่าที่คณะกรรมการบริ หารหลักสูตรเห็นควร

หมวดที่ ๖. การพัฒนาคณาจารย์ ๑. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ ใหม่ ๑.๑ มีการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ให้รู้จกั มหาวิทยาลัยและภาควิชา และเข้าใจวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของ หลักสูตรตามแนวความคิดของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ โดยจัดให้มีอาจารย์พเี่ ลี้ยงเพือ่ ให้คาแนะนาต่างๆ แก่อาจารย์ใหม่ ๑.๒ ให้อาจารย์ใหม่เข้าใจการบริ หารวิชาการของภาควิชาและการประกันคุณภาพการศึกษาที่ภาควิชาต้อง ดาเนินการ ๑.๓ มีการแนะนาอาจารย์พเิ ศษให้เข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๒. การพัฒนาความรู้ และทักษะให้ แก่ คณาจารย์ การดาเนินการเพือ่ ช่วยให้คณาจารย์ได้พฒั นาเชิงวิชาชีพ มีการดาเนินการดังนี้

๓๒ ๒.๑ การพัฒนาทักษะการจัดการเรี ยนการสอน การวัดและการประเมินผล (๑) มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรอบรมสาหรับอาจารย์ใหม่ โดยทุกคนต้องผ่านการอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับ การสอนทัว่ ไป และหลักสูตรการวัดและประเมินผล ซึ่งอาจารย์ใหม่ทุกคนต้องผ่านการอบรม ภายใน ๑ ปี ที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง (๒) อาจารย์อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของจานวนอาจารย์ท้งั หมดต้องผ่านการอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการ สอนต่างๆ การสร้างแบบทดสอบต่างๆ ตลอดจนการประเมินผลการเรี ยนรู ้ที่อิงพัฒนาการของ ผูเ้ รี ยน การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการเรี ยนการสอน หรื อการใช้และผลิตสื่อการสอน โดยอย่าง น้อยต้องอบรมปี ละ ๑๐ ชัว่ โมง ๒.๒ การพัฒนาทางวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ (๑) สนับสนุนให้อาจารย์ใหม่ไปอบรมหรื อประชุมสัมมนาทั้งในวิชาชีพและวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (๒) สนับสนุนให้อาจารย์จดั ทาแผนการทาผลงานทางวิชาการ เพือ่ ให้มีตาแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น (๓) ส่ งเสริ ม ให้อ าจารย์ทาวิจยั ทั้งการวิจยั ในสาขาวิชาชี พ และการวิจยั เพื่อ พัฒนาการเรี ยนการสอน ตลอดจนให้แรงจูงใจแก่ผทู ้ ี่มีผลงานทางวิชาการ

หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสู ตร ๑. การบริหารหลักสู ตร ในการบริ หารจัดการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ให้มีคุณภาพในระดับบัณฑิต นั้น ภาควิชาวาริ ชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มีแนวทางดังนี้ ๑.๑ มีคณะกรรมการบริ หารหลักสูตรซึ่งเป็ นผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณสมบัติเป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยคณะกรรมการบริ หารหลักสูตรมีหน้าที่และความ รับผิดชอบในการดาเนินการจัดการศึกษาของหลักสูตรและพัฒนาคุณภาพหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ๑.๒ มีการประเมินหลักสูตรเป็ นระยะทุกๆ ๕ ปี เพือ่ นาผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุ งหลักสูตร ๒. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน ๒.๑ การบริ หารงบประมาณ ในการบริ หารงบประมาณจะใช้อาคารวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่ต้งั อยูใ่ นคณะวิทยาศาสตร์ในการจัดการ เรี ยนการสอน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวบุคลากรจะขอรับการสนับสนุนจากรัฐบาล สาหรับหมวดค่าใช้สอยและเงิน อุดหนุนจะขอรับการสนับสนุนจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยซึ่งเป็ นรายรับจากค่าหน่วยกิตนิสิต และจะขอทุน สนับสนุนการวิจยั ของนิสิต โดยอาจารย์ที่ปรึ กษาจะเป็ นผูด้ าเนินการ

๓๓ ๒.๒ ทรัพยากรการเรี ยนการสอนที่มีอยูเ่ ดิม (๑) มีหอ้ งเรี ยนมาตรฐานที่มีอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ครบถ้วน (๒) มีหอ้ งปฏิบตั ิการด้านวาริ ชศาสตร์ที่สามารถใช้ในการปฏิบตั ิการด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า นิเวศวิทยาทางน้ า และสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อมทางน้ าได้อย่างเป็ นรู ปธรรม เช่น ห้องปฏิบตั ิการสาหร่ าย ห้องปฏิบตั ิการอาหารสัตว์น้ า ห้องปฏิบตั ิการวิเคราะห์คุณภาพน้ า ห้องปฏิบตั ิการโรคและภูมิคุม้ กันสัตว์น้ า ห้องปฏิบตั ิการแช่แข็งน้ าเชื้อสัตว์น้ า ห้องปฏิบตั ิการ อนุกรมวิธานสัตว์น้ า ห้องปฏิบตั ิการพันธุกรรมสัตว์น้ า อาคารโรงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และ ห้องปฏิบตั ิการสมุทรศาสตร์ เป็ นต้น (๓) ห้องสมุดมีวารสาร หนังสือและตาราที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาวาริ ชศาสตร์อย่างเพียงพอ (๔) ฐานข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เช่น Science Direct, e-book on science direct, PubMed, Wiley InterScience ๒.๓ การจัดหาทรัพยากรการเรี ยนการสอนเพิม่ เติม ประสานงานกับสานักหอสมุดกลางในการจัดซื้อหนังสือ และตาราที่เกี่ยวข้อง เพือ่ บริ การให้อาจารย์ และนิสิตได้คน้ คว้า และใช้ประกอบการเรี ยนการสอน ในการประสานการจัดซื้อหนังสือนั้นอาจารย์ผสู ้ อนแต่ ละรายวิชาจะมีส่วนร่ วมในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ ตลอดจนสื่ออื่นๆ ที่จาเป็ น นอกจากนี้อาจารย์พิเศษที่ เชิญมาสอนบางรายวิชาและบางหัวข้อ ก็มีส่วนในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ สาหรับให้หอสมุดกลางจัดซื้อ หนังสือด้วย การจัดการทรัพยากรการเรี ยนการสอนเพิม่ เติมจะประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก ประเทศที่ศึกษาวิจยั ทางด้านวาริ ชศาสตร์ในการขอรับการสนับสนุนเอกสารผลงานวิชาการ เพือ่ ให้นิสิตได้ศึกษา ค้นคว้ามากขึ้น ในส่วนของคณะวิทยาศาสตร์มีหอ้ งสมุดย่อย เพื่อให้บริ การหนังสื อ ตารา หรื อวารสารเฉพาะทาง และ การเรี ยนการสอนก็มีอุปกรณ์การสอนเพียงพอ เช่น เครื่ องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์ เครื่ องฉายสไลด์ เป็ นต้น ๒.๔ การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร มีเจ้าหน้าที่ดา้ นโสตทัศนอุปกรณ์ ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการใช้สื่อของอาจารย์ แล้วยังต้อง ประเมินความพอเพียงและความต้องการใช้สื่อของอาจารย์ดว้ ย ๓. การบริหารคณาจารย์ ๓.๑ การรับอาจารย์ใหม่ มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยโดยอาจารย์ใหม่จะต้องมีวฒ ุ ิ การศึกษาระดับปริ ญญาเอก ทางด้านวาริ ชศาสตร์หรื อสาขาที่เกี่ยวข้องกับวาริ ชศาสตร์

๓๔ ๓.๒ การมีส่วนร่ วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร ในการจัดการเรี ยนการสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ให้ได้คุณภาพ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ดาเนินการจัดเตรี ยมความพร้อมในการมีส่วนร่ วมของคณาจารย์ดงั นี้ (๑) จัดผูส้ อนในแต่ละวิชาในลักษณะของการสอนเป็ นทีม เพื่อ ให้นิสิตได้เรี ยนรู ้กับผูส้ อนที่มี ความ เหมาะสมกับเนื้อหาสาระของแต่ละรายวิชา (๒) จัดประชุ ม เชิ งปฏิบ ัติก ารเกี่ ยวกับแผนและแนวปฏิ บตั ิ ในการจัดกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนใน หลักสูตรระดับปริ ญญาเอก (๓) จัดทาเอกสารสารสนเทศของหลักสู ตร โดยเฉพาะอย่างยิง่ การรวบรวมประวัติและผลงานวิชาการ ของคณาจารย์ในหลักสูตร อาจารย์พเิ ศษ และผูเ้ ชี่ยวชาญ ๓.๓ คณาจารย์ที่สอนบางเวลาและคณาจารย์พเิ ศษ คณาจารย์ที่สอนบางเวลาและคณาจารย์พเิ ศษต้องเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงานวิจยั ที่โดยเด่น และมี ผลงานวิจยั ต่อเนื่องสม่าเสมอ และมีวฒ ุ ิการศึกษาระดับปริ ญญาเอก โดยกระบวนการเลือกสรรจะคัดเลือกโดย คณะกรรมการบริ หารหลักสูตร เพือ่ ทาหน้าที่เป็ นวิทยากรรับเชิญในรายวิชาสัมมนาหรื อเป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษา ร่ วมหรื อเป็ นกรรมการร่ วมในการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ของนิสิต ๔. การบริหารบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน ๔.๑ การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ ง บุคลากรสายสนับสนุนควรมีวฒ ุ ิข้นั ต่าปริ ญญาตรี และมีความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีหรื อสาขาที่ เกี่ยวข้องกับวาริ ชศาสตร์ ๔.๒ การเพิม่ ทักษะความรู ้เพือ่ การปฏิบตั ิงาน บุคลากรสายสนับสนุนช่วยในการประสานงานและเตรี ยมการให้อาจารย์สามารถใช้สื่อการสอนได้ อย่างสะดวก ซึ่งจาเป็ นต้องให้มีการฝึ กอบรมเฉพาะทาง หรื อทัศนศึกษาดูงานอย่างน้อย ๑ ครั้ง กรณี ที่บุคลากรที่บรรจุในตาแหน่งนักวิจยั นอกจากจะทาหน้าที่สนับสนุนการวิจยั แล้ว ยังต้องทาวิจยั ร่ วมกับคณาจารย์ดว้ ย ๕. การสนับสนุนและการให้ คาแนะนานิสิต ๕.๑ การให้คาปรึ กษาด้านวิชาการและอื่นๆ แก่นิสิต คณะมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาทางวิชาการให้แก่นิสิตทุกคน โดยนิสิตที่มีปัญหาในการเรี ยนสามารถ ปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษาทางวิชาการได้ โดยอาจารย์ที่ปรึ กษาทางวิชาการจะต้องทาหน้าที่อาจารย์ที่ปรึ กษา ทางวิชาการให้แก่นิสิต และต้องกาหนดชัว่ โมงว่าง (Office Hours) เพือ่ ให้นิสิตเข้าปรึ กษาได้

๓๕ ๕.๒ การอุทธรณ์ของนิสิต กรณี ที่นิสิตมีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใดสามารถที่จะยืน่ คาร้องขอดู กระดาษคาตอบในการสอบ ตลอดจนดูคะแนนและวิธีการประเมินของอาจารย์ในแต่ละรายวิชาได้ ทั้งนี้เป็ นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่มหาวิทยาลัยกาหนด ๖. ความต้ องการของตลาดแรงงาน สั งคม และหรือความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต ในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ ภาควิชาวาริ ชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ดาเนินการประชุมคณะกรรมการบริ หารหลักสูตร และประชุมภาควิชาวาริ ชศาสตร์ เกี่ยวกับความต้องการของตลาดแรงงาน และสังคมในการใช้บณั ฑิตหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชา วาริ ชศาสตร์วา่ มีความต้องการสูงจากภาครัฐและภาคเอกชน เนื่องจากความต้องการใช้ทรัพยากรสัตว์น้ าและ การบริ หารจัดการแหล่งน้ า การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และสิ่งแวดล้อมยังต้องอาศัยองค์ความรู ้แบบบูรณาการทาง วาริ ชศาสตร์ในการแก้ไขปั ญหาและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของประเทศ จึงสมควรเปิ ดหลักสูตรนี้ข้ ึน และการ สารวจความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณั ฑิตระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโทสาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ที่มีความพึงพอใจ ของบัณฑิตสาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ก็เป็ นปั จจัยที่ทาให้มนั่ ใจได้วา่ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ช ศาสตร์เป็ นที่ตอ้ งการของผูท้ ี่ตอ้ งการศึกษาต่อในขณะนี้ ๗ ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินการ (Key performance indicators) การจัดการเรี ยนการสอนในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ สามารถประกัน คุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรี ยนการสอน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา โดยการกาหนดตัว บ่งชี้หลักและเป้ าหมายผลการดาเนินงานดังต่อไปนี้ ตัวบ่งชี้และเป้ าหมาย

ปี การศึกษา ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 ปี ที่ 4 ปี ที่ 5     

๑. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่ วมในการ ประชุมเพือ่ วางแผน และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร ๒. มี รายละเอียดของหลักสู ตรตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้อ งกับ  กรอบมาตราฐานคุ ณ วุ ฒิ แ ห่ ง ชาติ หรื อ มาตราฐานคุ ณ วุ ฒิ ส าขา/ สาขาวิชา ๓. มีการจัดทารายละเอียดรายวิชาตามแบบ มคอ.๓ อย่างน้อยก่อน  การเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา

















๓๖ ปี การศึกษา ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 ปี ที่ 4 ปี ที่ 5 ๔. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (แบบ มคอ.๕) ภายใน      ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิ ดสอนให้ครบทุกรายวิชา      ๕. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร (แบบ มคอ.๗) ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปี การศึกษา      ๖. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานผล การเรี ยนรู ้ที่กาหนดใน มคอ.๓ อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาที่ เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา     ๗. มีการพัฒนา/ปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธ์การสอน หรื อ การประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ จากผลการประเมินการดาเนิ นงานที่ รายงานใน มคอ.๗ ปี ที่แล้ว ๘. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิ เทศหรื อคาแนะนาด้าน      การจัดการเรี ยนการสอน ๙. อาจารย์ป ระจ าทุ ก คนได้รั บ การพัฒ นาทางวิช าการ และ/หรื อ      วิชาชีพอย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง ๑๐. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการ      พัฒนาทางวิชาการ และ/หรื อวิชาชีพไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐ ต่อปี    ๑๑. ระดับ ความพึง พอใจของนิ สิ ต ปี สุ ด ท้า ย/บัณ ฑิ ต ใหม่ ที่ มี ต่ อ คุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕   ๑๒. ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ ั ฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่เฉลี่ยไม่ น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕ รวมตัวบ่งชี้ (ข้อ) ในแต่ละปี 9 10 11 12 12 ตัวบ่งชี้บงั คับ (ข้อที่) 1-5 1-5 1-5 1-5 1-5 ตัวบ่งชี้ตอ้ งผ่านรวม (ข้อ) 8 8 8 9 10 ตัวบ่งชี้และเป้ าหมาย

๓๗

หมวดที่ ๘. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสู ตร ๑. การประเมินประสิ ทธิผลของการสอน ๑.๑ การประเมินกลยุทธ์การสอน กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการสอนนั้น พิจารณาจากผูเ้ รี ยนโดยอาจารย์ผสู ้ อน จะต้องประเมินผูเ้ รี ยนในทุกๆ หัวข้อว่ามีความเข้าใจหรื อไม่ โดยอาจประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนิสิต การอภิปรายโต้ตอบจากนิสิต การตอบคาถามของนิสิตในชั้นเรี ยน ซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูลจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว ก็ควรจะสามารถประเมินเบื้องต้นได้วา่ ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจหรื อไม่ ๑.๒ กระบวนการประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน ให้นิสิตได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ท้งั ด้านทักษะกลยุทธ์การสอนและการใช้สื่อในทุก รายวิชา และอาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตรจะเข้าสังเกตการณ์การสอนของคณาจารย์ ๒. การประเมินหลักสู ตรในภาพรวม ๒.๑ ประเมินจากนิสิต ดาเนินการประเมินจากนิสิต ซึ่งอาจารย์สามารถประเมินโดยสอบถามจากนิสิตเป็ นรายบุคคลได้ โดยจะ ประชุมก่อนนิสิตจะสาเร็จการศึกษา ๒.๒ ประเมินจากนายจ้างและสถานประกอบการและดาเนินการสัมภาษณ์ ดาเนินการโดยสัมภาษณ์จากสถานประกอบการที่นิสิตไปฝึ กงานหรื อทาวิจยั ร่ วมหรื อใช้วิธีการส่ ง แบบสอบถามไปยังผูใ้ ช้บณั ฑิต ๒.๓ ประเมินโดยผูท้ รงคุณวุฒิหรื อที่ปรึ กษา ดาเนินการโดยเชิญผูท้ รงคุณวุฒิมาให้ความเห็นหรื อจากข้อมูลในรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตร หรื อจากรายงานของการประเมินผลการประกันคุณภาพภายใน ๓. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสู ตร การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงานที่กาหนดไว้ ๔. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสู ตรและแผนกลยุทธ์ การสอน ปั ญหาของการบริ หารหลักสูตรทั้งในภาพรวม และในแต่ละรายวิชาที่อาจจะมีดาเนินการปรับปรุ ง รายวิชานั้นๆ ได้ทนั ที ซึ่งก็จะเป็ นการปรับปรุ งย่อย โดยที่การปรับปรุ งย่อยนั้นจะทาตลอดเวลาที่พบปั ญหา สาหรับการปรับปรุ งหลักสูตรทั้งฉบับนั้น จะกระทาทุก ๕ ปี ทั้งนี้เพือ่ ให้หลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้อง กับความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต

๓๘

เอกสารแนบ เอกสารหมายเลข ๑ ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสู ตร เอกสารหมายเลข ๒ แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้ สู่ รายวิชา เอกสารหมายเลข ๓ คาสั่ งแต่ งตั้งกรรมการพิจารณาหลักสู ตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา เอกสารหมายเลข ๔ ข้ อบังคับหลักสู ตรระดับบัณฑิตศึกษา เอกสารหมายเลข ๕ การประเมินหลักสู ตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

Doctoral Degree.pdf

Sign in. Loading… Whoops! There was a problem loading more pages. Retrying... Whoops! There was a problem previewing this document. Retrying.

566KB Sizes 0 Downloads 223 Views

Recommend Documents

IUCN Post-Doctoral Fellow - Recruit
technologies, tools and policy recommendations for increased food security and ... status and for monitoring of progress towards restoration of degraded ... laboratory that utilizes remote sensing and rigorous statistical approaches for targeting.

Post-Doctoral / Researcher in Biostatistics
been carried out on this theme, with a collaboration between biostatistical ... To apply, please send your CV and a cover letter to Professor Roch Giorgi: ...

Doctoral Thesis Proposal
greatest variance from the top Eigenvectors of the data covariance matrix. .... ing block-level link analysis techniques, an image graph can be constructed. Then, they .... In this section, we relate some tools used in the information visualization.

Occupational Therapy Doctoral Pre-requisites.pdf
Pacific. University. Washington. University. in St. Louis. Belmont University. General Biology I (BIOL-1115) Yes Yes Yes. Human Anatomy (BIOL-2244) Yes Yes ...

Framework_Completion Part-Time Doctoral Studies 2016 - National ...
implications for the completion rates of Doctoral degrees in South Africa. On average,. Doctoral students take 4.5 years to complete their studies. However, the mature students between the age groups of 40 to 49; and 50 to 59 years of age, take up to

Occupational Therapy Doctoral Pre-requisites.pdf
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Occupational ...

IUCN Post-Doctoral Fellow - Zoho Recruit
o Enhance water quality and availability. • Contribute towards the development and implementation of a near-real-time geoscience laboratory that utilizes ...

doctoral position at IFAE Gamma - asterics
Jul 9, 2017 - Installation and commissioning of the first CTA Large Size Telescope at La Palma; and/or. -‐ Scientific analysis of the MAGIC data. IFAE is a worldwide-‐recognized center for fundamental research in physics, including. Particle Phys

Post-Doctoral Researcher Reporting to - GMIT
Latest date for receipt of completed application is: 12 noon on Wednesday, 14 th. January 2015. It is anticipated that interviews will take place on Thursday, 22.

Laboratory Section ARGUPOLIS: A DOCTORAL ...
Technological Platforms Supporting the Argupolis Community. Beyond the ... tral tenet: the acknowledgement of the context-bound nature of argu- mentative ...

Framework_Completion Part-Time Doctoral Studies ... - UCT Students
FRAMEWORK. Study Support for Completing. Part-time Doctoral Students. Directorate Human and Infrastructure Capacity Development. Date. July 2015 ...

Post-doctoral Fellow/Research Faculty Position
software engineers who are developing and operating the SOC, in support of its objectives, and with the other science team members directly involved with algorithm development, cal/val activities, and special modes operations. The individual may also

CGIAR Post-doctoral fellowship compensation package
package for Post Doctoral Fellows and simplify it to three elements: base salary, ... For simplified administration, shipping/removal and installation benefits can ...

Post-doctoral Fellow Soil and Water Conservation
Apr 12, 2013 - Develop linkages to current research and development work in ... We are an equal opportunity employer and encourage applications from ...

Post-doctoral Fellow/Research Faculty Position
software engineers who are developing and operating the SOC, in support of its objectives, and with the other science team members directly involved with algorithm development, cal/val activities, and special modes operations. The individual may also

Framework_Completion Part-Time Doctoral Studies ... - UCT Students
part-time students, for dedicated time away from work pressures to complete their dissertations. The funding instrument aims to provide funding to part-time ...

post-doctoral scientist in aquatic ecology - Aquatic Ecology Laboratory
computer support would be provided, as would funds to attend relevant scientific meetings. Location: The incumbent would join a dynamic, interactive group of ...

Post-Doctoral Researcher in Bioeconomic Fisheries Science ... - GMIT
economists in developing advanced analytical research capacity. The researcher will ... Development of gear technology experimental design (30% of project).

Doctoral Thesis by Daniel Torres-Salinas
of scholarly work under evaluation ... high level of sophistication and are derived from accurate bibliometric data. ... types of data entry processes, -part-.

DOCTORAL ORAL EXAMINATION FORM This form must be ...
Rev 11/11. DOCTORAL ORAL EXAMINATION FORM. This form must be completed and sent to the Doctoral Candidacy Advisor,. 450 DuBourg Hall, AT LEAST TWO WEEKS PRIOR TO THE EXAMINATION. STUDENT'S NAME: ...

Doctoral Thesis Proposal An evolutionarily motivated ...
Aug 3, 2010 - 2.3 Teleology to the rescue . .... tions of existing theories to fit data generated in experiments. While this proved useful for mathematicians ...

TESIS DOCTORAL-Rafael Alarcón Medina.pdf
Whoops! There was a problem loading more pages. Retrying... TESIS DOCTORAL-Rafael Alarcón Medina.pdf. TESIS DOCTORAL-Rafael Alarcón Medina.pdf.

Post-doctoral fellow job description template - CGIAR Library
Conduct studies of related literature and research to support the design and implementation of ... The initial contract will be for a period of 2 years [optional:.