การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 rd The 3 SAU National Interdisciplinary Conference 2016

การศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตผ่านระบบออนไลน์ของครูและบุคลากร โรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ Internet online Using Behavior of teachers and personnel. School Thammachede เสน่ห์ ไมตรีจิตร์ และ ปัญญา มาลีวัตร สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ 19/1 ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กทม. 10160 โทรศัพท์ : 02-8074500-7 E-mail : [email protected]*

บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อที่นาข้อมูลเป็นแนวทางการพัฒนาและทดสอบประสิทธิภาพระบบเครือข่าย ไร้สาย ของโรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ ให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคมได้นาพา นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของประกันคุณภาพ ในหัวข้อ โครงการบูรณาการศิลปวัฒนธรรมเข้ากับการ เรียนการสอนสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ และได้นาวิชาความรู้ ในวิชาการสื่อสารข้อมูล มา พัฒนาระบบเครือข่ายไร้สายเดิมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยใช้เร้าเตอร์ จานวน 4 ตัว ปรับค่าการรับ -ส่งเป็นโหมด repeater และกาลังส่งจุดศูนย์กลางปรับไว้ที่ 300 mW และส่วนตัวลูกปรับไว้ที่ 300 mW, 600 mW. นาไปทดลองกลุ่ม ตัวอย่างซึ่งเป็นครูและบุคลากรของโรงเรียนใช้งานจานวน 12 คน ระหว่างภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 เครื่องมือที่ใช้ ในศึกษาพฤติกรรมการใช้งานของวิจัยคือ Router และแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ ตามเวลาที่สะดวก คาสาคัญ: เร้าเตอร์, ระบบเครือข่าย, พฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ต Abstract This paper aims in order to bring a development and test the performance of wireless networks system to increase efficiency of the Thammachedee school. The Department of Electronics and Telecommunications has led students to attend this event and as part of a quality assurance program in integrated culture into the teaching field of electronics of South East Asia University. Additionally, this research brings the knowledge of the technical information to develop the wireless network to even more powerful while using a router with 4 adjust the transmission repeater mode and power transmission centrally adjusted to 300 mW and private child adjust to 300 mW, 600 mW. The sample consisted of teachers and school personnel to use of 12 people during the 1nd semester of the academic year in 2558. Tools used in research are router and satisfaction questionnaire according to a convenient time. Keywords: Router , network, Internet Behavior. 1. บทนา ในปั จจุ บัน ระบบเครือข่ายเป็ นเครื่องมื อส าคัญ อย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้ไอที ต่อชีวิตความเป็นอยู่ และการทางานประจาวัน จะต้องอาศัยข้อมูลข่าวสาร ในระบบเครือข่ายหรือทางอินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางที่ทา ให้เราเข้าถึง ข้อมูลได้ในเวลาอันรวดเร็ว เช่น ข่าวสาร หรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ ทั่วโลก ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ทา

ให้ อินเทอร์เน็ตจึงเป็น แหล่งข่าวที่ทันสมัยและช่วยให้ รับรู้ข่าวสารที่เกิดขึ้นในมุมอื่น ๆ ของโลก ได้รวดเร็วกว่า สื่ออื่น ๆ อินเทอร์เน็ตเป็น แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่ง ใหญ่ที่สุดของโลก และการสืบค้นข้อมูลหลายประเภท ในปัจจุบัน ระบบเครือข่ายทั้งประเภทไร้สาย(wireless network ) และประเภทสาย (LAN network) จึงมี บทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะ

รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 (Proceedings of SAUNIC 2016) หน้าที่ 1161

การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 rd The 3 SAU National Interdisciplinary Conference 2016

สารสนเทศบนอิ น เทอร์ เ น็ ต จะมี ก ารเสนอข้ อ มู ล ข่ า ว ปัจ จุ บั น และสิ่ ง ต่ าง ๆ ที่เกิด ขึ้น ให้ผู้ใช้ ท ราบทุ กวั น สารสนเทศที่ เสนอในอิน เทอร์เน็ ต จะมี มากมายหลาย รูปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของ ผู้ใช้ ทุกกลุ่ ม อิน เทอร์เน็ ต จึ ง เป็ น แหล่ ง สารสนเทศส าคัญ สาหรับทุกคน และข้อมูลข่าวสารที่ได้รับนั้นก็มีคุณภาพ ทันสมัยต่อเหตุการณ์ จากความสาคัญดังกล่าว ผู้วิจัยมี ความสนใจการใช้งานหลังจากทากิจกรรมในด้านนี้ จึง ได้ทาการศึกษาความพึงพอใจการใช้งานสารสนเทศบน อินเทอร์เน็ตของโรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ ว่ามีแนวโน้มใน การใช้ อิน เตอร์เน็ ต ของครู อย่ า งไร เพื่ อใช้ ข้อมู ล เป็ น แนวทางในการน าไปประยุ ก ต์ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป[1] 2. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 1. เพื่ อศึกษาความพึ ง พอใจการใช้ ง านของระบบ เครือ ข่า ยไร้ส ายบนอิน เทอร์ เน็ ต ของครูและบุ ค ลากร โรงเรียนวัดธรรมเจดีย์จานวน 12 คน 2. เพื่อใช้ข้อมูลเป็นแนวทางในการนาไปประยุกต์ พั ฒ นา และปรั บ ปรุ ง ให้ บ ริ ก ารทางอิ น เตอร์ เ น็ ต แก่ นักศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ 3.วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจระบบเครือข่ายไร้สาย โรงเรี ย นวั ด ธรรมเจดี ย์ โดยใช้ แ บบสอบถามเป็ น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่ายไร้สาย ดังนี้[2] 1) Peer-to-Peer (ad hoc mode) รูปแบบการเชื่อมต่อแลนไร้สายแบบ Peer to Peer เป็นการเชื่อมต่อแบบโครงข่ายโดยตรงระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง นั้นจะมีความเท่าเทียมกัน สามารถทางานของตนเองได้ และขอใช้บริการเครื่องอื่นได้ จึงเหมาะสาหรับนามาใช้ งานเพื่ อ จุ ด ประสงค์ ด้ า นความรวดเร็ ว หรื อ ติ ด ตั้ ง ได้ โดยง่ า ยเมื่ อ ไม่ มี โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ จ ะรองรั บ ตัวอย่างเช่น ในศูนย์ประชุมหรือการประชุมที่จัดนอก สถานที่

2) Client/Server (Infrastructure mode) ระบบเครื อ ข่ า ยไร้ ส ายแบบ Client/Server (Infrastructure mode) มีลักษณะการรับส่งข้อมูลโดย อาศัย Access Point (AP) หรือเรียกว่า "Hot Spot" ทา หน้าที่เป็นสะพานเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายแบบ ใช้สาย กับคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client) โดยจะกระจาย สัญญาณคลื่นวิทยุเพื่อรับ-ส่งข้อมูลเป็นรัศมีโดยรอบ ซึ่ง AP 1 จุด สามารถให้บริการเครื่องลูกข่ายได้ถึง 15-50 อุปกรณ์ เหมาะสาหรับการนาไปขยายเครือข่าย หรือใช้ ร่ ว มกั บ ระบบเครื อ ข่ า ยแบบใช้ ส ายเดิ ม ใน Office ห้องสมุด หรือในห้องประชุม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การทางานให้มากขึ้น 3) Multiple access points and roaming เป็นการเพิ่มจุดการติดตั้ง AP ให้มากขึ้น เพื่อให้ การรับ ส่ งสั ญ ญาณในบริเวณของเครือข่า ยขนาดใหญ่ เป็นไปอย่างครอบคลุมทั่วถึง 4) Use of an Extension Point มีคุณสมบัติเหมือนกับ Access Point แต่ไม่ต้อง ผูกติดไว้กับเครือข่ายไร้สาย 5) The Use of Directional Antennas ระบบแลนไร้สายแบบนี้เป็นแบบใช้เสาอากาศใน การรับส่งสัญญาณระหว่างอาคารที่อยู่ห่างกัน โดยการ ติดตั้งเสาอากาศที่แต่ละอาคาร เพื่อส่งและรับสัญญาณ ระหว่างกัน 5. การออกแบบและติดตัง้ ระบบเครือข่ายของโรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ ปัญหาที่ ได้ จ ากการส ารวจโดยการสั ม ภาษณ์ ผู้ อ านวยการ โรงเรียน (เฉลา คอนขา) พบว่าระบบ Internet มาจาก Uni-Net ใช้เชื่อมโยงแบบ LAN กับห้องคอมพิวเตอร์ จานวน 20 เครื่อง สาหรับนักเรียนและครู ปัญหาคือ ความเร็วช้าและไม่ทั่วถึงทุกอาคารเรียน จาเป็นต้อง ปรั บ ปรุ ง ใหม่ ใ ห้ ค รอบคลุ ม การใช้ ง านที่ เ กิ ด ขึ้ น ตาม สภาพการณ์จริงในปัจจุบัน 5.1 ระบบเครือข่ายเดิม ในระบบเครือข่ายเดิม จะทางานเหมือน Wireless Router ทั่วไป คือ TP-Link TD-W801ND ใช้ พอร์ต RJ-45 เป็น WAN ใช้กาลังงาน = 100 mW เสาอากาศ มีอัตราขยาย 2.5 dBi การกระจายคลื่นแบบรอบตัว และแชร์อินเตอร์เน็ตผ่าน Interface Wireless และ

รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 (Proceedings of SAUNIC 2016) หน้าที่ 1162

การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 rd The 3 SAU National Interdisciplinary Conference 2016

พื้นที่ในการกระจายจากัด จากรูปที่ 1 เป็นแผนผังของ โรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ ประกอบด้วย อาคารเรีย นที่ 1 เป็น อาคารเรียน 2 ชั้น จะมีพื้น ที่ กว้าง 7 เมตร ยาว 40 เมตร ประมาณ 280 ตาราง เมตร/ชั้น อาคาร 2 มีพื้นที่ประมาณ 244 ตารางเมตร/ชั้น และ อาคาร 3 โรงอาหารพื้นที่ประมาณ 350 ตารางเมตร ตาแหน่งของจุดกระจายสัญญาณอยู่ที่กึ่งกลางอาคาร เรียนที่ 1 ชั้นที่ 2 ซึ่งผลสารวจจากการสอบถามเบื้องต้น ของครูและบุคลากร จานวน 5 คน ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 พฤติกรรมการใช้งานเครือข่ายเดิม(N=5) ระบบเครือข่ายการใช้งานเดิม สรุปผล 1.ความเร็วในการใช้งาน ค่อนข้างดี 2.ความสะดวกในการเข้าถึง น้อยมาก 3.ความมีเสถียรภาพของระบบ พอใช้ 4.สามารถให้บริการครอบคลุม น้อยมาก 5.ความถีพ่ ึงพอใจในการใช้งาน น้อยมาก 3

2

Modem

Wireless

1

รูปที่ 1 แผนผังบริเวณของโรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ และระบบเครือข่ายเดิม

Uni-NET

Modem

Wireless router

รูปที่ 2 ระบบเครือข่ายเดิมของโรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ 5.2 ระบบเครือข่ายที่ปรับปรุง ในการกระจายคลื่ น ให้ ค ลอบคลุ ม พื้ น ที่ ข อง โรงเรีย น จ าเป็ น ต้ องใช้ เร้า เตอร์จ านวน 3 ตัว โดย

ตาแหน่งวางต้องให้สัญญาณคาบเกี่ยวกันแล้วปรับโหมด ที่เร้าเตอร์เป็นโหมด WDS AP ก็คือการทา Repeater หรือการขยายสัญญาณ จาก AP ตัวหนึ่ง ไปยัง AP อีก ตัวหนึ่ง (หรือหลายตัว) โดยสามารถทาการขยายต่อไป ได้เรื่อยๆ (ยิ่งทา WDS หลาย AP ความเร็วโดยรวมยิ่ง ตกลง) โดย WDS จะมีข้อดีกว่า Repeater คือ มัน สามารถ ส่งผ่าน MAC Address ของ Client ผ่านไปยัง Interface Wireless ซึ่งเหมาะสาหรับ WISP ที่จะทา การ Repeat สัญญาณดังแสดงในรูปที่ 3 เป็นแผนผัง ใหม่และรูปที่ 4 ระบบเครือข่ายใหม่ ข้อจากัดของ WDS AP คือ ก่อนที่จะการ Repeat นั้น AP ทั้งคู่ที่จะเชื่อมต่อกัน จะต้องมีการกาหนดสิทธิ์ ของกันและกันเสียก่อน ด้วยค่า MAC Address และ AP ในกลุ่มจะต้องมี Encryption เดียวกัน ใช้ Channel เดียวกัน รวมไปถึง SSID เดียวกันด้วย โครงสร้างการเชื่อมต่อของระบบ ก็คือการเชื่อมต่อกันแต่ละ Infrastructure ให้ ผู้ใช้สามารถเคลื่อนย้ายการทางานจากจุดหนึ่งไปยังอีก จุดหนึ่งได้โดยไม่ขาดการเชื่อมต่อ[3] แนวคิดการออกแบบ ในการติดตั้ง Access Point มากกว่า 1 ตัว ที่ใช้ ช่องสัญญาณเดียวกัน เพราะช่องสัญญาณแต่ละช่องมี ช่วงของ Bandwidth กว้าง อาจทับซ้อนกัน เพื่อป้องกัน การรบกวนสัญญาณควรแยกบริเวณการติดตั้ง ช่องสั ญญาณจะกาหนดช่ องแรกเริ่ม ต้ น ที่ค วามถี่ 2412 MHz และช่องถัดมาห่างกัน 5 MHz และมี ทั้งหมด 13 ช่องแต่สามารถใช้งานได้เพียง 3 ช่อง ดังนี้ ชุดแรก คือช่อง 1. 6. 11 ชุดสอง คือช่อง 2. 7. 12 ชุดสาม คือช่อง 3. 8. 13 ชุดสี่ คือช่อง 4. 9. และชุดห้า คือช่อง 5. 10. จานวนAccess Point 802.11g ต่อประมาณผู้ใช้งาน ในทางปฏิบัติการใช้ Access Point 3 ตัว ที่ใช้ ความถี่ที่ไม่ซ้อนกัน 3 ความถี่ในบริเวณเดียวกันได้ เมื่อ เพิ่มความต้องการอุปกรณ์ Wireless ที่ใช้เป็นมาตรฐาน 802.11g จะมีความเร็วเท่ากับ 54 Mbps ถ้าพิจารณาถึง การดาวน์ โ หลดและการอัพ โหลดที่ 750kbps และ ประสิทธิภาพมาตรฐานประมาณ 44 % การคานวณหา

รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 (Proceedings of SAUNIC 2016) หน้าที่ 1163

การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 rd The 3 SAU National Interdisciplinary Conference 2016

จานวน Access Point จะได้ดังนี้ 

2  750 Kbps 100  25 %  1.57 ตัว 44 %  54 Mbps

3

2

D-Link Router

Asus Router

Modem Roter TP-Link

TP-Link

1

รูปที่ 3 แผนผังบริเวณของโรงเรียนวัดธรรมเจดีย์และ ระบบเครือข่ายปรับปรุง

จุดที่ 2 ใช้ TP-Link TL-WR841HP ปรับ โหมดเป็นแอ็กเซสพอยต์ 802.11g[4] -ใช้กาลังงาน = 600 mW -เสาอากาศ = 2.8 dBi -รับส่ง Channel ที่ 1,6,11 ผลการทดลอง อาคารที่ 1 (ระยะห่าง 8 เมตร) จุดที่ 1 TL-WA801ND -70 dB จุดที่ 2 TL-WR841HP -55 dB 2) อาคารที่ 2 ใช้ Router Asus RT-N12+[5] เลือกโหมด Repeater -ใช้กาลังงาน = 300 mW -เสาอากาศ = 2.5 dBi -รับส่ง Channel ที่ 1,6,11

access point 1 Internet

Uni-NET

access point 2 Modem

Wireless router access point 3

รูปที่ 4 ระบบเครือข่ายที่ปรับปรุงใหม่ การติดตั้งและปรับค่าเร้าเตอร์ 1) อาคารที่ 1

รูปที่ 5 ระบบเครือข่ายเดิมขณะปรับย้ายตาแหน่ง จุดที่ 1 ใช้ TP-Link TL-WA801ND -ใช้กาลังงาน = 300 mW -เสาอากาศ = 2.5 dBi -ส่ง Channel ที่ 1,6,11

รูปที่ 6 การปรับค่าเร้าเตอร์ระบบเครือข่ายเป็น โหมด Repeater ตาแหน่งอาคาร 2

รูปที่ 7 การติดตั้งระบบเครือข่าย Asus RT-N12+

รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 (Proceedings of SAUNIC 2016) หน้าที่ 1164

การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 rd The 3 SAU National Interdisciplinary Conference 2016

ผลการทดลอง อาคารที่ 2 (ระยะห่าง 8 เมตร) อาคารที่ 2 Asus RT-N12+ -65 dB 3)อาคารที่ 3ใช้ Router D-Link DAP-1360[6] เลือกโหมด Repeater -ใช้กาลังงาน = 600 mW -เสาอากาศ = 2.8 dBi -รับส่ง Channel ที่ 6

รูปที่ 8 การปรับค่าเร้าเตอร์ระบบเครือข่ายเป็นโหมด Repeater ตาแหน่งอาคาร 3

ตารางที่ 2 พฤติกรรมการใช้งานเครือข่าย(N=12) ช่วงเวลา/คน พฤติกรรมการใช้งาน เช้า บ่าย 1.การใช้งาน 1-3 ชั่วโมง/วัน 5 3 2.การใช้งาน 3-6 ชั่วโมง/วัน 2 3.การใช้งาน 1 วัน/สัปดาห์ 2 2 4. การใช้งาน 2 วัน/สัปดาห์ 5 2 5. การใช้งาน 3 วัน/สัปดาห์ 2 6. การใช้งาน 5 วัน/สัปดาห์ 7.ท่านมักใช้บริการในช่วงเวลาใด 5 ช่วงเวลา 08.00 น- 10.00น. 8.ท่านมักใช้บริการในช่วงเวลาใด 2 ช่วงเวลา 10.00 น- 12.00น. 9.ท่านมักใช้บริการในช่วงเวลาใด 1 ช่วงเวลา 12.00 น- 15.00น. 10.สถานที่ที่ใช้บริการ(ห้องพักครู) 4 2 11.สถานที่ที่ใช้บริการ(ห้องสอน) 5 5 12.สถานที่ที่ใช้บริการ(ห้องคอม) 1 1 ตารางที่ 3 ความพึงพอใจการใช้งานเครือข่าย(N=12) สรุปผล ระบบเครือข่ายการใช้งาน ผล X 1.ความเร็วในการใช้งาน 3.65 ดี 2.ความสะดวกในการเข้าถึง 3.45 ค่อนข้างดี 3.ความมีเสถียรภาพของระบบ 3.48 ดี 4.สามารถให้บริการครอบคลุม 3.58 ดีมาก 5.ความถี่พึงพอใจในการใช้งาน 4.01 ดีมาก _

รูปที่ 9 การติดตั้งระบบเครือข่าย DAP-1360 ผลการทดลอง อาคารที่ 3 (ระยะห่าง 8 เมตร) อาคารที่ 3 DAP-1360 -50 dB 6. ผลการวิจัย จากการศึกษาพฤติกรรมการใช้งานระบบเครือข่าย อิน เทอร์เน็ต ที่ ปรับ ปรุง ใหม่ จ ากแบบสอบถามมี ผ ลดั ง ตารางที่ 2 และ 3

7.สรุปผล จากแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบ เครือข่ายของครูมีดังนี้ 1)ผลการศึกษาพฤติกรรมการใช้งานพบว่าส่วนใหญ่ ของครูจะมีการใช้งานจากระบบเครือข่ายค่อนข้างน้อย เนื่องจากการปรับปรุงเพิ่งแล้วเสร็จไม่นานและพบว่าจะ ใช้บริการในช่วงเช้าและในห้องเรียนที่สอน ส่วนการใช้ งานในห้องคอมพิวเตอร์ จะเป็นผลมาจากการสอนเป็น ส่วนใหญ่ 2) ผลความพึงพอใจการใช้งานเครือข่ายจากแบบ สอบ ถามพบว่าความเร็วในการใช้งานอยู่ในระดับดีมี คะแนนเฉลี่ยที่ 3.65 ส่วนความสะดวกในการเข้าถึง

รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 (Proceedings of SAUNIC 2016) หน้าที่ 1165

การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 rd The 3 SAU National Interdisciplinary Conference 2016

อยู่ในระดับค่อนข้างดีมีคะแนนเฉลี่ยที่ 3.45 ผลจากการ เข้ารหัสผ่านยังไม่คุ้นจากการใช้งาน ความมีเสถียรภาพ ของระบบคะแนนเฉลี่ยที่ 3.48 ส่วนสามารถให้บริการ ครอบคลุมกับพื้นที่อยู่ในระดับดี และความถี่พึงพอใจใน การใช้งานรวม 8.กิตติกรรมประกาศ ขอบพระคุณ ท่ า น ผู้ อานวยการ.เฉลา คอนข า ผอ.โรงเรีย นวั ด ธรรมเจดี ย์ ต าบลงิ้ ว ราย อาเภอเมื อง จังหวัดลพบุรี ที่อนุเคราะห์และสนับสนุนโครงการนี้จน สาเร็จด้วยดี 9. เอกสารอ้างอิง [1] วิภารัตน์ คูณวัตร และคณะ.ความพึงพอใจการใช้ งานสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตของนักศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี. [2] สื่อการสอนซอฟต์แวร์สานักคอมพิวเตอร์(2557) ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี แหล่งที่มา http://www.cc.kmutt.ac.th/wireless/about.html

[3] อานาจ มีมงคล อรรณพ ขันธิกุล (2553) ออกแบบ และติดตั้งระบบ WirelessLAN 2nd Edition พิมพ์ครั้ง ที่ 1 นนทบุรี . [4] คู่มือ Router TP-Link WR841 [5] คู่มือ Asus RT-N12+ Router [6] คู่มือ Router D-Link DAP-1360 ประวัติผู้เขียนบทความ เสน่ห์ ไมตรีจิตร์ อาจารย์ประจา สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม งานวิจัยที่สนใจอิเล็กทรอนิกส์และด้านสื่อสาร ประวัติผู้เขียนบทความ ปัญญา มาลีวัตร อาจารย์ประจา สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม งานวิจัยที่สนใจอิเล็กทรอนิกส์และด้านไมโครฯ รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 (Proceedings of SAUNIC 2016) หน้าที่ 1166

Elec Eng.pdf

rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016. การศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตผ่านระบบออนไลน์ของครูและบุคลากร. โรงเรียนวัดธรรมเจดีย์. Internet online Using ...

1MB Sizes 3 Downloads 283 Views

Recommend Documents

Elec III .pdf
Swapna Manorkar E V iMEET. 77 52 67.53% 39 10 0 3. Prof. A.A. Kale M ACPCE, Khrghar. Page 1 of 1. Elec III .pdf. Elec III .pdf. Open. Extract. Open with.

Elec Eng.pdf
Whoops! There was a problem loading more pages. Elec Eng.pdf. Elec Eng.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Details. Comments. General Info. Type.

Malta_IEEE Elec Pkg Symp_2016_final.pdf
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Malta_IEEE Elec Pkg Symp_2016_final.pdf. Malta_IEEE Elec Pkg Symp_2016_final.pdf. Open. Extract. Open with.

ELEC 204 Digital Systems Design
Zero Detect. MF select n n n. F. MUX F. H select. 2 n. A. B. S 2:0 || C in. Arithmetic/logic unit (ALU). G. B. S. Shifter. H. MUX. 0. 1. 2. 3. MUX. 0. 1. 2. 3. 0 1 2 3. Decoder. Load. Load. Load. Load. Load enable. Write. D data. D address. 2. Destin

ELEC - Original License by Examination.pdf
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. ELEC - Original ...

ELEC - Reinstate Expired License.pdf
Whoops! There was a problem loading this page. Retrying... Whoops! There was a problem loading this page. Retrying... ELEC - Reinstate Expired License.pdf.

Student Database for IX Elec 1st Shift.pdf
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Student ...

2014 registered vendors company name loc products paid fee elec ...
COMPANY. NAME. LOC PRODUCTS. PAID FEE ELEC/TABLE EMAIL. PHONE NOTES. 1 Absolute Imperfection Pottery. Jennie Killen beautifully colored pottery.

download 2005 Natl Elec Code Looseleaf (National ...
... Download 2005 Natl Elec Code Looseleaf (National Electrical Code) by NFPA, 2005 Natl Elec Code Looseleaf (National Electrical Code) For ios by NFPA, ...

Adaptive synchronization of coupled self-sustained elec
direct method to study the asymptotic stability of the solutions of the .... Note that the equality (9) implies that the span of rows of BT P belongs to the span of rows ...

Bayon-Interconec elec FR-ES- v2.1 Corta_16.07 PDF.pdf ...
Bayon-Interconec elec FR-ES- v2.1 Corta_16.07 PDF.pdf. Bayon-Interconec elec FR-ES- v2.1 Corta_16.07 PDF.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In.

Elec. Mat Luis Moya y Gonzalez Sur 002.PDF
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Elec. Mat Luis ...