สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ไตรมาสที่ 1 ประจําปี 2557 (มกราคม – มีนาคม)

1

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

วิสัยทัศน์กระทรวงแรงงาน แรงงานมีผลิตภาพสูง มีความมั่นคง และมีคุณภาพชีวิตทีด่ ี

2

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

3

คํานํา กระทรวงแรงงานมีภารกิจสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยส่งเสริมให้ประชากรวัยทํางาน มีงานทํา มีรายได้ ได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือ การคุ้มครองแรงงาน การจัดระบบแรงงานสัมพันธ์ การประกันสังคม และได้รับค่าตอบแทน ในการทํางานที่เป็นธรรม รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม – มีนาคม) จัดทํา ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลด้ านเศรษฐกิ จและแรงงานที่สําคัญแก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง ภาครัฐ และ ภาคเอกชน ตลอดจนผู้สนใจทั่วไปให้นําไปใช้ประโยชน์จาก ข้อมูลด้านแรงงานในพื้นที่ และในการประกอบการตัดสินใจลงทุนหรือตัดสินใจทําโครงการใน พื้นที่จังหวัดจันทบุรีต่อไป สํานักงานแรงงานจังหวัดจันทบุรี ขอขอบคุณ หน่วยงานสังกัดกระทรวงแรงงานจังหวัด จันทบุรี ส่วนราชการอื่นๆและผู้เกี่ยวข้อง ที่ได้ให้การสนับสนุนข้อมูลเบื้องต้นและหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่ารายงานสถานการณ์แรงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้สนใจ โดยทั่วไป หากมีข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้ง สํานักงานแรงงานจังหวัด จันทบุรี เพื่อพิจารณาแก้ไขปรับปรุงรายงานฉบับนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป สํานักงานแรงงานจังหวัดจันทบุรี เมษายน 2557 หมายเหตุ : หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนข้อมูล 1. สํานักงานสถิติจงั หวัดจันทบุรี 2. สํานักงานคลังจังหวัดจันทบุรี 3. สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี 4. ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี 5. สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี 6. สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

โทร โทร โทร โทร โทร โทร

0 3931 1510 0 3931 1467 0 3932 3840 0 3936 8265-8 0 3931 1574 0 3930 1302

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

4

สารบัญ บทสรุปผูบ้ ริหาร สภาพเศรษฐกิจจังหวัดจันทบุรี ตัวชี้วัดภาวะแรงงาน - อัตราการจ้างงาน - อัตราการบรรจุงาน - อัตราการว่างงาน - อัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายของสถานประกอบการ - อัตราสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี กําลังแรงงาน การมีงานทํา การว่างงาน การส่งเสริมการมีงานทํา - การบริการจัดหางานภาครัฐ - แรงงานต่างด้าว - แรงงานไทยในต่างประเทศ - ผู้ขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกรณีว่างงาน การพัฒนาศักยภาพแรงงาน - การฝึกเตรียมเข้าทํางาน - การฝึกยกระดับฝีมอื แรงงาน - การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน - การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ การคุ้มครองแรงงานและการดูแลให้ลูกจ้างได้รับสวัสดิการ - การตรวจแรงงาน - การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน - การแรงงานสัมพันธ์ - การเลิกจ้างแรงงาน การดูแลให้ลูกจ้างและผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทนตามสิทธิ - กองทุนประกันสังคม - การประสบอันตราย / เจ็บป่วยจากการทํางาน - กองทุนเงินทดแทน ตารางผนวก

หน้า 1 7 17 18 19 20 21 22 23 23 38 38 44 46 47 47 47 48 49 49 50 50 52 53 54 54 55 56 57 59

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

1

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม – มีนาคม 2557) สรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดจันทบุรี เครื่องชี้เศรษฐกิจจังหวัดจันทบุรี ในเดือนมกราคม 2557 บ่งชี้ว่าเศรษฐกิจของจังหวั ด จันทบุรีปรับตัวดีขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา จากการผลิตในด้านอุปทานที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากเดือนที่ผ่านมา โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรม ประกอบกับภาคบริการปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อย ขณะที่ภาคอุตสาหกรรม ปรับตัวลดลง ส่วนด้านอุปสงค์ยังคงอยู่ในภาวะชะลอตัว โดยการลงทุนภาคเอกชน ส่วนการบริโภค ภาคเอกชนและการใช้จ่ายภาครัฐปรับตัวดีขึ้น ขณะที่การค้าชายแดนปรับตัวลดลงเล็กน้อย สําหรับ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดจันทบุรีโดยรวมยังอยู่ในเกณฑ์ดี เศรษฐกิจด้านอุปทาน (ด้านการผลิต) ของจังหวัดจันทบุรี ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากเดือนที่ ผ่านมา สะท้อนได้จากการผลิตภาคเกษตรกรรม โดยดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมในเดือนมกราคม 2557 ขยายตัวร้อยละ 8.89 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากเดือนที่ผ่านมาที่ ขยายตัวร้อยละ 3.38 ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตลําไยซึ่งอยู่ในช่วงฤดูกาลให้ผลผลิต ขณะที่การ ผลิตภาคบริการปรับตัวดีขึ้น โดยดัชนีผลผลิตภาคบริการหดตัวร้อยละ 24.61 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปีที่แ ล้ว ปรับตัวดีขั้นจากเดือนที่ ผ่านมาที่หดตั วร้ อยละ 33.29 จากการจั ดกิ จกรรมส่งเสริมการ ท่องเที่ยวภายในจังหวัด เช่น กิจกรรมกระชับมิตรความสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว จัดโดย โอเอซีสซีเวิลด์ และงานกิ น ลมชมจั น ทร์ บริ เ วณชายหาดเจ้ า หลาว ประกอบกั บ การผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมหดตั ว อย่างต่อเนื่อง โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัวร้อยละ 5.72 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว หดตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากเดื อ นที่ ผ่ า นมาที่ ห ดตั ว ร้ อ ยละ 3.67 ตามการลดลงของปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า ในภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากการปิดกิจการของโรงงานจํานวน 3 โรง เพื่อเปลี่ยนไปประกอบอาชีพอื่น และการขาดต่ออายุใบอนุญาตของโรงงานผลิตผลไม้แปรรูปจํานวน 1 โรง เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (ด้านการใช้จ่าย) ของจังหวัดจันทบุรียังคงอยู่ในภาวะชะลอตัว สะท้อนได้จาก การลงทุนภาคเอกชนยังคงชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชนในเดือน มกราคม 2557 ขยายตัวร้อยละ 14.14 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ชะลอตัวอย่างต่อเนื่องจาก เดือนที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 17.90 ตามการชะลอตัวของปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุนเป็นสําคัญ ขณะที่การบริโภคภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้น โดยดัชนีการบริโภคภาคเอกชนหดตัวร้อยละ 16.63 เมื่อเทียบ กับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาที่หดตัวร้อยละ 19.62 จากจํานวนรถยนต์นั่ง ส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจํานวนรถจักยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ที่ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาเป็น ผลมาจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายของบริษัทรถยนต์ต่างๆ เพื่ อเป็นการกระตุ้นยอดขายขณะที่ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือนที่อยู่อาศัย และการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหดตัวร้อยละ 5.63 และ 2.56 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว และการใช้จ่ายภาครัฐ โดยดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐหดตัวร้อยละ 4.89 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว เป็นผลมาจากในปีนี้จังหวัดจันทบุรีได้รับการจัดสรรเงิน งบประมาณต่ํากว่าปีที่ผ่านมา จึงทําให้ผลการเบิกจ่ายในงบประจําปีนี้ต่ํากว่าปีที่ผ่านมา ขณะที่การเบิกจ่าย งบลงทุนมีการเบิกจ่ายตามงวดงานที่แล้วเสร็จ และมีบางรายการที่อยู่ระหว่างดําเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ส่วน การค้าชายแดนปรับตัวลดลง โดยดัชนีการค้าชายแดนหดตัวร้อยละ 0.24 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปีที่แล้ว ปรับตัวลดลงจากเดือนที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 15.71 ตามการลดลงของมูลค่าการนําเข้าสินค้า ผ่านชายแดน เนื่องจากการนําเข้าสินค้าเกษตรประเภทมันสําปะหลังลดลง ในขณะที่การส่งออกสินค้า ประเภทเชื้อเพลิงและสินค้าอุปโภคบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

2

2. สถานการณ์ด้านแรงงาน 2.1 กําลังแรงงานและการมีงานทํา โครงสร้างกําลังแรงงาน จังหวัดจันทบุรีมีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 515,884 คน เป็นชาย 253,337 คน คิดเป็นร้อยละ 49.11 ของประชากรรวม เป็นหญิง 262,547 คน คิดเป็นร้อยละ 50.89 ของประชากรรวม เป็นผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 321,501 คน เป็นผู้มีงานทํา 321,285 คน (ร้อยละ 99.93 ของผู้อยู่ในกําลังแรงงาน) ผู้ว่างงาน 216 คน (อัตราการว่างงานร้อยละ 0.07 ของผู้อยู่ในกําลังแรงงาน) ผู้ที่รอฤดูกาล 0 คน การมีงานทํา จากการสํารวจภาวการณ์มีงานทําของประชากรผู้มีงานทําในจังหวัดจันทบุรี ทั้งหมด 321,285 คน ปรากฏว่ามีจํานวน 148,815 คน หรือร้อยละ 46.32 ของผู้มีงานทําทั้งหมด ทํางานในภาคเกษตร ผู้มีงานทําจํานวน 172,470 คน หรือร้อยละ 53.68 ของผู้มีงานทําทั้งหมด ทํางาน นอกภาคเกษตร - ผู้มีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม นอกภาคเกษตรจะทํางานในสาขาการขายส่ง การขายปลีก จํานวน 56,908 คน คิดเป็นร้อยละ 17.71 ของผู้มีงานทําทั้งหมด สาขาการผลิต จํานวน 35,563 คน คิดเป็นร้อยละ 11.07 ของผู้มีงานทําทั้งหมด สาขาข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร จํานวน 24,479 คน คิดเป็นร้อยละ 7.62 ของผู้มีงานทําทั้งหมด และสาขาอื่นๆลดลงไปตามลําดับ - ผู้มีงานทําจําแนกตามอาชีพ ส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการ ประมง จํานวน 137,254 คน (ร้อยละ 42.72) ของผู้มีงานทําทั้งหมด รองลงมา คือ พนักงานบริการและ พนั ก งานในร้ า นค้ า และตลาด จํ า นวน 71,531 คน (ร้ อ ยละ 22.26) ของผู้ มี ง านทํ า ทั้ ง หมด และ ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จํานวน 38,123 คน (ร้อยละ 11.88) ของผู้มีงานทําทั้งหมด - ผู้มีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน ผู้มีงานทําส่วนใหญ่เป็นการทํางานส่วนตัว จํานวน 115,058 คน (ร้อยละ 35.81) ของผู้มีงานทําทั้งหมด รองลงมา คือ ลูกจ้างเอกชน จํานวน 96,345 คน (ร้อยละ 29.99) ของผู้มีงานทําทั้งหมด และช่วยธุรกิจครัวเรือน จํานวน 75,397 คน (ร้อยละ 23.47) ของผู้มีงานทําทั้งหมด การว่างงาน จังหวัดจันทบุรีมีผู้ว่างงานทั้งสิ้น 216 คน หรือมีอัตราการว่างงาน ร้อยละ 0.07 ของผู้อยู่ในกําลังแรงงานทั้งหมด เมือ่ พิจารณากลุ่มผู้ว่างงานจําแนกตามเพศแล้ว พบว่าผู้ว่างงาน ทั้งหมดเป็นเพศชายมีอัตราการว่างงาน ร้อยละ 100 ของผู้ว่างงานทั้งหมด อัตราค่าจ้างขั้นต่ํา คณะกรรมการค่าจ้างได้กําหนดให้พื้นที่จังหวัดจันทบุรีมีอัตราค่าจ้าง ขั้นต่ํา = 300 บาทต่อวัน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ประกอบกับคณะกรรมการค่าจ้างได้ กําหนดอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือบังคับให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลกู จ้างที่ผ่านการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือในสาขาอาชีพระดับต่างๆตั้งแต่ 320 บาท จนถึง 775 บาทต่อวัน ใน 22 สาขาอาชีพตามระดับ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติที่ลูกจ้างมีความสามารถทดสอบผ่านได้

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

3

2.2 การส่งเสริมการมีงานทํา การบริการจัดหางาน ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2557 (มกราคม – มีนาคม) นายจ้าง/สถาน ประกอบการได้แจ้งตําแหน่งงานว่าง จํานวน 872 อัตรา ลดลงจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 74.02 (เมื่อ เปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 121.62) โดยมีผู้ลงทะเบียนสมัครงาน 918 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 111.00 (เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว ลดลงร้อยละ 70.61) และการบรรจุงาน 586 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 103.90 (เมื่อเปรียบเทียบกับ ไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 108.72) การจัดหางานต่างประเทศ ในไตรมาส 1 ปี 2557 มีแรงงานในจังหวัดจันทบุรีแจ้งการเดินทางไปทํางานต่างประเทศ ตามกฎหมาย จํานวน 17 คน ลดลงจากไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 80.95 เป็นชาย 14 คน (ร้อยละ 82.35) เป็นหญิง 3 คน (ร้อยละ 17.65) แรงงานต่ า งด้ า ว มี แ รงงานต่ า งด้ า วที่ เ ข้ า มาทํ า งานถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย จํ า นวน 1,082 คน ลดลงจากไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 19.55 (เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว ลดลงร้อยละ 6364.71) แบ่งเป็นประเภทตลอดชีพ จํานวน 180 คน (ร้อยละ 16.64) ประเภทชั่วคราว (มาตรา 9) จํานวน 745 คน (ร้อยละ 68.85) และประเภทมาตรา 13 ยกเว้นมติ ครม. (4) และ (5) จํานวน 157 คน (ร้อยละ 14.51) ส่วนแรงงานต่างด้าวที่อนุญาตให้ทํางานตามมติ ครม. เป็นแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ ทํางานเป็นการชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว กัมพูชา เพื่อทดแทนการขาดแคลนแรงงานในจังหวัด มีจํานวน 8,072 คน เพิ่มขึน้ จากไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 107.99 (เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของ ปีที่แล้ว เพิ่มขึน้ ร้อยละ 130.42) โดยแบ่งเป็นสัญชาติพม่า 1,217 คน (ร้อยละ 15.08) สัญชาติลาว 2,012 คน (ร้อยละ 24.93) และสัญชาติกัมพูชา 4,843 คน (ร้อยละ 60.00) หมายเหตุ :ข้อมูลสะสมคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 2.3 การพัฒนาศักยภาพแรงงาน การพัฒนาฝีมือแรงงาน ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี ได้ดําเนินการฝึกอบรม พัฒนาผู้ใช้แรงงานในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การฝึกเตรียมเข้าทํางาน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน การพัฒนา ฝีมือแรงงานและการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 มีผู้เข้ารับการฝึกดังนี้ - การฝึกเตรียมเข้าทํางาน จํานวน 16 คน ผ่านการฝึก จํานวน 0 คน - ช่างเครื่องกล จํานวน 5 คน ผ่านการฝึก จํานวน 0 คน - ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ จํานวน 8 คน ผ่านการฝึก 0 คน - ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 3 คน ผ่านการฝึก จํานวน 0 คน - การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จํานวน 508 คน ผ่านการฝึก จํานวน 499 คน - ช่างก่อสร้าง จํานวน 80 คน ผ่านการฝึก 80 คน - ช่างเครื่องกล จํานวน 107 คน ผ่านการฝึก 101 คน - เกษตรอุตสาหกรรม จํานวน 40 คน ผ่านการฝึก 40 คน - ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 30 คน ผ่านการฝึก 30 คน - ธุรกิจและบริการ จํานวน 251 คน ผ่านการฝึก 248 คน

4 - การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน เพื่ อ เพิ่ ม โอกาสในการประกอบอาชี พ จํ า นวน 20 คน ผ่านการฝึก 20 คน - ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ จํานวน 20 คน ผ่านการฝึก 20 คน - การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จํานวน 196 คน ผ่านการฝึก จํานวน 135 คน - ช่างอุตสาหกรรม จํานวน 30 คน ผ่านการฝึก จํานวน 5 คน - ช่างเครื่องกล จํานวน 80 คน ผ่านการฝึก จํานวน 72 คน - ช่างไฟฟ้า, อิเล็กทรอนิกส์, คอมพิวเตอร์ จํานวน 43 คน ผ่านการฝึก จํานวน 19 คน - ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 3 คน ผ่านการฝึกจํานวน 3 คน - ธุรกิจและบริการ จํานวน 40 คน ผ่านการฝึก จํานวน 36 คน 2.4 การคุ้มครองแรงงงานและการดูแลให้ลูกจ้างได้รับสวัสดิการ การตรวจแรงงาน - การตรวจคุ้มครองแรงงาน ในไตรมาส 1 ปี 2557 สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดจันทบุรี ได้ดําเนินการตรวจสถานประกอบการทั้งสิ้น จํานวน 194 แห่ง เพิ่มขึ้นจากไตรมาส ที่แล้วร้อยละ 554.28 มีลูกจ้างผ่านการตรวจหรือได้รับความคุ้มครอง จํานวน 4,225 คน เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ แล้ วร้อ ยละ 887.60 ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่ เป็นสถานประกอบการขนาด 1-4 คน จํานวน 78 แห่ง (ร้อยละ 40.21 ของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจทั้งหมด) ทั้งนี้จากผล การตรวจพบว่าสถานประกอบการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย 186 แห่ง (ร้อยละ 95.88) ปฏิบัติไม่ถูก 8 แห่ง (ร้อยละ 4.12) - การตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการ ในไตรมาส 1 ปี 2557 ได้ดําเนินการ ตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการทั้งสิ้น 115 แห่ง โดยมีจํานวนลูกจ้างที่ผ่านการตรวจทั้งสิ้น 3,761 คน พบว่าสถานประกอบการทั้งหมด (115 แห่ง) ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัย 109 แห่ง (ร้อยละ 94.78 ของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจทั้งหมด) ปฏิบัติไม่ถูกต้องตาม กฎหมายความปลอดภัย 6 แห่ง (ร้อยละ 5.22 ของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจทั้งหมด) และได้ ออกคําสั่งให้ปรับปรุงสถานประกอบการทั้ง 6 แห่งแล้ว สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

2.5 การดูแลให้ลูกจ้างและผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทนตามสิทธิ การประกันสังคม มีสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม จํานวน 2,491 แห่ง เพิ่ม ขึ้นจากไตรมาสที่แ ล้ว คิ ดเป็นร้อยละ 117.17 (เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกั นของปีที่ แล้ ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 100.93) ส่วนผู้ประกันตนมีจํานวน 37,561 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว 275 คน คิด เป็ น ร้ อ ยละ 100.74 (เมื่ อเปรี ย บเที ยบกั บ ไตรมาสเดีย วกั น ของปี ที่แ ล้ ว เพิ่ ม ขึ้น ร้อ ยละ 102.91) มีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมที่เป็นสถานพยาบาลของรัฐ จํานวน 1 แห่ง

5 กองทุนประกันสังคม ในไตรมาส 1 ปี 2557 จํานวนผู้ประกันตนของจังหวัดจันทบุรี ที่มาใช้บริการกองทุนประกันสังคมมีจํานวน 22,243 คน หรือร้อยละ 59.22 ของผู้ประกันตนทั้งหมด โดยประเภทประโยชน์ทดแทนที่ผู้ประกันตนใช้บริการสูงสุดได้แก่ สงเคราะห์บุตร มีผู้ประกันตนใช้บริการ 17,906 ราย คิดเป็นร้อยละ 80.50 ของผู้ใช้บริการทั้งหมด รองลงมากรณีเจ็บป่วย 1,926 ราย คิดเป็น ร้อยละ 8.66 กรณีว่างงาน 1,441 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.48 กรณีคลอดบุตร 346 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.55 กรณีทุพพลภาพ 287 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.29 กรณีชราภาพ 247 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.11 และ กรณี ก ารตาย 90 ราย คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 0.04 ทั้ ง นี้ ป ริ ม าณการจ่ า ยเงิ น ประโยชน์ ท ดแทน จํ า นวน 31,013,613.03 มีการจ่ายเงินกรณีคลอดบุตรสูงสุด 7,889,359.00 บาท ร้อยละ 25.44 ของเงิน ประโยชน์ทดแทนที่จ่าย รองลงมา ได้แก่ กรณีสงเคราะห์บุตร สูงสุดถึง 7,792,950.00 บาท หรือร้อยละ 25.13 และกรณีชราภาพ 6,750,288.85 บาท ร้อยละ 21.76 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

6 สรุปการวิเคราะห์สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม – มีนาคม) สถานการณ์ดา้ นเศรษฐกิจ จากข้ อ มู ล ของสํ า นั ก งานจั ด หางานจั ง หวั ด จั น ทบุ รี อั ต ราตํ า แหน่ ง งานว่ า งและการบรรจุ ง าน ในจั ง หวั ด จั น ทบุ รี ใ นแต่ ล ะไตรมาสเป็ น ตั ว ชี้ วั ด แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง สภาพเศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด จั น ทบุ รี ไ ด้ จากข้อมูลตําแหน่งงานว่างและการบรรจุงานของสํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี ไตรมาสที่ 1/2557 มีตําแหน่งงานว่างที่แจ้งผ่านสํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี จํานวน 872 อัตรา ลดลงจากไตรมาส ที่แล้ว จํานวน 306 อัตรา ลดลงร้อยละ 74.02 ชี้ให้เห็นว่าการลงทุนของภาคเอกชนในจังหวัดจันทบุรี มีการหดตัวมากกว่าไตรมาสที่แ ล้ว ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดจันทบุรี โดยรวมอยู่ ในภาวะปรับตัวดีขึ้น เนื่องมาจากการผลิตในด้านอุปทาน โดยพิจารณาจากภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ที่ขยายตัวขึ้น ประกอบกับด้านอุปสงค์โดยเฉพาะด้านการบริโภคภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้น แต่การใช้จ่าย ภาครัฐหดตัวลง ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนและการค้าชายแดนที่มีสัญญาณชะลอตัว สําหรับเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจจังหวัดโดยรวมยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี สถานการณ์ดา้ นสังคม จากข้อมูลของสํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี ชี้ให้เห็นว่าโอกาสการมีงานทําและการสร้าง รายได้ของคนหางานและผู้ว่างงานในจังหวัดจันทบุรีอยู่ในระดับทรงตัว อัตราการว่างงานลดลงจากไตรมาส ที่แล้ว โดยอัตราการว่างงานของจังหวัดจันทบุรีในไตรมาสนี้อยู่ที่ 52.05 ของจํานวนผู้ที่มีงานทําและจาก ข้อมูลอัตราค่าจ้างขั้นต่ําจังหวัดจันทบุรี ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจึงช่วยบรรเทาผลกระทบจากภาวะ ค่าครองชีพที่สูงขึ้น จากภาพรวมของข้อมูลทางด้านแรงงานชี้ให้เห็นว่า เศรษฐกิจจังหวัดจันทบุรีกําลังฟื้นตัว ดีขึ้นทําให้สภาพสังคมของจังหวัดเริ่มเข้มแข็ง แต่ตลาดแรงงานโดยรวมของจังหวัด มีโครงสร้างที่ไม่สมดุล ซึ่งพิจารณาได้ จากข้อมูลการบรรจุงานของสํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรีโดยมีตําแหน่งงานว่าง 872 อั ต รา และมี ผู้ ม าลงทะเบี ย นสมั ค รงาน 918 คน แต่ บ รรจุ ง าน 586 คน (ร้ อ ยละ 63.83 ของผู้ ม า ลงทะเบียนสมัครงาน) สถานการณ์ดา้ นความมั่นคง จากข้อมูลของ สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี มีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทํางานถูกต้องตาม กฎหมาย จํานวน 1,082 คน ลดลงจากไตรมาสที่แล้ว (ไตรมาสที่แล้ว 5,533) จํานวน 4,451 คน ลดลง ร้อยละ 80.00 แบ่งเป็นประเภทตลอดชีพ จํานวน 180 คน (ร้อยละ 16.67) ประเภทชั่วคราว(มาตรา 9) จํานวน 745 คน (ร้อยละ 68.85) และประเภทมาตรา 13 ยกเว้นมติ ครม.(4) และ (5) จํานวน 157 คน (ร้อยละ 14.51) ส่วนแรงงานต่างด้าวที่อนุญาตให้ทํางานตามมติ ครม. เป็นแรงงานที่ได้รับ อนุญาตให้ทํางานเป็นการชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว กัมพูชา เพื่อทดแทนการขาดแคลน แรงงาน ในจังหวัด มีจํานวน 8,072 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว จํานวน 597 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 107.99 แบ่งเป็น สัญชาติพม่า 1,217 คน (ร้อยละ 15.08) สัญชาติลาว 2,012 คน (ร้อยละ 24.23) และสัญชาติกัมพูชา 4,843 คน (ร้อยละ 60.00) การที่แรงงานต่างด้าวเข้ามาทํางานในจังหวัดจันทบุรี จํานวนมากทั้งถูกฎหมายและหลบหนีเข้า เมืองมาทํางาน มีผลกระทบตามมา เช่น การก่ออาชญากรรม การก่อความไม่สงบ และปัญหาทางด้าน สาธารณสุข การเกิดโรคติดต่อต่างๆ ที่มากับแรงงานต่างด้าว ทําให้ประชาชนในจังหวัดจันทบุรี มีความ เสี่ยงด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และส่งผลกระทบต่อความมั่นคงจังหวัดจันทบุรีในด้านอื่นๆ ด้วย สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

7

สภาพเศรษฐกิจจังหวัดจันทบุรี สรุปภาวะเศรษฐกิจ ไตรมาส 1 ปี 2557 1. ข้อมูลทั่วไป จั ง หวั ด จั น ทบุ รี ตั้ ง อยู่ ใ นภาคตะวั น ออกของประเทศไทย ห่ า งจากกรุ ง เทพมหานคร ประมาณ 245 กิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ ป ระมาณ 6,338 ตารางกิ โ ลเมตรหรื อ ประมาณ 3,961,250 ไร่ แบ่ ง การปกครองออกเป็ น 10 อํ า เภอ 76 ตํ า บล 728 หมู่ บ้ า น 1 องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด 5 เทศบาลเมือง 35 เทศบาลตําบล 41 องค์การบริหารส่วนตําบล มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัดสระแก้ว ทิศใต้ ติดต่อกับ อ่าวไทย ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดตราด และประเทศกัมพูชา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดระยองและชลบุรี ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดจันทบุรี ด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกเป็นป่าไม้ ภูเขา และที่เนินสูงเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงกว่าระดับน้ําทะเล 30 -150 เมตร ส่วนด้านทิศใต้เป็นชายฝั่งที่มีลักษณะ ที่เป็นที่ราบลุ่ม บางแห่งเป็นอ่าวแหลม และหาดทราย สูงกว่าระดับน้ําทะเล 1-5 เมตร ภูมิอากาศโดยทั่วไปมี ฝนตกชุก ประมาณปีละ 6 เดือน มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 2,397 มิลลิลิตรต่อปี ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 83.4%

ฉะเชิงเทรา

สระแก้ว กัมพูชา

ชลบุรี

ระยอง ตราด อ่ าวไทย

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

8

2. ภาวะทางเศรษฐกิจจังหวัดจันทบุรี โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดจันทบุรี ขึ้นอยู่กับสาขาการเกษตร สาขาการขายส่ง – การขายปลีกฯ และสาขาการศึกษาเป็นสําคัญ ภาวะทางเศรษฐกิจของจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 ในภาพรวมอยู่ในภาวะขยายตัว เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 2.1 ภาวะเศรษฐกิจภาคการเกษตร สาขาเกษตรกรรม การผลิตสาขาเกษตรกรรม โดยดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมในเดือน มกราคม 2557 ขยายตัวร้อยละ 8.89 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจาก เดือนที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 3.38 ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตลําไยซึ่งอยู่ในช่วงฤดูกาลให้ ผลผลิต 2.2 การบริโภคภาคเอกชน การบริโภคภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้น โดยดัชนีการบริโภคภาคเอกชนหดตัวร้อยละ 16.63 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาที่หดตัวร้อยละ 19.62 จากจํานวน รถยนต์นั่งส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจํานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ที่ปรับตัวดีขึ้นจากเดือน ที่ผ่านมาเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายของบริษัทรถยนต์ต่างๆ เพื่อเป็นการกระตุ้นยอดขาย ขณะที่ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือนที่อยู่อาศัย และการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหดตัวร้อยละ 5.63 และ 2.56 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว 2.3 การลงทุนภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชนยังคงชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชนในเดือน มกราคม 2557 ขยายตัวร้อยละ 14.14 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ชะลอตัวอย่างต่อเนื่องจาก เดือนที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 17.90 ตามการชะลอตัวของปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุนเป็นสําคัญ 2.4 การค้าชายแดน การค้าชายแดนปรับตัวลดลง โดยดัชนีการค้าชายแดนหดตัวร้อยละ 0.24 เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ปรับตัวลดลงจากเดือนที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 15.71 ตามการลดลงของ มูลค่าการนําเข้าสินค้าผ่านชายแดน เนื่องจากการนําเข้าสินค้าเกษตรประเภทมันสําปะหลังลดลง ในขณะที่ การส่งออกสินค้าประเภทเชื้อเพลิงและสินค้าอุปโภคบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง 2.5 การผลิตภาคอุตสาหกรรม การผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัวอย่างต่อเนื่อง โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัว ร้อยละ 5.72 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว หดตัวอย่างต่อเนื่องจากเดือนที่ผ่านมาที่หดตัวร้อยละ 3.67 ตามการลดลงของปริมาณการใช้ไฟฟ้าในภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากการปิดกิจการของโรงงาน จํานวน 3 โรง เพื่อเปลี่ยนไปประกอบอาชีพอื่น และการขาดต่ออายุใบอนุญาตของโรงงานผลิตผลไม้แปรรูป จํานวน 1 โรง 2.6 การผลิตภาคบริการ การผลิตภาคบริการปรับตัวดีขึ้น โดยดัชนีผลผลิตภาคบริการหดตัวร้อยละ 24.61 เมื่อ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ปรับตัวดีขั้นจากเดือนที่ผ่านมาที่หดตัวร้อยละ 33.29 จากการจัด กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในจังหวัด เช่น กิจกรรมกระชับมิตรความสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว จัดโดยโอเอซีส ซีเวิลด์ และงานกินลม ชมจันทร์ บริเวณชายหาดเจ้าหลาว

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

9

2.7 การใช้จ่ายภาครัฐ การใช้จ่ายภาครัฐ โดยดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐหดตัวร้อยละ 4.89 เมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปีที่แล้ว เป็นผลมาจากในปีนี้จังหวัดจันทบุรีได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณต่ํากว่าปีที่ผ่านมา จึงทําให้ผลการเบิกจ่ายในงบประจําปีนี้ต่ํากว่าปีที่ผ่านมา ขณะที่การเบิกจ่ายงบลงทุนมีการเบิกจ่ายตามงวด งานที่แล้วเสร็จ และมีบางรายการที่อยู่ระหว่างดําเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 2.8 ด้านรายได้เกษตรกร รายได้เกษตรกรในเดือนมกราคม 2557 หดตัวร้อยละ 0.56 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปีที่แล้ว ปรับตัวลดลงจากเดือนที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 1.20 เป็นผลมาจากดัชนีราคาผลผลิตภาค เกษตรกรรมที่ปรับตัวลดลง ตามการลดลงของราคาสินค้าเกษตรที่สําคัญของจังหวัด เช่น ยางพารา และ ลําไย 2.9 ด้านการเงิน ด้านการเงิน สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินมีการขยายตัวของสินเชื่อสูงกว่าเงินฝาก โดยสินเชื่อขยายตัวร้อยละ 14.16 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ชะลอตัวลงจากเดือนที่ผ่านมา ที่ขยายตัวร้อยละ 17.94 ในขณะที่ปริมาณเงินฝากขยายตัวร้อยละ 7.21 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปีที่แล้ว ชะลอตัวจากเดือนที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 7.45 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการเร่งระดมเงินฝาก ของธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ เพื่อรองรับการเติบโตของสินเชื่ออยู่อย่างต่อเนื่อง ๒.10 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจังหวัด ในเดือนมกราคม 2557 ขยายตัวร้อยละ 3.2 มีสาเหตุ สําคัญมาจากการสูงขึ้นของหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 6.0 โดยหมวดอาหาร บริ โ ภค-นอกบ้ า น สู ง ขึ้ น ร้ อ ยละ 10.5 หมวดอาหารบริ โ ภค-ในบ้ า น สูง ขึ้ นร้ อ ยละ 8.8 หมวดไข่ แ ละ ผลิตภัณฑ์นม สูงขึ้นร้อยละ 6.9 หมวดเนื้อสัตว์ เป็ดไก่และสัตว์น้ํา สูงขึ้นร้อยละ 5.8 หมวดเครื่องประกอบ อาหาร สูงขึ้นร้อยละ 4.1 หมวดผักและผลไม้ สูงขึ้นร้อยละ 2.9 หมวดข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง สูงขึ้นร้อยละ 2.6 หมวดเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 1.2 สําหรับดัชนีราคาหมวดอื่นๆ ไม่ใช่ อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 1.7 มีสาเหตุสําคัญมาจากหมวดยาสูบและเครื่องดื่ม มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 7.2 หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า สูงขึ้นร้อยละ 3.7 หมวดการตรวจรักษาและการบริการ ส่วนบุคคล สูงขึ้นร้อยละ 3.5 หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร สูงขึ้นร้อยละ 1.9 หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษา และการศาสนา สูงขึ้นร้อยละ 0.8 และการจ้างงานเพิ่มขึ้น ตามจํานวนผู้ประกันตนใน ระบบประกันสังคมที่ขยายตัวร้อยละ 5.84 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ชะลอตัวจากเดือน ที่ผ่านมาขยายตัวร้อยละ 7.01 เป็นผลมาจากจํานวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมสะสมลดลง จากการ ปิดกิจการของผู้ประกอบการขนาดใหญ่

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

10

2.11 ด้านการคลัง ด้านการคลัง ในเดือนมกราคม 2557 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจํานวน 628,871 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10.60 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ปรับตัวลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ที่เบิกจ่ายได้เพิ่ม ขึ้นร้ อยละ 24.87 โดยเบิกจ่ายงบประจําเท่ากับ 415.253 ล้ านบาท ลดลงร้อยละ 13.28 รายจ่ายงบลงทุนเท่ากับ 79.933 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.31 เงินงบประมาณปีก่อนเท่ากับ 133.685 ล้ า นบาท ลดลงร้ อ ยละ 13.87 เป็ น ผลมาจากในปี นี้ จั ง หวั ด จั น ทบุ รี ได้ รั บ การจั ด สรรเงิ น งบประมาณต่ํากว่าปีที่ผ่านมา จึงทําให้ผลการเบิกจ่ายในงบประจําของปีนี้ต่ํากว่าปีที่ผ่านมา ขณะที่การ เบิ ก จ่ า ยงบลงทุ น มี ก ารเบิ ก จ่ า ยตามงวดงานที่ แ ล้ ว เสร็ จ และมี บ างรายการที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งดํ า เนิ น การ จัดซื้อจัดจ้าง สําหรับผลการจัดเก็บรายได้ในเดือนมกราคม 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 124.082 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.04 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้วปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยจากเดือนที่ผ่านมาที่จัดเก็บ รายได้ลดลงร้อยละ 0.71 เป็นผลมาจากสํานักงานสรรพากรพื้นที่จันทบุรี สํานักงานสรรพสามิตพื้นที่ จัน ทบุ รี และด่า นศุล กากรจั น ทบุรี จัด เก็บและนํา ส่ งรายได้ เพิ่ม ขึ้ นร้ อ ยละ 1.33 1.43 และ 80.64 ตามลําดับ จากการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และค่าธรรมเนียม อื่นได้เพิ่มขึ้น สําหรับธนารักษ์พื้นที่จันทบุรี และส่วนราชการอื่น จัดเก็บและนําส่งรายได้ลดลงร้อยละ 6.42 และ 0.98 จากการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการให้เช่า และค่าธรรมเนียมอื่นลดลง สําหรับดุลเงินงบประมาณ ในเดือน มกราคม 2557 ขาดดุลจํานวน 523.117 ล้านบาท 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดจันทบุรี ปี 2554 ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP Implicit Price Deflator) ขยายตัวร้อยละ 9.3 เทียบกับที่ขยายตัวร้อยละ 8.7 ในปี 2553 โดยดัชนีราคาภาค เกษตรขยายตัวร้อยละ 16.8 เป็นผลมาจากการขยายตัวของสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการทํา ป่าไม้ ในอัตราร้อยละ 16.8 จากราคาสินค้าเกษตรที่สําคัญเพิ่มขึ้นจากปี 2553 และดัชนีราคาสาขา ประมง ชะลอลงร้อยละ 18.6 ส่วนดัชนีราคานอกภาคเกษตรชะลอลงร้อยละ 2.0 เทียบกับที่ขยายตัว ร้อยละ 4.2 ในปี 2553 เป็นผลจากระดับราคาสินค้าในสาขาการผลิตและสาขาการบริการส่วนใหญ่ชะลอ ตัวลง ยกเว้นสาขาเหมืองแร่และเหมืองหิน และสาขาการศึกษาที่มีระดับราคาเพิ่มขึ้น สําหรับดัชนีราคา ผู้บริโภคของจังหวัดจันทบุรี ขยายตัวร้อยละ 5.5 เทียบกับที่ขยายตัวร้อยละ 9.4 ในปี 2553 ส่วนดัชนี ราคาผู้ผลิตโดยรวมของประเทศชะลอลงร้อยละ 4.1 เทียบกับที่ขยายตัวร้อยละ 5.0 ในปี 2553

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามสาขาการผลิต สาขาการผลิต ภาคเกษตร สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ สาขาประมง ภาคนอกเกษตร สาขาเหมืองแร่และเหมืองหิน สาขาอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้า ประปา และโรงแยกก๊าซ สาขาก่อสร้าง สาขาการขายส่ง การขายปลีก สาขาโรงแรมและภัตตาคาร สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าและการคมนาคม สาขาตัวกลางทางการเงิน สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการทางธุรกิจ การบริหารราชการแผ่นดิน ฯ สาขาการศึกษา สาขาการบริการด้านสุขภาพและสังคม สาขาการให้บริการด้านชุมชน สังคมและบริการส่วนบุคคลอื่นๆ สาขาลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product) ดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI)

11

( หน่วย : ล้านบาท)

2553

2554

128.5 130.2 110.7 112.4 131.6 118.9 81.3 97.5 117.1 103.5 105.7 113.3 108.5 107.7 110.8 108.8 106.5 107.6 120.1 118.3 113.3

150.1 152.0 131.3 114.6 137.1 117.4 82.4 100.3 118.5 108.1 109.6 118.0 121.1 107.8 116.0 108.9 106.2 112.9 131.3 124.8 118.0

ที่มา : รายงานสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดจันทบุรี สํานักงานคลังจังหวัดจันทบุรี

อัตราขยาย ตัวปี 54

16.8 16.8 18.6 2.0 4.2 -1.3 1.4 2.9 1.2 4.4 3.7 4.2 11.6 0.1 4.7 0.1 -0.3 4.9 9.3 5.5 4.1

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

12

4.ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค สํานักงานพาณิชย์จังหวัดจันทบุรี ร่วมกับสํานักสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ขอรายงานความเคลื่อนไหว ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดจันทบุรี เดือน มีนาคม 2557 โดยสรุป การประมวลผลดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศรายการสินค้าและบริการที่ใช้คํานวณ จํานวน 450 รายการ สําหรับจังหวัดจันทบุรี ใช้ 283 รายการ ครอบคลุมหมวดอาหารและเครื่องดื่ม หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า หมวดเคหะสถานหมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล หมวดพาหนะ การขนส่งและการสื่อสาร หมวดการบันเทิงการอ่านและการศึกษา หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ เมื่อนํามาคํานวณดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดจันทบุรี สรุปได้ดังนี้.1. ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศเดือน มีนาคม 2557 ปี 2554 ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศเท่ากับ 100 และเดือนมีนาคม 2557 เท่ากับ 106.94 ถ้าเทียบกับเดือน กุมภาพันธ์ 2557 (เท่ากับ106.71) สูงขึ้นร้อยละ 0.22 และถ้าเทียบ กับเดือน มีนาคม 2556 สูงขึ้นร้อยละ 2.11 เทียบเฉลีย่ 3 เดือน (มกราคม – มีนาคม) ปี 2557 กับระยะ เดียวกันของปี 2556 สูงขึ้นร้อยละ 2.00 2. ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดจันทบุรี เดือน มีนาคม 2557 ปี 2554 ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดจันทบุรี เท่ากับ 100 เดือน มีนาคม 2557 เท่ากับ 114.9 สําหรับเดือน กุมภาพันธ์ 2557 เท่ากับ 114.8 3. การเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดจันทบุรี เดือน มีนาคม 2557 เมื่อ เทียบกับ 3.1 เดือน กุมภาพันธ์ 2557 สูงขึ้นร้อยละ 0.1 3.2 เดือน มีนาคม 2556 สูงขึ้นร้อยละ 3.3 3.3 เทียบเฉลีย่ 3 เดือน (มกราคม – มีนาคม) ปี 2557 กับระยะเดียวกันของปี 2556 สูงขึ้นร้อยละ 3.2 4. ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดจันทบุรี เดือน มีนาคม 2557 เทียบกับ เดือน กุมภาพันธ์ 2557 สูงขึ้นร้อยละ 0.1 มีสาเหตุสําคัญมาจากหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 0.1 และจากหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 4.1 ดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 0.1 มีสาเหตุ สําคัญมาจากการสูงขึ้นของ รายการเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ํา สูงขึ้นร้อยละ 1.1 (กุ้งขาว ปลาช่อน ปลา กะพง ปลานิล เป็ด ไก่ เนื้อสุกร กระดูกซี่โครงหมู) รายการเครื่องประกอบอาหาร สูงขึ้นร้อยละ 0.2 (น้ําปลา ซอสมะเขือเทศ น้ํามันและไขมัน กะทิสําเร็จรูป มะพร้าว (ผลแห้งขูด) เครื่องปรุงอาหาร ) ในขณะที่ รายการผักและผลไม้ ลดลงร้อยละ 1.1 (ถั่วฝักยาว พริกสด ดอกกุ๋ยฉ่าย หัวหอมแดง มะเขือเทศ ผักบุ้ง เห็ด และมะม่วง) เนื่องจากผลผลิตของผักบางรายการออกสู่ตลาดมากขึ้น รายการไข่และผลิตภัณฑ์นม ลดลง ร้อยละ 1.1 (ไข่ไก่ ไข่เค็ม นมข้นหวาน และครีมเทียม) รายการเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ลดลงร้อยละ 0.3 (กาแฟผงสําเร็จรูป เครื่องดื่มรสชอกโกแลต ) รายการข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง ลดลงร้อยละ 0.1 (ข้าวสารเหนียว ข้าวสารเจ้า ) 4.2 ดัชนีราคาหมวดอื่น ๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 มีสาเหตุสําคัญ มาจากการสูงขึ้นของหมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 1.0 (เครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์เบียร์ ผลิตภัณฑ์สรุ า) หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล สูงขึ้นร้อยละ0.2 (ค่าของใช้ ส่วนบุคคล ค่าบริการส่วนบุคคล ค่าแต่งผมสตรี) หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร สูงขึ้นร้อยละ 0.2 (น้ํามันเชื้อเพลิง แก๊สโซฮอล์ 91 แก๊สโซฮอล์ 95) หมวดเคหสถาน สูงขึ้นร้อยละ 0.1 (เชื้อเพลิงในบ้าน ก๊าซหุงต้ม ไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้ําประปา)

13 5. ถ้าพิจารณาเทียบกับเดือนมีนาคม 2556 ดัชนีราคาผู้บริโภค สูงขึน้ ร้อยละ3.3 มีสาเหตุสําคัญมาจากการสูงขึ้นของ หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 7.1 โดย รายการอาหารบริโภค-นอกบ้าน สูงขึ้นร้อยละ 10.7 รายการอาหารบริโภค-ในบ้าน สูงขึ้นร้อยละ 8.8 รายการเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ํา สูงขึ้นร้อยละ 8.3 รายการผักและผลไม้ สูงขึ้นร้อยละ 6.9 รายการไข่ และผลิตภัณฑ์นม สูงขึ้นร้อยละ 6.4 รายการเครื่องประกอบอาหาร สูงขึ้นร้อยละ 4.4 รายการข้าวแป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง สูงขึน้ ร้อยละ 2.2 รายการเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 1.3 สําหรับดัชนีราคาหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 1.2 มีสาเหตุสําคัญ มาจาก หมวดยาสูบและเครือ่ งดื่มมีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 8.0 หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า สูงขึ้น ร้อยละ 3.7 หมวดการตรวจรักษาและการบริการส่วนบุคคลสูงขึ้นร้อยละ 2.8 หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร สูงขึ้นร้อยละ 1.1 หมวดการบันเทิงการอ่าน การศึกษา และการศาสนา สูงขึ้นร้อยละ 0.6 หมวดเคหสถาน สูงขึ้นร้อยละ0.3 6. ถ้าเทียบเฉลี่ย 3 เดือน (มกราคม – มีนาคม) ปี 2557 กับระยะเดียวกันของปี 2556 สูงขึ้นร้อยละ 3.2 สาเหตุสําคัญมาจากการสูงขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้น ร้อยละ 6.6 สาเหตุสําคัญมาจาก รายการอาหารบริโภค - นอกบ้าน สูงขึ้นร้อยละ 10.6 รายการอาหาร บริโภคในบ้าน สูงขึ้นร้อยละ 8.8 รายการเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ํา สูงขึ้นร้อยละ 6.9 รายการไข่และ ผลิตภัณฑ์นม สูงขึ้นร้อยละ 6.4 รายการผักและผลไม้ สูงขึ้นร้อยละ 5.9 รายการเครื่องประกอบอาหาร สูงขึ้นร้อยละ 4.2 รายการข้าว แป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง สูงขึ้นร้อยละ 2.4 รายการเครื่องดื่มไม่มี แอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 1.2 ส่วนดัชนีหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 1.3 มีสาเหตุสําคัญมาจาก หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 7.5 หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า สูงขึ้นร้อยละ3.7 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคลสูงขึ้นร้อยละ 3.2 หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร สูงขึ้นร้อยละ 1.3 หมวดการบันเทิงการอ่าน การศึกษา และการศาสนา สูงขึ้นร้อยละ 0.7 หมวดเคหสถาน สูงขึ้นร้อยละ0.2 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

14

ตารางดัชนีราคาผูบ้ ริโภคจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามประเภทของดัชนีและหมวดสินค้า ไตรมาสที่ 1 ปี 2557 หมวด รวมทุกรายการ หมวดอาหารและเครื่องดืม่ ข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ํา ไข่ และผลิตภัณฑ์นม ผัก และผลไม้ เครื่องประกอบอาหาร เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ อาหารบริโภค-ในบ้าน อาหารบริโภค-นอกบ้าน หมวดอืน่ ๆ ไม่ใช่อาหาร และเครื่องดื่ม หมวดเครื่องนุ่งห่ม และรองเท้า หมวดเคหสถาน หมวดการตรวจรักษา และบริการส่วนบุคคล หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร หมวดการบันเทิงการอ่าน และการศึกษา หมวดยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ ดัชนีราคาผูบ้ ริโภคพืน้ ฐาน กลุ่มอาหารสด และพลังงาน - อาหารสด - พลังงาน ทีม่ า : สํ านักงานพาณิชย์ จงั หวัดจันทบุรี

พ.ย.56 113.8 115.5 110.6 109.7 102.1 133.2 108.1 102.8 111.8 116.7 113.1 103.9 102.5 104.0 124.5 100.6 114.0 113.2 114.8 118.1 108.8

ต.ค.56 113.3 114.2 110.6 108.8 102.6 136.0 107.8 102.1 107.9 113.8 112.9 103.8 102.4 103.1 124.3 100.6 113.4 112.3 114.7 118.2 108.5

ดัชนี พ.ย.55 ม.ค.-พ.ย.56 109.2 112.0 106.6 111.4 108.0 109.4 103.9 106.5 95.0 98.5 115.6 128.5 104.2 105.0 102.4 102.0 104.5 106.2 106.0 109.9 111.5 112.5 100.2 101.2 102.5 102.5 101.0 102.3 122.4 124.3 100.0 100.3 107.1 108.7 110.5 111.4 107.3 112.8 107.9 114.8 106.0 108.4

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

15

5. การจดทะเบียนนิตบิ คุ คลใหม่ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 จังหวัดจันทบุรีมีการจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหม่ทั้งสิ้น 0 ราย ตารางการจดทะเบียนนิตบิ คุ คลจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามประเภทการจดทะเบียน ไตรมาสที่ 1 ปี ๒๕๕7 ประเภทการจดทะเบียน จํานวนนิติบุคคลจัดตั้ง (ราย) ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลจัดตั้ง (บาท)

ม.ค.๕7

มี.ค.๕7

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บริษทั จํากัด -

จํานวนนิติบุคคลเลิกกิจการ (ราย) ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลเลิกกิจการ (บาท) จํานวนนิติบุคคลจัดตั้ง (ราย) ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลจัดตั้ง (บาท) จํานวนนิติบุคคลเลิกกิจการ (ราย) ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลเลิกกิจการ (บาท)

ก.พ.๕7

ห้างหุน้ ส่วนจํากัด -

-

ห้างหุน้ ส่วนสามัญนิตบิ คุ คล จํานวนนิติบุคคลจัดตั้ง (ราย) ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลจัดตั้ง (บาท) จํานวนนิติบุคคลเลิกกิจการ (ราย) ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลเลิกกิจการ (บาท) ที่มา : สํานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

16

6. การจดทะเบียนโรงงาน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 จังหวัดจันทบุรีมีการจดทะเบียนโรงงานตั้งใหม่ทั้งสิ้น 2 ราย ทุนจดทะเบียนของโรงงานตั้งใหม่ จํานวน 5,240,000.00 บาท และปิดกิจการ 13 ราย ตารางการจดทะเบียนโรงงานในจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามประเภทการจดทะเบียน ไตรมาสที่ 1 ปี ๒๕๕7 ประเภทการจดทะเบียน จํานวนโรงงานที่ได้รับใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน (ราย) เงินทุนที่จัดตั้ง (บาท) จํานวนโรงงานที่เลิกกิจการ (ราย) ทุนโรงงานที่เลิกกิจการ (บาท) ที่มา : สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

ม.ค.๕7

ก.พ.๕7

มี.ค.๕7

0

2

0

0 4

5,240,000.00

0

1

8

15,150,000.00

750,000.00

16,160,000.00

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

17

ตัวชีว้ ัดภาวะแรงงาน ภาวะด้านแรงงานมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สืบเนื่องจากปัจจัยทาง เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ดังนั้น การจะทราบความเคลื่อนไหวหรือการเปลี่ยนแปลงของภาวะแรงงาน จึงต้องมีการพิจารณาศึกษาเพื่อกําหนดตัวชี้วัด พร้อมทั้งติดตามการเปลี่ยนแปลง สถานการณ์แรงงาน จังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 ฉบับนีข้ อนําเสนอตัวชี้วัดภาวะแรงงานดังนี้ 1. อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงาน อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงานเป็นตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นถึงสภาพกําลังแรงงานใน จังหวัดจันทบุรี เมื่อเทียบกับประชากรวัยแรงงานทั้งหมด โดยคํานวณจากกําลังแรงงานในจังหวัดจันทบุรี เทียบกับประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในจังหวัดจันทบุรีโดยใช้ข้อมูลสรุปผลสํารวจโครงการสํารวจ ภาวการณ์ทํางานของประชากรจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 ซึ่งเป็นข้อมูลสรุปผลฉบับล่าสุดของ สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี จะพบว่าในไตรมาส 1 ปี 2557 อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงานจังหวัด จันทบุรี มีอัตราร้อยละ 76.38 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 4 ปี 2556 และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของ ปีที่แล้ว พบว่ามีอัตราเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 1 ปี 2556 ทีม่ ีอัตราร้อยละ 75.10 แผนภูมิ 1 อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงานในจังหวัด =

กําลังแรงงานในจังหวัด * 100 ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

18

2. อัตราการจ้างงาน อั ต ราการจ้ า งงานต่ อ กํ า ลั ง แรงงานเป็ น ตั ว ชี้ วั ด ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ภาวการณ์ จ้ า งงานใน ตลาดแรงงานของจังหวัดจันทบุรี ว่ามีสัดส่วนมากน้อยเพียงใด สําหรับอัตราการจ้างงานในภาคเกษตรของ จังหวัดจันทบุรี ซึ่งคํานวณจากผู้มีงานทําในภาคเกษตรจังหวัดจันทบุรีต่อกําลังแรงงานที่มีงานทําในจังหวัด จันทบุรี ในไตรมาส 1 ปี 2557 พบว่ามีอัตราในการจ้างงานในภาคเกษตรจังหวัดจันทบุรี มีอัตราร้อยละ 46.32 โดยมีสัดส่วนลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา มีสัดส่วนลดลง ส่วนอั ตราการจ้างงาน นอกภาคเกษตร ในไตรมาส 1 ปี 2557 พบว่ามีอัตราในการ จ้างงานนอกภาคเกษตรจังหวัดจันทบุรี มีอัตราร้อยละ 53.68 มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 255๖ และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมามีอัตราเพิ่มขึ้น แผนภูมิ 2 อัตราการจ้างงานใน/นอกภาคการเกษตร

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : อัตราการจ้างงานใน/นอกภาคการเกษตรในจังหวัด = ผู้มีงานทําใน/นอกภาคการเกษตร * 100 ผู้มีงานทําในจังหวัด

เมื่อพิจารณาอัตราการจ้างงานเฉพาะ ในส่วนภาคอุตสาหกรรม โดยคํานวณจากจํานวนผู้มี งานทํ า ในภาคอุ ต สาหกรรม เปรี ย บเที ย บกั บ จํ า นวนผู้ มี ง านทํ า ทั้ ง หมดจะพบว่ า อั ต ราการจ้ า งงานใน ภาคอุตสาหกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 มีอัตรา 11.06 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2556 มีอัตรา เพิ่มขึ้น และมีอัตราเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันกับปีที่แล้ว

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

19

แผนภูมิ 3 อัตราการจ้างงานในอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : อัตราการจ้างงานในอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัด = ผู้มีงานทําในภาคอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัด *100 ผู้มีงานทําในจังหวัด

3. อัตราการบรรจุงาน อัตราการบรรจุ งานในแต่ละไตรมาส เป็นตั วชี้ วัดที่แสดงให้เห็นถึ งการเคลื่อนไหวของ ภาวการณ์ด้านแรงงาน ซึ่งสามารถศึกษาวิเคราะห์กับจํานวนตําแหน่งงานว่าง และจํานวนผู้สมัครงาน โดย เมื่อวิเคราะห์จํานวนการบรรจุงานที่สํานักงานจัดหางานจังหวัดดําเนินการ เทียบกับจํานวนตําแหน่งงานว่าง ที่แจ้งผ่านสํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี จะพบว่า อัตราการบรรจุงานต่อตําแหน่งงานว่าง ไตรมาส 1 ปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 63.83 โดยมีอัตราการบรรจุงานเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ที่มี อัตราการบรรจุงานต่อตําแหน่งงานว่าง ร้อยละ 47.88 อัตราการบรรจุงานต่อผู้สมัครงาน ไตรมาส 1 ปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 67.20 ลดลงจาก ไตรมาส 4 ปี 2556 ที่มีอัตราการบรรจุงานต่อผู้สมัครงานร้อยละ 68.20 แผนภูมิ 4 อัตราการบรรจุงานต่อผู้สมัคร/ตําแหน่งงานว่างในจังหวัดจันทบุรี

ทีม่ า : สํ านักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : 1. อัตราการบรรจุงานต่อผู้สมัครงานจังหวัด =

ผู้ได้รับการบรรจุงานในจังหวัด * 100 ผู้สมัครงานในจังหวัด

2. อัตราการบรรจุงานต่อตําแหน่งงานว่างจังหวัด = ผู้ได้รับการบรรจุงานในจังหวัด * 100 ตําแหน่งงานว่างในจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

20

4. อัตราการว่างงาน การศึกษาอัตราการว่างงานในปีที่ผ่านมา จะพบว่าอัตราการว่างงานของจังหวัด จันทบุรี แต่ละไตรมาสจะปรับตัวสูงขึ้นและลดลงตามปัจจัยในเรื่องฤดูกาล และการเข้าสู่ตลาดแรงงานของ ผู้สําเร็จการศึกษา ซึ่งข้อมูลในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 อัตราการว่างงานในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 มีอัตรา ร้อยละ 0.07 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา มีอัตราลดลง แผนภูมิ 5 อัตราการว่างงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัด หมายเหตุ : อัตราการว่างงานในจังหวัด =

จํานวนผู้ไม่มีงานทําจังหวัด * 100 กําลังแรงงานในจังหวัด

จํานวนแรงงานต่างด้าวตามมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ซึ่งได้แก่แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว กั ม พู ชา เมื่อ รวมจํานวนแรงงานต่างด้ า วทุกประเภทที่ สํ านั กงานจั ดหางานจั ง หวัดจัน ทบุรี บริห าร จัดการอยู่ โดยคํานวณจากจํานวนแรงงานต่างด้าวในจังหวัดต่อกําลังแรงงานในจังหวัดพบว่า ช่วง ไตรมาส 1 ปี 2557 มีอัตราร้อยละ 2.51 ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว แผนภูมิ 6 อัตราการจ้างแรงงานต่างด้าวตามมติ ครม.จังหวัดจันทบุรี (รวม 3 สัญชาติ)

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรีและสํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : อัตราการจ้างแรงงานต่างด้าวในจังหวัด = จํานวนแรงงานต่างด้าวตามมติ ครม. จังหวัด * 100 กําลังแรงงานในจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

21

6. อัตราการไม่ปฏิบตั ติ ามข้อกฎหมายของสถานประกอบการ อัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายของสถานประกอบการเป็นตัวบ่งบอกตัวหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงภาวการณ์ด้านแรงงาน หากนายจ้างไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายสูงย่อมส่งผลกระทบต่อความ เป็นอยู่ของลูกจ้าง ผู้ใช้แรงงาน และส่งผลถึงคุณภาพชีวิตของผู้ใช้แรงงานตามมา สําหรับอัตราการไม่ปฏิบัติ ตามข้อกฎหมายของสถานประกอบการ อัตราการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมาย ความปลอดภัยในการทํางาน ซึ่งพบว่า อัตราการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถาน ประกอบการที่ผ่านการตรวจทั้งหมดของจังหวัดพบว่าไตรมาส 1 ปี 2557 มีอัตรา 4.12 เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่แล้ว ที่มีอัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายของสถานประกอบการ ร้อยละ 2.86 อัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายความปลอดภัยของสถานประกอบการจังหวัด พบว่าในไตรมาส 1 ปี 2557 มีอัตราร้อยละ 5.22 ลดลงจากไตรมาสที่แล้ว ที่มีอัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อ กฎหมายความปลอดภัยของสถานประกอบการจังหวัด ร้อยละ 13.33 แผนภูมิ 7 อัตราการไม่ปฏิบตั ติ ามข้อกฎหมายของสถานประกอบการจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : 1.อัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถานประกอบการจังหวัด = จํานวนสถานประกอบการที่ผิดกฎหมายคุ้มครองแรงงานจังหวัด * 100 จํานวนสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจกฎหมายคุ้มครองแรงงานจังหวัด 2.อัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายความปลอดภัยของสถานประกอบการจังหวัด = จํานวนสถานประกอบการที่ทําผิดกฎหมายความปลอดภัยในจังหวัด * 100 จํานวนสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจกฎหมายความปลอดภัยจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

22

7. อัตราสถานประกอบการทีเ่ ข้าสู่ระบบประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี ในส่วนอัตราสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม โดยการศึกษาจาก จํานวนสถานประกอบการในระบบประกันสังคมของจังหวัดจันทบุรี เปรียบเทียบกับจํานวนสถาน ประกอบการทั้งหมดของจังหวัดจันทบุรี พบว่า สัดส่วนของสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม มีอัตราร้อยละ 70.33 สัดส่วนเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ผ่านมา ที่มีอัตราสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบ ประกันสังคม ร้อยละ 66.65 แผนภูมิ 8 อัตราสถานประกอบการทีเ่ ข้าสู่ระบบประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรีและสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : อัตราสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคมจังหวัด = จํานวนสถานประกอบการที่อยู่ในระบบประกันสังคมในจังหวัด * 100 จํานวนสถานประกอบการทั้งหมดในจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

23

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 เดือนมกราคม – มีนาคม 2557 ขอนําเสนอข้อมูลในประเด็นต่างๆ ตามลําดับ ดังนี้ 1. กําลังแรงงาน การมีงานทํา การว่างงาน อัตราค่าจ้างขั้นต่ํา อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน 2. การส่งเสริมการมีงานทํา 3. การพัฒนาศักยภาพแรงงาน 4. การคุ้มครองแรงงานและการดูแลให้ลูกจ้างได้รับสวัสดิการ 5. การดูแลให้ลูกจ้างและผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทนตามสิทธิ 1. กําลังแรงงาน การมีงานทํา การว่างงาน อัตราค่าจ้างขั้นต่ํา อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน 1.1 โครงสร้างของกําลังแรงงาน ผลการสํ า รวจภาวะการทํ า งานของประชากรจั ง หวั ด จั น ทบุ รี ระหว่ า งเดื อ น มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2557 จะสะท้อนถึงค่าประมาณของไตรมาสที่ 1 ปี 2557 ซึ่งพบว่าจังหวัด จันทบุรีมีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 515,884 คน เป็นผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ซึ่งอยู่ในกําลังแรงงาน 420,936 คน หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 62.32 ของประชากรรวม และเป็ นผู้ ที่ ไม่ อ ยู่ ใ นกํ าลั ง แรงงาน 99,435 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 19.27 ของประชากรรวม

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

24

แผนภูมทิ ี่ 1 โครงสร้างประชากรจังหวัดจันทบุรีจาํ แนกตามสถานภาพแรงงาน

ประชากรรวม 515,884

ผู้อยู่ในวัยทํางาน (อายุ 15 ปี ขึน้ ไป) 420,936

ผู้ไม่อยู่ในวัยทํางาน (อายุตา่ํ กว่า 15 ปี) 65,108

ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 321,501

ผู้ไม่อยู่ในกําลังแรงงาน 94,948

ผู้มีงานทํา 321,285

ทํางานบ้าน 23,620

ผู้รอฤดูกาล 0

เรียนหนังสือ 30,789

ผู้ว่างงาน 216

อื่นๆ 45,026

ที่มา : สรุปผลการสํารวจโครงการสํารวจภาวะการทํางานของประชาชนจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

25

1.2 ภาวะการมีงานทําของประชากร สําหรับกลุม่ ผูท้ ี่อยู่ในวัยทํางาน (อายุ 15 ปีขึ้นไป) ทั้งหมด 420,936 คน โดยเป็นผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 321,501 คน จําแนกเป็นผู้มีงานทําจํานวน 321,285 คน คิดเป็นร้อยละ 99.93 ของผู้อยู่ในกําลังแรงงาน เป็นผู้ว่างงานซึ่งหมายถึงผู้ไม่มีงานทํา และพร้อมทีจ่ ะทํางานมีจํานวน 216 คน หรือคิดเป็นอัตราการว่างงาน ร้อยละ 0.07 ของผู้อยู่ในกําลังแรงงาน และผูร้ อฤดูกาลจํานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 เมื่อเปรียบเทียบผู้มีงานทําจําแนกตามเพศในไตรมาสนี้จะพบว่า เพศชายมี อัตราส่วนของการมีงานทําสูงกว่าเพศหญิง โดยดูจากผู้มีงานทําจําแนกตามเพศ กล่าวคือ เพศหญิงมีงานทํา จํานวน 149,905 คน คิดเป็นอัตราส่วนของการมีงานทํา ร้อยละ 46.66 ของผู้มีงานทําทั้งหมด ขณะที่ เพศชายมีงานทําจํานวน 171,380 คน คิดเป็นร้อยละ 53.34 ของผู้มีงานทําทั้งหมด และเมื่อพิจารณา ในภาพรวมจะพบว่าอัตรา การมีงานทําซึ่งคํานวณจากสัดส่วนผู้มีงานทําต่อผู้อยู่ในกําลังแรงงาน มีอตั รา ร้อยละ 99.93 ซึ่งหมายความว่าผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 100 คน จะมีงานทําประมาณ 99 คน ส่ ว นอั ตราการว่ างงานซึ่ ง คํา นวณจากผู้วา่ งงานต่อผู้อ ยู่ ใ นกําลังแรงงานมีอัต รา 0.07 โดยเพศชายจะมีอัตราการว่างงานสูงกว่าเพศหญิง สําหรับตัวเลขในกลุ่มของผู้ที่ไม่อยู่ในกําลังแรงงาน ซึ่งมี จํานวน 99,435 คน พบว่าเป็นผู้ที่ทํางานบ้าน 23,620 คน คิดเป็นร้อยละ 23.75 ของผู้ไม่อยู่ในกําลัง แรงงาน เรียนหนังสือ 30,789 คน คิดเป็นร้อยละ 30.96 และอื่นๆ 45,026 คน คิดเป็นร้อยละ 45.28 ของผู้ไม่อยู่ในกําลังแรงงาน รายละเอียดตามตาราง 1 ตารางที่ 1 จํา นวนประชากรจั ง หวั ด จั น ทบุ รี จํา แนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน สถานภาพแรงงาน ประชากรรวม ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 1. ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 1.1.1 ผู้มีงานทํา 1.1.2 ผู้ว่างงาน 1.1.3 ผู้ทรี่ อฤดูกาล 2. ผู้ไม่อยู่ในกําลังแรงงาน 2.1 ทํางานบ้าน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่นๆ ผู้มีอายุต่ํากว่า 15 ปี อัตราการจ้างงานต่อกําลังแรงงาน อัตราการว่างงาน

ชาย 253,337 204,542 171,596 171,380 216 0 32,946 614 13,983 18,350 48,795 99.87 0.13

หญิง 262,547 216,394 149,905 149,905 0 0 66,489 23,006 16,807 26,676 46,153 100.00 0.00

รวม 515,884 420,936 321,501 321,285 216 0 99,435 23,620 30,789 45,026 94,948 99.93 0.07

ที่มา : สรุ ปผลการสํารวจโครงการสํารวจภาวะการทํางานของประชาชนจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : 1. อัตราการจ้างงานต่อกําลังแรงงานจังหวัด = ผู้มีงานทําในจังหวัด x 100 ผู้อยูใ่ นกําลังแรงงานในจังหวัด 2. อัตราการว่างงานจังหวัด = ผูว้ ่างงานในจังหวัด x 100 ผู้อยูใ่ นกําลังแรงงานในจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

26

1.2.1 ประเภทอุตสาหกรรม สํ า หรั บ ผู้ มี ง านทํ า 321,285 คน พบว่ า ทํ า งานในภาคเกษตรกรรม 148,815 คน คิดเป็นร้อยละ 46.32 ของผู้มีงานทําทั้งหมด ส่วนผู้ที่ทํางานนอกภาคเกษตรกรรมมีจํานวน 172,470 คน คิดเป็นร้อยละ 53.68 ของผู้มีงานทําทั้งหมด โดยกลุ่มผู้ที่ทํางานนอกภาคเกษตรกรรมจะทํางานในสาขา การขายส่ง การขายปลีกมากที่สุด จํานวน 56,908 คน คิดเป็นร้อยละ 33.00 ของผู้ทํางานนอกภาค เกษตรกรรม รองลงมาคือสาขาการผลิต จํานวน 35,563 คน คิดเป็นร้อยละ 20.62 ของผู้ทํางาน นอกภาคเกษตรกรรม ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร จํานวน 24,479 คน คิดเป็นร้อยละ 14.19 ของ ผู้ทํางานนอกภาคเกษตรกรรม สาขาการบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ จํานวน 11,544 คน คิดเป็นร้อยละ 6.69 ของผู้ทํางานนอกภาคเกษตรกรรม และสาขาการก่อสร้าง จํานวน 9,732 คน คิดเป็นร้อยละ 5.64 ของผู้ทํางานนอกภาคเกษตรกรรม แผนภูมทิ ี่ 1 ผู้มีงานทําจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตรกรรม (5 อันดับ แรก) ไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : สรุปผลการสํารวจโครงการสํารวจภาวการณ์ทํางานของประชาชนจังหวัดจันทบุรี 1.2.2 อาชีพ เมื่อพิจารณาผู้มีงานทําจําแนกตามอาชีพในไตรมาส 1 ปี 2557 จากผลการสํารวจปรากฏ ว่า 137,254 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 42.72 ของผูม้ ีงานทํา เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง รองลงมาคือพนักงานบริการ ฯ 71,531 คน คิดเป็นร้อยละ 22.26 ผู้ปฏิบัติง านด้าน ความสามารถทางฝีมื อ ฯ 38,123 คน คิ ด เป็นร้อ ยละ 11.87 อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ 33,219 คน คิดเป็นร้อยละ 10.34 และผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 11,689 คน คิดเป็นร้อยละ 3.64

27 แผนภูมทิ ี่ 2 ผู้มีงานทําจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557 (5 อันดับแรก) สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สรุปผลการสํารวจโครงการสํารวจภาวการณ์ทํางานของประชาชนจังหวัดจันทบุรี 1.2.3 สถานภาพการทํางาน ในจํานวนผู้มีงานทําทั้งสิ้น 321,285 คน เมื่อพิจารณาถึงสภาพการทํางาน ผลการสํารวจ พบว่าส่วนใหญ่ทํางานส่วนตัว จํานวน 115,058 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 35.81 ของผู้มีงานทําทั้งหมด เป็นลูกจ้างเอกชน จํานวน 96,345 คน คิดเป็นร้อยละ 29.99 ช่วยธุรกิจครัวเรือน จํานวน 75,397 คน คิดเป็นร้อยละ 23.47 ลูกจ้างรัฐบาล จํานวน 26,062 คน คิดเป็นร้อยละ 8.11 และนายจ้าง จํานวน 8,423 คน คิดเป็นร้อยละ 2.62

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

28

แผนภูมทิ ี่ 3 เปรียบเทียบผูม้ ีงานทําจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามสถานภาพการทํางาน ไตรมาส 4 ปี 2556 กับไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : สรุปผลการสํารวจโครงการสํารวจภาวการณ์ทํางานของประชาชนจังหวัดจันทบุรี 1.2.4 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานในระบบจําแนกตามระดับการศึกษา สําหรับด้านการศึกษา พบว่าแรงงานในระบบส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา คือมีจํานวน 88,491 คน คิดเป็นร้อยละ 27.54 ของผู้มีงานทํา รองลงมาคือระดับต่ํากว่าประถมศึกษา จํานวน 85,112 คน คิดเป็นร้อยละ 26.49 ของผู้มีงานทํา และ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 47,711 คน คิดเป็นร้อยละ 14.85 ของผู้มีงานทํา แผนภูมทิ ี่ 4 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานในระบบจําแนกตามระดับการศึกษา

ที่มา : สรุปผลการสํารวจโครงการสํารวจภาวการณ์ทํางานของประชาชนจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

29

1.2.5 ชั่วโมงการทํางานต่อสัปดาห์ ในจํานวนผู้มีงานทํา 321,285 คน นั้น ผู้มีงานทําในสัปดาห์การสํารวจตั้งแต่ 1 ชั่วโมง ขึ้นไป มีจํานวน 321,285 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้มีงานทํา และผู้ไม่ได้ทํางานในสัปดาห์การ สํารวจ แต่มีงานประจํา (ชั่วโมงทํางาน เป็น “0”) จํานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 ผูท้ ี่มีชั่วโมงการ ทํางานสูงสุดนั้น พบว่าเป็นผู้ที่ทํางาน ตั้งแต่ 40-49 ชั่วโมง จํานวน 137,708 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 42.86 รองลงมาคือผู้ที่ทํางานตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ จํานวน 88,734 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 27.62 ผู้ทํางานตั้งแต่ 35-39 ชั่วโมง จํานวน 42,810 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 แผนภูมทิ ี่ 5 เปรียบเทียบผูม้ ีงานทําจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามชั่วโมงการทํางานต่อสัปดาห์ ไตรมาส 4 ปี 2556 กับไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : สรุปผลการสํารวจโครงการสํารวจภาวะการทํางานของประชาชนจังหวัดจันทบุรี 1.3 ภาวะการว่างงานของประชากร ประชากรของจังหวัดจันทบุรีที่ว่างงานทั้งสิ้น 216 คน เป็นชาย 216 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้ว่างงาน และหญิง 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 ของผู้ว่างงาน สํา หรั บ อั ต ราการว่ า งงานของประชากร ซึ่ง หมายถึ ง สั ด ส่ ว นของผู้ ว่ า งงานต่ อ จํ า นวน ประชากรที่อยู่ในกําลังแรงงานรวม พบว่า จังหวัดจันทบุรี มีอัตราการว่างงานร้อยละ 0.07 ตารางที่ 2 จํานวนและอัตราการว่างงาน จําแนกตามเพศ เพศ

ประชากรรวม

ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน

ชาย

253,337

หญิง

262,547

ผู้ว่างงาน จํานวน

อัตรา

171,596

216

0.13

149,905

0

0

216

0.07

รวม 515,884 321,501 หมายเหตุ : อัตราการว่างงาน = ผูว้ า่ งงาน X 100 ผูอ้ ยูใ่ นกําลังแรงงาน

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

30

1.4 แรงงานนอกระบบ สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี ได้มีการสํารวจเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ ซึ่ง จากการสํา รวจ พบว่า มีแรงงานนอกระบบทั้งสิ้นจํานวน 243,919 คน โดยผู้ชายมีสัดส่วนมากกว่าผู้หญิง คิดเป็นร้อยละ 54.39 และ 45.61 ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด ตารางที่ 3 ผูม้ ีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจําแนกตามเพศ ผู้อยู่ในแรงงานนอกระบบ จํานวน ร้อยละ ชาย 132,674 54.39 หญิง 111,244 45.61 รวม 243,919 100.0 ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี เมื่อพิจารณาจําแนกแรงงานนอกระบบ ตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่า อุตสาหกรรมที่มี จํานวนแรงงานนอกระบบสูงสุด 5 อันดับแรก คือ เกษตรกรรม จํานวน 143,062 คน คิดเป็นร้อยละ 44.53 ของผู้ที่มีงานทํา การขายส่ง ขายปลีก จํานวน 45,919 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 ของผู้มีงานทํา ที่พักแรม และบริการด้านอาหาร จํานวน 15,814 คน คิดเป็นร้อยละ 4.92 ของผู้มงี านทํา การผลิต 13,267 คน คิดเป็นร้อยละ 4.13 ของผู้มีงานทํา และการก่อสร้าง จํานวน 8,442 คน คิดเป็นร้อยละ 2.62 ของผู้มงี านทํา แผนภูมทิ ี่ 6 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบจําแนก ตามอาชีพ พบว่า มีงานทําในอาชีพต่างๆ สูงสุด 5 อันดับ แรก คือ ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือด้านเกษตรและประมง จํานวน 132,414 คน คิดเป็นร้อยละ 41.21 ของผู้ มีงานทํา พนักงานบริการ 49,796 คน คิดเป็นร้อยละ 15.50 ของผู้มีงานทํา อาชีพพื้นฐานต่างๆ 25,975 คน คิดเป็นร้อยละ 8.08 ของผู้มีงานทํา ด้านความสามารถทางฝีมือฯ 21,378 คน คิดเป็น ร้อยละ 6.65 ของผู้มีงานทํา ผู้บัญญัติกฎหมายและผู้จัดการ 4,806 คน คิดเป็นร้อยละ 1.50

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

31

แผนภูมทิ ี่ 7 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจําแนกตามอาชีพ

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบ จําแนกตามอายุ พบว่ าส่ วนใหญ่มีอายุ อยู่ในช่วง 60 ปีขึ้ นไป มีจํานวน 33,358 คน คิดเป็นร้อยละ 10.38 ของผู้มีงานทํา รองลงมาคือผู้มีอายุ 45 - 49 ปี มีจํานวน 31,503 คน คิดเป็นร้อยละ 9.80 ของผู้มีงานทํา และอายุ 40-44 ปี จํานวน 31,378 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.77 ของผู้มีงานทํา ส่วนช่วงอายุ 15-19 ปี มีน้อยที่สุด 6,989 คน คิดเป็นร้อยละ 2.17 แผนภูมทิ ี่ 8 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจําแนกตามอายุ

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี

32 สํ า หรั บ ด้ า นการศึ ก ษา พบว่ า แรงงานนอกระบบส่ ว นใหญ่ มี ก ารศึ ก ษาต่ํ า กว่ า ประถมศึ ก ษา คือมีจํานวน 78,117 คน คิดเป็นร้อยละ 24.31 ของผู้มีงานทํา รองลงมาคือระดับประถมศึกษา จํานวน 67,111 คน คิดเป็นร้อยละ 20.89 ของผู้มีงานทํา และ ระดับอุดมศึกษา 46,619 คน คิดเป็นร้อยละ 14.51 ของผู้มีงานทํา แผนภูมทิ ี่ 9 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจําแนกตามระดับการศึกษา สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

33

1.5 อัตราค่าจ้างขั้นต่ํา จังหวัดจันทบุรีมีการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ําจังหวัดจันทบุรีให้ลูกจ้างมีค่าครองชีพที่สามารถ ดํารงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ เท่าที่นายจ้างจะมีความสามารถในการจ่ายได้ในภาวะเศรษฐกิจ สังคม ของ จังหวัด ตามลําดับ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ดังนี้ ตารางที่ 4 อัตราค่าจ้างขั้นต่ําในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี พ.ศ. 2551 – 2555 ลําดับ

พ.ศ.

ค่าจ้าง (บาท)

1

2551

158

2

2552

163

3

2553

167

4

2554

179

5

2555

250

6

2556

300

1.5 อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ คณะกรรมการค่าจ้างได้ศึกษา และพิจารณาถึงอัตราค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับในแต่ละสาขา อาชีพ ประกอบด้วยทักษะฝีมือ ความรู้ ความสามารถ แล้วจึงออกประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตรา ค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือฉบับที่ 3 ลงวันที่ 1 มีนาคม 2555 เพื่อกําหนดอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ กลุ่มสาขาอาชีพช่างเครื่องกล กลุ่มสาขาอาชีพภาคบริการ กลุ่มสาขาอาชีพช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และ คอมพิ ว เตอร์ กลุ่ ม สาขาอาชี พ ช่ า งอุ ต สาหการ กลุ่ ม สาขาอาชี พ ก่ อ สร้ า ง และกลุ่ ม สาขาอาชี พ ช่า งอุ ต สาหกรรมศิ ล ป์ รวม 22 สาขาอาชี พ มีผ ลบั ง คับ ใช้ ตั้ง แต่ วัน ที่ 1 เมษายน 2555 เป็ น ต้ น ไป ตามรายละเอียดดังนี้

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

34

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

35

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

36

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

37

ตารางสรุปอัตราค่าจ้างขั้นต่ําตามมติคณะกรรมการค่าจ้าง เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2554 โดย ปรับครัง้ ที่ 1 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2555 ทุกจังหวัดร้อยละ 39.5 ปรับครั้งที่ 2 ในวันที่ 1 มกราคม 2556 อีก 70 จังหวัดที่เหลือให้เป็นวันละ 300 บาท ลำดับ จำนวน ที่ (จังหวัด) 1 2

1 6

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

1 2 1 1 1 1 1 2 1 1 2 2 2 1 2 5 4 3 2 4 2 4 7

26 27 28

5 1 7

29 30 31 32

2 1 1 1

เขตท้องที่บังคับใช้ ภูเกต กรุงเทพฯ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา ระยอง พังงา ระนอง กระบี่ นครราชสีมา ปราจีนบุรี ลพบุรี กาญจนบุรี เชียงใหม่ ราชบุรี จันทบุรี เพชรบุรี สงขลา สิงห์บุรี ตรัง นครศรีธรรมราช อ่างทอง ชุมพร พัทลุง เลย สตูล สระแก้ว ประจวบคีรีขันธ์ ยะลา สมุทรสงคราม สุราษฎรธานี นราธิวาส อุดรธานี อุบลราชธานี นครนายก ปัตตานี ตราด ลำพูน หนองคาย บึงกาฬ กำแพงเพชร อุทัยธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยนาท สุพรรณบุรี เชียงราย นครสวรรค์ บุรีรัมย์ เพชรบูรณ์ ยโสธร ร้อยเอ็ด สกลนคร ชัยภูมิ มุกดาหาร ลำปาง สุโขทัย หนองบัวลำภู นครพนม พิจิตร พิษณุโลก แพร่ มหาสารคาม แม่ฮ่องสอน อำนาจเจริญ อุตรดิตถ์ ตาก สุรินทร์ น่าน ศรีสะเกษ พะเยา เฉลี่ยรวม

ค่าจ้างขั้นต่ํา (เดิม) 221 215

ค่าจ้างขั้นต่ํา (ใหม่) 1 เม.ย. 55 1 ม.ค. 56 - 58 ร้อยละ เพิ่มวันละ เป็นวันละ ร้อยละ เพิ่มวันละ เป็นวันละ 35.7 79 300 0.0 0 300 39.5 85 300 0.0 0 300

196 193 190 189 186 185 184 183 182 181 180 179 176 175 174 173 172 171 170 169 168 167 166

39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5 39.5

77 76 75 75 73 73 73 72 72 71 71 71 70 69 69 68 68 68 67 67 66 66 66

273 269 265 264 259 258 257 255 254 252 251 250 246 244 243 241 240 239 237 236 234 233 232

9.7 11.4 13.2 13.8 15.6 16.2 16.9 17.5 18.2 18.8 19.5 20.1 22.2 22.9 23.6 24.3 25.0 25.8 26.5 27.3 28.0 28.8 29.6

27 31 35 36 41 42 43 45 46 48 49 50 54 56 57 59 60 61 63 64 66 67 68

300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300

165 164 163

39.5 39.5 39.5

65 65 64

230 229 227

30.3 31.1 31.9

70 71 73

300 300 300

162 161 160 159 175.73

39.5 39.5 39.5 39.5

64 64 63 63

226 225 223 222

32.7 33.6 34.4 35.3

74 75 77 78

300 300 300 300

39.5

69

245

25.5

ที่มา : สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน สำนักเศรษฐกิจการแรงงาน

สำนักงานคณะกรรมการค่าจ้าง

60

300

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

38

2. การส่งเสริมการมีงานทํา 2.1 การบริการจัดหางานภาครัฐ ภารกิจการส่งเสริมให้ประชากร มีงานทํา ดําเนินการโดย สํานักงานจัดหางาน จั ง หวั ด จั น ทบุ รี การส่ ง เสริ ม การมี ง านทํ า ในรู ป แบบการจั ด หางาน มี ทั้ ง การหางานในประเทศและ ต่างประเทศ โดยการจัดหางานในจังหวัดจันทบุรี ในช่วงไตรมาสที่ 1 (มกราคม – มีนาคม 2557) มีตําแหน่งงานว่างที่แจ้งผ่านสํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี 872 อัตรา ลดลงจากไตรมาสที่แล้ว คิดเป็น ร้อยละ 74.03 มีผู้ลงทะเบียนสมัครงาน ในไตรมาสนี้ทั้งหมด 918 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้วคิดเป็น ร้อ ยละ 111.00 ผู้ ได้ รั บ การบรรจุ งานมี จํานวน 586 คน เพิ่ ม ขึ้ น จากไตรมาสที่แ ล้วคิ ดเป็ นร้อ ยละ 103.90 สําหรับตําแหน่งงานว่างไตรมาส 1 นี้ พบว่าเป็นชาย 62 อัตรา คิดเป็นสัดส่วน (ร้อยละ 7.11) ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด ขณะที่เพศหญิงมี 24 อัตรา (ร้อยละ 2.75) และไม่ระบุเพศ 786 อัตรา (ร้อยละ 90.14) การที่ตําแหน่งงานว่างส่วนใหญ่ไม่ได้ระบุเพศ แสดงให้เห็นว่าสถานประกอบการหรือ นายจ้างพิจารณาเห็นว่างานโดยทั่วไปไม่ว่าชายหรือหญิงก็สามารถทําได้เช่นกัน หรือไม่มีความแตกต่าง ใน เรื่องเพศ ในอีกประการหนึ่งนายจ้างพิจารณาเห็นว่าการไม่ระบุจะมีผลดีในด้านโอกาสการคัดเลือกมากกว่า ระบุเพศ แผนภูมทิ ี่ 10 ตําแหน่งงานว่างในจังหวัดจันทบุรีจาํ แนกตามเพศ ไตรมาส 4 ปี 2556 และ ไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี

39 เมื่ อ พิจ ารณาถึ ง จํา นวนผู้ม าลงทะเบีย นสมัค รงานในไตรมาสนี้ พบว่ า มี จํ า นวนทั้ งสิ้ น 918 คน เป็นชาย 347 คน (ร้อยละ 37.80) ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด และเป็นหญิง 571 คน (ร้อยละ 62.20) ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด ขณะที่มีการบรรจุงานทั้งสิ้น 586 คน เป็นเพศชาย จํานวน 221 คน (ร้อยละ 37.71) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด และเป็นเพศหญิง จํานวน 365 คน (ร้อยละ 62.29) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด โดยเพศหญิงจะได้รับการบรรจุงานมากกว่าเพศชาย แผนภู มิ ที่ 11 จํ า นวนตํ า แหน่ ง งานว่ า ง/ผู้ ส มั ค รงาน/และการบรรจุ ง านใน จั ง หวั ด จั น ทบุ รี จําแนกตามเพศ ไตรมาส 4 ปี 2556 และ ไตรมาสที่ 1 ปี 2557 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี สําหรับตําแหน่งงานว่างตามระดับการศึกษา พบว่า ระดับมัธยมศึกษามีตําแหน่งงานว่าง สูงสุด 373 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 42.77 ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด รองลงมาคือระดับประถมศึกษาและ ต่ํากว่า จํานวน 180 อัตรา (ร้อยละ 20.64) ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด ระดับปวช. จํานวน 143 อัตรา (ร้อยละ16.40) ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด ระดับปวส. จํานวน 93 อัตรา (ร้อยละ 10.66) ของตําแหน่ง งานว่างทั้งหมด และระดับปริญญาตรี จํานวน 57 อัตรา (ร้อยละ 6.54) ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด แสดง ให้เห็นว่าตลาดแรงงานในจังหวัดจันทบุรีมีความต้องการแรงงานระดับมัธยมศึกษาในอัตราส่วนที่สูงกว่า ระดับอื่นๆ สําหรับผู้ลงทะเบียนสมัครงาน พบว่าผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีลงทะเบียนสูงสุด จํานวน 343 คน คิดเป็นร้อยละ 37.36 ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษา จํานวน 298 คน (ร้อยละ 32.46) ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด ระดับประถมศึกษาและต่ํากว่า จํานวน 155 คน (ร้อยละ 16.88) ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด ระดับปวส. จํานวน 76 คน (ร้อยละ 8.28) ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด ระดับปวช. จํานวน 44 คน (ร้อยละ 4.79) ของผู้ลงทะเบียน สมัครงานทั้งหมด และระดับปริญญาโท จํานวน 2 คน (ร้อยละ 0.22) ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด ด้านการบรรจุงาน พบว่า การศึกษาที่ได้รับการบรรจุงานสูงสุด คือ ระดับมัธยมศึกษา จํานวน 203 คิดเป็ นร้อยละ 34.64 ของผู้บรรจุงานทั้งหมด รองลงมาเป็นระดับปริญญาตรี จํานวน 196 คน (ร้ อ ยละ 33.45) ของผู้ บ รรจุ ง านทั้ ง หมด ระดั บ ปวส. จํ า นวน 79 คน (ร้ อ ยละ 13.48) ระดับประถมศึกษาและต่ํากว่า จํานวน 74 คน (ร้อยละ 12.63) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด ระดับปวช. จํานวน 31 คน (ร้อยละ 5.29) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด ระดับอนุปริญญา จํานวน 3 คน (ร้อยละ 0.51) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด

40 ในด้ า นอาชี พ พบว่ า ไตรมาสนี้ อ าชี พ ที่ มี ตํ า แหน่ ง งานว่ า งสู ง สุ ด 3 อั น ดั บ แรก คื อ (1) อาชีพงานพื้นฐาน ได้แก่ เสมียน เจ้าหน้าที่ จํานวน 228 อัตรา (ร้อยละ 26.15) ของตําแหน่งงานว่าง ทั้งหมด (2) พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จํานวน 188 อัตรา (ร้อยละ 21.56) ของ ตําแหน่งงานว่างทั้งหมด (3) อาชีพงานพื้นฐาน จํานวน 172 อัตรา (ร้อยละ 19.72) ของตําแหน่งงาน ว่างทั้งหมด สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

แผนภูมิที่ 12 เปรียบเทียบตําแหน่งงานว่าง จําแนกตามอาชีพ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี สําหรับอาชีพที่มีผู้ลงทะเบียนสมัครงาน สูงสุด 3 อันดับแรกคือ (1) เสมียน เจ้าหน้าที่ จํานวน 314 คน (ร้อยละ 34.20) ของผูล้ งทะเบียนสมัครงานทั้งหมด (2) พนักงานบริการ พนักงาน ขายในร้านค้าและตลาด จํานวน 200 คน (ร้อยละ 21.79 ) ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทัง้ หมด (3) อาชีพพื้นฐาน จํานวน 119 คน (ร้อยละ 12.96) ของผูล้ งทะเบียนสมัครงานทั้งหมด แผนภูมิที่ 13 เปรียบเทียบผู้ลงทะเบียนสมัครงาน จําแนกตามอาชีพ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี

41 การบรรจุงานสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) เสมียน เจ้าหน้าที่ จํานวน 175 คน (ร้อยละ 29.86) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด (2) พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จํานวน 130 คน (ร้อยละ 22.18) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด (3) ช่างเทคนิคและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง จํานวน 75 คน (ร้อยละ 12.80) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

แผนภูมิที่ 14 เปรียบเทียบการบรรจุงาน จําแนกตามอาชีพ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี แผนภูมทิ ี่ 15 ตําแหน่งงานว่าง/ผูส้ มัครงาน/การบรรจุงานในจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี

42 เมื่ อ ศึ ก ษาจํ า นวนตํ า แหน่ ง งานว่ า งตามประเภทอุ ต สาหกรรม พบว่ า อุ ต สาหกรรม ที่มีตําแหน่งงานว่างสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และ จักรยานยนต์ จํานวน 335 อัตรา (ร้อยละ 38.42) ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด (2) การผลิต จํานวน 230 อัตรา (ร้อยละ 26.38) ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด (3) ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร จํานวน 54 อัตรา (ร้อยละ 6.19) ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด แผนภูมทิ ี่ 16 เปรียบเทียบตําแหน่งงานว่าง จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี สําหรับการบรรจุงานตามประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ (1) การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ จํานวน 203 อัตรา (ร้อยละ 34.64) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด (2) การผลิต จํานวน 154 อัตรา (ร้อยละ 26.28) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด (3) ที่พักแรมและบริการด้าน อาหาร จํานวน 40 อัตรา (ร้อยละ 6.83) ของผู้บรรจุงานทั้งหมด แผนภูมทิ ี่ 17 เปรียบเทียบจํานวนการบรรจุงาน จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี

43 เมื่อพิจารณาจํานวนตําแหน่งงานว่าง จําแนกตามอายุ พบว่าส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 18-24 ปี มีจํานวน 545 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 62.5 ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด รองลงมาคือผู้มีอายุ 25-29 ปี มีจํานวน 208 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 23.85 ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด และอายุ 30-39 ปี มีจํานวน 79 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 9.06 ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

แผนภูมิที่ 18 จํานวนตําแหน่งงานว่างจําแนกตามช่วงอายุ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี เมื่อพิจารณาจํานวนผู้ลงทะเบียนสมัครงานจําแนกตามอายุ พบว่าส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 18-24 ปี มีจาํ นวน 397 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 43.25 ของผู้ลงทะเบียนสมัครงานทัง้ หมด รองลงมาคือ ผู้มีอายุ 25-29 ปี มีจํานวน 199 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 21.68 ของผูล้ งทะเบียนสมัครงานทั้งหมด และ อายุ 30-39 ปี มีจํานวน 192 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 20.91 ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด แผนภูมิที่ 19 จํานวนผู้ลงทะเบียนสมัครงานจําแนกตามช่วงอายุ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี

44 เมื่อพิจารณาจํานวนผู้ได้รับการบรรจุงานจําแนกตามอายุ พบว่าส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 25-29 ปี มีจํานวน 194 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 33.11 ของผู้ได้รับการบรรจุงานทั้งหมด รองลงมาคือ ผู้มีอายุ 30-39 ปี มีจํานวน 172 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 29.35 ของผู้ได้รับการบรรจุงานทั้งหมด และ อายุ 18-24 ปี มีจํานวน 160 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 27.30 ของผู้ได้รับการบรรจุงานทั้งหมด สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

แผนภูมิที่ 20 จํานวนผู้ได้รับการบรรจุงานจําแนกตามช่วงอายุ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี 2.2 แรงงานต่างด้าว แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทํางานอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ไตรมาสนี้ มีจํานวนทั้งสิ้น 1,082 อัตรา โดยส่วนใหญ่เป็นแรงงาน ประเภทชั่วคราว (มาตรา 9) จํานวน 745 คน (ร้อยละ 68.85) ของจํ า นวนแรงงานต่ า งด้ า วที่ ถู ก กฎหมายทั้ ง หมด รองลงมาคื อ ประเภทตลอดชี พ จํ า นวน 180 คน (ร้อยละ 16.64) ของจํานวนแรงงานต่างด้าวที่ถูกกฎหมายทั้งหมด น้อยที่สุดคือประเภทมาตรา 13 ยกเว้น มติ ครม. (4) และ (5) จํานวน 157 คน (ร้อยละ 14.51) ของจํานวนแรงงานต่างด้าวที่ถูกกฎหมายทั้งหมด แผนภูมิที่ 21 เปรียบเทียบแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามประเภทการได้รับ อนุญาต

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี

45 สํ า หรับ แรงงานต่ า งด้ าวตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี (ครม.) เป็ น แรงงานที่ เ ข้ า มาหรื อ อยู่ ใ น ราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองแต่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราวเพื่อรอการส่งกลับออกไปนอกราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เพื่อทดแทน การขาดแคลนแรงงานในประเทศไทย แรงงานในกลุ่มนี้ มี 3 สัญชาติ ได้แก่ พม่า ลาว กัมพูชา มีจํานวน แรงงานต่างด้าว ที่อยู่ในระบบทะเบียนของสํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี จํานวนทั้งสิ้น 8,072 คน หากพิจารณาตามสัญชาติ พบว่าสัญชาติกัมพูชามีจํานวนมากที่สุด 4,843 คน (ร้อยละ 60.00) ของจํานวน แรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทํางานตามมติ ครม. รองลงมาคือ สัญชาติลาว มีจํานวน 2,012 คน (ร้อยละ 24.93) ของจํานวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทํางานตามมติ ครม. และสัญชาติพม่า มีจํานวน 1,217 คน (ร้อยละ 15.08) ของจํานวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทํางานตามมติ ครม. สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

แผนภูมิที่ 22 เปรียบเทียบแรงงานต่างด้าวตามมติ ครม. จังหวัดจันทบุรี จําแนกตามสัญชาติ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ : * คนต่างด้าวเข้ามาทํางานในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองเพื่อมาทํางาน อันจําเป็นและเร่งด่วน ที่มีระยะเวลาทํางานไม่เกิน 15 วัน และได้รับใบอนุญาตตามเงื่อนไขที่นายทะเบียนกําหนดแล้ว ** คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาทํางานในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนหรือกฎหมายอื่น ที่ผู้อนุญาตตามกฎหมายดังกล่าวแจ้งการอนุญาตพร้อมรายละเอียดที่อธิบดีกรมการจัดหางานกําหนดต่อนายทะเบียนแล้ว

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

46

2.3 แรงงานไทยในต่างประเทศ 2.3.1 คนหางานทีต่ ้องการเดินทางไปทํางานต่างประเทศ คนหางานที่แจ้งการเดินทางไปทํางานต่างประเทศตามกฎหมายกับสํานักงานจัดหางาน จังหวัดจันทบุรี ในไตรมาสนี้มีจํานวน 17 คน เป็นชาย 14 คน เป็นหญิง 3 คน (รายละเอียดตามตาราง) ตารางที่ 5 จํานวนคนหางานแจ้งการเดินทางไปทํางานต่างประเทศตามกฎหมาย จําแนกตามเพศ ประเทศ และตําแหน่งงาน ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

ประเทศ ญี่ปุ่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กาตาร์ อิสราเอล อินเดีย ไต้หวัน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง บาห์เรน ลาว สิงคโปร์ สาธารณรัฐมาลี รวม

ชาย 1 1 2 1 1 2 2 1 0 0 1 1 1 14

เพศ หญิง 0 1 0 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 3

รวม 1 2 2 1 1 2 2 1 1 1 1 1 1 17

ตําแหน่ง วิศวกร ช่างทอง,ช่างไฟฟ้า ผู้ควบคุมงาน,วิศวกร คนงานภาคเกษตร ผู้จัดการฝ่ายการตลาด พนักงานฝ่ายผลิต ลูกเรือ,ช่างเชื่อม พนักงานคอมพิวเตอร์ ผู้ช่วยงานบ้าน พนักงานขาย วิศวกรโยธา พนักงานควบคุมเครื่องจักร หัวหน้าช่าง

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี หากพิจารณาตามวิธีการเดินทางพบว่า เดินทางโดยวิธี Re-Entry คือกลับไปทํางานอีกครั้งหนึ่ง โดยการต่ออายุสัญญา มีจํานวนมากที่สุด 17 คน (ร้อยละ 100) ตารางที่ 6 จํานวนแรงงานไทยทีแ่ จ้งการเดินทางไปทํางานต่างประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง วิธีการเดินทาง 1. เดินทางด้วยตนเอง 2. กรมการจัดหางานจัดส่ง 3. บริษัทจัดหางานจัดส่ง 4. นายจ้างพาไปฝึกงาน 5. นายจ้างพาไปทํางาน 6. Re-Entry รวม ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี

จํานวน (คน)

ร้อยละ

17 17

100 100

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

47

2.4 ผู้ขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกรณีว่างงาน ในไตรมาสนี้ ผู้ ป ระกั นตนไปขึ้ นทะเบี ย นกรณี ว่างงาน กั บ สํานั กงานจั ดหางาน จังหวัดจันทบุรี เพื่อขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน จํานวน 732 คน โดยเป็นผู้ที่ถูกเลิกจ้าง จํานวน 69 ราย เป็นผู้ที่ลาออก จํานวน 663 ราย 3. การพัฒนาศักยภาพแรงงาน ในไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม – มีนาคม) ศู นย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี ได้ดําเนินการฝึกอบรมพัฒนาฝีมือแรงงานด้านต่างๆ ได้แก่ การฝึกเตรียมเข้าทํางาน การฝึกยกระดับฝีมือ แรงงาน และการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานเพื่อเพิ่มศักยภาพฝีมือแรงงานให้มีมาตรฐานฝีมือทัดเทียมกับ ประเทศต่างๆ ในขณะเดียวกันเป็นการพัฒนาทักษะ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานด้วย นอกจากนั้นยังมีการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพด้วย 3.1 การฝึกเตรียมเข้าทํางาน เป็นการฝึกพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานใหม่ซึ่งในไตรมาสนี้ มีผู้เข้ารับการฝึก 16 คน ผ่านการฝึก 0 คน - ช่างเครื่องกล จํานวน 5 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 0 คน - ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ จํานวน 8 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 0 คน - ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 3 คน ผ่านการฝึก จํานวน 0 คน แผนภูมิที่ 23 การฝึกเตรียมเข้าทํางานในจังหวัด จําแนกตามกลุ่มอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

48

3.2 การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน เป็นการพัฒนายกระดับฝีมือ และศักยภาพแรงงาน เพื่อรองรับการแข่งขัน ภาคอุตสาหกรรม จํานวน 508 คน โดยผ่านการยกระดับฝีมือแรงงาน จํานวน 499 คน - ช่างก่อสร้าง จํานวน 80 คน มีผผู้ ่านการฝึก จํานวน 80 คน - ช่างเครื่องกล จํานวน 107 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 101 คน - ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 30 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 30 คน - เกษตรอุตสาหกรรม จํานวน 40 คน มีผผู้ ่านการฝึก จํานวน 40 คน - ธุรกิจและบริการ จํานวน 251 คน มีผผู้ ่านการฝึก จํานวน 248 คน แผนภูมิที่ 24 การฝึกเตรียมยกระดับฝีมือในจังหวัด จําแนกตามกลุ่มอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี 3.3 การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่วนการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน พบว่า ไตรมาสนี้ มีจํานวน 196 คน ผ่านการ ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน จํานวน 135 คน - ช่างอุตสาหกรรม จํานวน 30 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 5 คน - ช่างเครื่องกล จํานวน 80 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 72 คน - ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ จํานวน 43 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 19 คน - ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 3 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 3 คน - ธุรกิจ และบริการ จํานวน 40 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 36 คน

49 แผนภูมิที่ 25 การทดสอบมาตรฐานฝีมือในจังหวัด จําแนกตามกลุ่มอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี 3.4 การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ในไตรมาสนี้ มีจํานวน 20 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 20 คน - ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ จํานวน 20 คน มีผู้ผ่านการฝึก จํานวน 20 คน แผนภูมิที่ 26 การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพในจังหวัด จําแนกตาม กลุ่มอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

50

4. การคุ้มครองแรงงานและการดูแลให้ลูกจ้างได้รับสวัสดิการ 4.1 การตรวจแรงงาน กระทรวงแรงงานนอกจากจะมี ภ ารกิ จ ด้ า นการส่ ง เสริ ม การมี ง านทํา การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานยกระดั บ ฝี มื อ แรงงานให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ของตลาดแรงงาน และทั ด เที ย มมาตรฐานสากลแล้ ว อีกภารกิจหนึ่งที่เกิดขึ้นต่อเนื่องภายหลังจากการส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทําแล้วคือ ภารกิจด้านการ คุ้มครองลูกจ้าง นายจ้าง ให้ได้รับความเป็นธรรมในการจ้างงาน โดยสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดจันทบุรี เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการคุ้มครองแรงงานให้ได้รับความเป็นธรรม จากการ จ้ า งงาน ภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครองแรงงาน เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บจากนายจ้ า ง โดยมี จุดมุ่งหมายสูงสุด คือ ให้ผู้ใช้แรงงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ขณะเดียวกันในอีกด้านหนึ่งก็ต้องผดุงไว้ซึ่งความ ยุติธรรมแก่ฝ่ายนายจ้าง ทั้ ง นี้ มาตรการที่ จ ะช่ ว ยให้ ผู้ ใ ช้ แ รงงานได้ รั บ รายได้ แ ละสวั ส ดิ ก ารที่ เ ป็ น ธรรม เพียงพอต่อการดํารงชีวิต รวมถึงได้รับการคุ้มครองแรงงานให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ คือการตรวจสถาน ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ ใ ช้ แ ร ง ง า น ไ ด้ รั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ดู แ ล ต า ม ก ฎ ห ม า ย ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น จะเป็นมาตรการในการกระตุ้นให้สถานประกอบการเอาใจใส่ดูแลลูกจ้างของตนให้มากขึ้นด้วย ทั้งนี้จังหวัด จั น ทบุ รี มี จํ า นวนสถานประกอบกิ จ การรวม 3,542 แห่ ง ลู ก จ้ า ง 26,964 คน ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น สถานประกอบกิจการขนาด 1-4 คน มีจํานวน 2,391 แห่ง แผนภูมทิ ี่ 27 แสดงขนาดและจํานวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการ

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี (ณ วันที่ 1 เมษายน 2557)

51 ในไตรมาสที่ 1 สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี ได้ดําเนินการ ตรวจสอบสถานประกอบกิจการทั้งสิ้น 194 แห่ง มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจหรือได้รับการคุ้มครองรวม 4,225 คน จําแนกเป็นชาย 2,083 คน คิดเป็นร้อยละ 49.30 ของลูกจ้างที่ตรวจทั้งหมด หญิง 2,133 คน คิดเป็นร้อยละ 50.48 ของลูกจ้างที่ตรวจทั้งหมด ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็น สถานประกอบการขนาด 1-4 คน จํ า นวน 78 แห่ ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 40.20 ของจํ า นวนสถาน ประกอบการที่ผ่านการตรวจทั้งหมด รองลงมาเป็นสถานประกอบการขนาด 5-9 คน จํานวน 43 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22.16 ของจํานวนสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจทั้งหมด และสถานประกอบการ ขนาด 10-19 คน จํ า นวน 33 แห่ ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 17.01 ของจํา นวนสถานประกอบการที่ ผ่ า น การตรวจทั้งหมด สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 7 จํานวนสถานประกอบการและลูกจ้างทีผ่ ่านการตรวจในจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1 ปี 2557 สถานประกอบการ ลูกจ้าง ขนาดสถานประกอบการ (แห่ง) (คน) 1 - 4 คน 78 197 5 - 9 คน 43 292 10 - 19 คน 33 420 20 - 49 คน 23 717 50 - 99 คน 8 651 100-299 คน 8 1,327 300-499 คน 0 0 500-999 คน 1 621 1000 คนขึ้นไป 0 0 รวม 194 4,225 ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี ในส่วนผลการตรวจพบว่าสถานประกอบการส่วนใหญ่ร้อยละ 95.88 (จํานวน 186 แห่ง) ของจํานวนสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจทั้งหมด ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย และ ร้อยละ 4.12 ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย (จํานวน 8 แห่ง) ของจํานวนสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจทั้งหมด และ ได้ออกคําสั่งให้ดําเนินการแล้วทั้ง 8 แห่ง

52 แผนภูมทิ ี่ 28 เปรียบเทียบสถานประกอบการทีป่ ฏิบตั ิ ถูกต้อง / ไม่ถูกต้อง ตามกฎหมายคุ้มครอง แรงงาน สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี 4.2 การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน สําหรับการตรวจความปลอดภัยในการทํางานซึ่งนอกจากเป็นเครื่องมือ ในการคุ้มครอง ดูแลความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานของลูกจ้างแล้ว ในการตรวจความ ปลอดภัยในการทํางานยังมีอีกมาตรการหนึ่งที่ดําเนินการเพื่อกระตุ้นส่งเสริมให้เจ้าของสถานประกอบการเห็น ความสําคัญและตระหนักถึงเรื่องความปลอดภัยย่อมส่งผลถึงคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ใช้แรงงานตามมา เมื่อ คนงานมีค ุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ดี จะทํ างานอย่ า งมีค วามสุ ข และจะส่งผลต่ อ ผลผลิ ตที่ เพิ่ ม สูงขึ้ น ของสถาน ประกอบการอันนําไปสู่ผลกําไรที่ตามมานั่นเอง ในไตรมาส 1 ปี 2557 ช่วงเดือน มกราคม – มีนาคม 2557 สํานักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี ได้ดําเนินการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการทั้งสิ้น 115 แห่ง ลูกจ้างผ่านการตรวจทั้งสิ้น 3,761 คน ประเภทอุ ต สาหกรรมที่ มี การตรวจความปลอดภัยสูงสุดในไตรมาส 1 ปี 2551 คื อ ประเภทการขายส่ง การขายปลีกฯ มีจํานวน 50 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 43.48 ของสถานประกอบการที่ตรวจ ทั้งหมด รองลงมาคือ ประเภทโรงแรม และภัตตาคาร, การศึกษา จํานวน 33 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 28.70 ของสถานประกอบการที่ ต รวจทั้ ง หมด การผลิ ต จํ า นวน 20 แห่ ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 17.39 ของสถาน ประกอบการที่ตรวจทั้งหมด การก่อสร้าง จํานวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 2.61 ของสถานประกอบการที่ตรวจ ทั้งหมด การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม, การเป็นสื่อกลางทางการเงิน, กิจกรรมด้านบริการ ชุมชน สังคมฯ จํ านวน 2 แห่ ง คิดเป็นร้ อยละ 1.74 และเกษตรกรรม การล่าสั ตว์ และป่าไม้, การทํ า เหมื องแร่ และเหมื องหิ น จํ านวน 1 แห่ ง คิ ดเป็ นร้อยละ 0.87 ของสถานประกอบการที่ ต รวจทั้ งหมด ซึ่งผลการตรวจในไตรมาสนี้ พบสถานประกอบการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัย จํานวน 109 แห่ง ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัย จํานวน 6 แห่ง และได้ออกคําสั่งให้ปรับปรุง เรียบร้อยแล้ว

53 ตารางที่ 8 ผลการตรวจความปลอดภัย/อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายจังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1/2557 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

สปก.ที่ผ่าน การตรวจ

ถูกต้อง

ไม่ถูกต้อง

1.เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ 2.การทําเหมืองแร่ และการทําเหมืองหิน

1 1

1 1

0 0

* อัตราการ ปฏิบัติ ไม่ถูกต้อง 0 0

3.การผลิต

20

18

2

10.00

4.การไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา 5.การก่อสร้าง 6.การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน 7.โรงแรม และภัตตาคาร 8.การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม 9.การเป็นสื่อกลางทางการเงิน 10.กิจกรรมด้านบริการชุมชน สังคม และการบริการส่วน บุคคลอื่นๆ รวม

1 3

1 2

0 1

0 3.33

50 33 2 2

47 33 2 2

3 0 0 0

6.00 0 0 0

2 115

2 109

0 6

0 5.22

ประเภทอุตสาหกรรม

ผลการตรวจ

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี หมายเหตุ * สถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม x 100 สถานประกอบการที่ผ่านการตรวจจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

4.3 การแรงงานสัมพันธ์ นอกเหนือจากภารกิจด้านการคุ้มครองแรงงานและดูแลด้านความปลอดภัยทั้งแก่ ลูกจ้างและนายจ้าง แล้ว กระทรวงแรงงานโดยสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี ยังมีภารกิจในการส่งเสริมและพัฒนาแรงงานสัมพันธ์ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ และ สังคม เพราะระบบแรงงานสัมพันธ์ไม่เพียงเป็นการป้องกันความขัดแย้ง แต่ ยั ง จะคอยเสริ ม สร้ า งความ ร่ ว มมื อ ที่ ดี ต่ อ กั น ระหว่าง นายจ้าง ลูกจ้างและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อเสริมสร้างสันติสุข ในวงการแรงงาน ให้นายจ้างและลูกจ้างมีทัศนคติที่ดีต่อกันในการทํางาน ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ในเชิงบวก เมื่อมีความเข้าใจกันเป็นอย่างดีย่อมไม่เกิดปัญหาขัดแย้งขึ้น เมื่อปัญหาขัดแย้งไม่มี พลังในการขับเคลื่อนงาน หรือเพิ่มงานก็จะมี นําไปสู่การเพิ่มผลผลิต หรือผลิตภาพในการปฏิบัติงาน ลูกจ้าง หรือผู้ใช้แรงงานมีความสุข ในการทํางาน คุณภาพชีวิตย่อมดีขึ้นในที่สุด ขณะเดียวกันนายจ้างและลูกจ้าง เนื่องจากมีผลผลิตเพิ่มขึ้น เป็ น ผลกํ า ไรตามมา ทั้ งนี้ ในกลุ่ ม ของนายจ้ า งและลู กจ้ า งจะมี ก ารตั้ ง องค์ กร เพื่ อทําหน้ าที่ เป็ นตั วแทน ของตนเอง โดยเมื่อพิจารณาในส่วนขององค์กรนายจ้าง พบว่าจังหวัดจันทบุรียังไม่มีการจัดตั้งองค์กรนายจ้าง แต่อย่างใด ในส่วนขององค์กรลูกจ้างพบว่าในจังหวัดจันทบุรียังไม่มีการจัดตั้งองค์กรลูกจ้าง แต่จะมีสาขาของ สหภาพแรงงานของรัฐวิสาหกิจ ส่วนองค์กรอื่นๆ ยังไม่มีการจัดตั้ง

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

54

4.4 การเลิกจ้างแรงงาน สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี รายงานสถานการณ์เลิกจ้าง พบว่าในไตรมาส 1 ปี 2557 มีสถานประกอบการที่เลิกกิจการจํานวน 39 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง จํานวน 418 คน ตารางที่ 9 จํานวนสถานประกอบการที่เลิกกิจการ จําแนกตามประเภทกิจกรรม ประเภทกิจการ การขุดดิน กรวด การดูดทราย ผลิตเครื่องประดับเพชรพลอยอื่นๆ การก่อสร้าง การค้าเครื่องไฟฟ้า ยานพาหนะ ฯลฯ การค้าวัสดุก่อสร้าง ร้านสินค้าเบ็ดเตล็ดการค้าอื่นๆ สถาบันการเงิน บริการด้านธุรกิจ งานอาชีพหรือบริการที่มิได้จัด การระเบิด ย่อย โม่หรือบดหิน การผลิตเครื่องดื่ม ถนอมอาหาร การหล่อหลอม การกลึงโลหะ การผลิต ประกอบ ซ่อมรถยนต์ ฯลฯ โรงพยาบาล บริการสุขภาพ ให้เช่าอสังหาฯ จดสรรบ้าน บริการให้เช่า ซ่อมเครื่องจักรฯ ร้านขายอาหาร โรงแรม ห้องเช่า การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแรง ขนส่งสินค้า ผู้โดยสารทางรถยนต์ ติดตั้งระบบไฟฟ้าอุปกรณ์สื่อสาร การเลี้ยงสัตว์ รวม

จํานวน สปก. ลูกจ้างที่ถูก (แห่ง) เลิกจ้าง (คน)

1 2 1 5 2 7 4 4 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 39

3 333 1 5 11 11 8 5 0 4 1 0 4 4 2 5 3 12 4 2 418

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี 5. การดูแลให้ลูกจ้างและผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทนตามสิทธิ ภารกิจด้านการดูแลให้ลูกจ้างและผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทนตามสิทธิเป็นอีก ภารกิจที่กระทรวงแรงงาน โดยสํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี มีหน้าที่ต้องดูแลผู้ใช้แรงงานเพื่อให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีหลักประกันชีวิตที่มั่งคงเมื่อยามแก่ชราอีกด้วย ซึ่งในไตรมาสนี้ พบว่ามีสถาน ประกอบการที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม จํานวน 2,491 แห่ง เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 117.16 ส่วนผู้ประกันตนมีจํานวน 37,561 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว 275 คน คิดเป็นร้อยละ 100.74 ปัจจุบันจังหวัดจัน ทบุรี มีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมซึ่งเป็ นสถานพยาบาลของรัฐบาลจํ านวน 1 แห่ง

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

55

5.1 กองทุนประกันสังคม ในช่ วงไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม – มี น าคม) จํ า นวนการใช้ บริ ก ารของกองทุ น ประกั น สั ง คม พิ จ ารณาตามประเภทของประโยชน์ ท ดแทน ซึ่ ง มี 7 กรณี ได้ แ ก่ เจ็ บ ป่ ว ย คลอดบุ ต ร ทุพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน พบว่าจํานวนผู้ใช้บริการมีทั้งสิ้น 22,243 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.22 ของผู้ประกันตนทั้งหมด ลดลงจากไตรมาสที่แล้ว 590 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.42 สํ า หรั บ ประเภทประโยชน์ ท ดแทนที่ ผู้ ป ระกั น ตน ใช้ บ ริ ก ารสู ง สุ ด ในไตรมาสนี้ ไ ด้ แ ก่ กรณีสงเคราะห์บุตร 17,906 ราย คิดเป็นร้อยละ 80.50 ของผู้ใช้บริการทั้งหมด รองลงมากรณีเจ็บป่วย 1,926 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.66 กรณีว่างงาน 1,441 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.48 กรณีคลอดบุตร 346 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.55 กรณีทุพพลภาพ 287 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.29 กรณีชราภาพ 247 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.11 และกรณีการตาย 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.40 แผนภูมทิ ี่ 29 เปรียบเทียบผูป้ ระกันตนในจังหวัดจันทบุรี ที่ใช้บริการกองทุนประกันสังคม จําแนกตาม ประเภทประโยชน์ทดแทน ไตรมาส 4 ปี 2556 กับไตรมาส 1 ปี2557

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี หากพิ จ ารณาปริ ม าณการจ่ า ยเงิ น ประโยชน์ทดแทน จะพบว่า มีก ารจ่ายเงินทั้ ง สิ้น 31,013,613.03 บาท โดยมีกรณีคลอดบุตรมีการจ่ายเงินทดแทนสูงสุดถึง 7,889,359.00 บาท (ร้อย ละ 25.44) ของปริ ม าณการจ่ า ยเงิ น ประโยชน์ ท ดแทนทั้ง หมด รองลงมาคือ กรณี ส งเคราะห์ บุต ร 7,792,950.00 บาท (ร้อยละ 25.13) ของปริ ม าณการจ่ า ยเงิ น ประโยชน์ทดแทนทั้งหมด และกรณี ชราภาพ 6,750,288.85 บาท (ร้อยละ 21.77) ของปริ ม าณการจ่ า ยเงิ น ประโยชน์ทดแทนทั้งหมด

56 แผนภูมทิ ี่ 30 เปรียบเทียบการจ่ายประโยชน์ทดแทนจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามประเภทประโยชน์ ทดแทน ไตรมาส 4 ปี 2556 กับไตรมาส 1 ปี 2557 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี 5.2 การประสบอันตราย / เจ็บป่วยจากการทํางาน สําหรับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย เนื่องจากการทํางานในรอบไตรมาส 1 เดือน มกราคม-มีนาคม พบว่า การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานมีทั้งสิ้น 37 คน โดย ส่วนใหญ่เป็นการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยในสถานประกอบการขนาด 1-10 คน จํานวน 11 คน คิด เป็นร้อยละ 29.73 ของผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานทั้งหมด ขนาด 21-50, 101-200 คน จํานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 16.22 ของผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการ ทํางานทั้งหมด ขนาด 51-100 คน จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 13.51 ของผู้ประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานทั้งหมด ขนาด 501-1,000 จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 8.11 ของผู้ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานทั้งหมด และขนาด 11-20, 201-500, 1,000 คนขึ้นไป จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5.40 ของผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานทั้งหมด

57 แผนภูมทิ ี่ 31 เปรียบเทียบผูป้ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน จําแนกตามสถาน ประกอบการ ไตรมาส 4 ปี 2556 กับไตรมาส 1 ปี 2557 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี 5.3 กองทุนเงินทดแทน กองทุนเงินทดแทนให้ความคุ้มครองลูกจ้างที่ประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน ซึ่งในไตรมาสนี้มีผู้ใช้บริการ จํานวน 37 คน ประเภทที่มีผู้มาใช้บริการสูงสุดคือ การหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จํานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 59.46 ของผู้ใช้บริการทั้งหมด รองลงมาคือการหยุดงานเกิน 3 วัน มีผู้มา ใช้บริการ จํานวน 15 คน (ร้อยละ 40.54) ของผู้ใช้บริการทั้งหมด แผนภูมทิ ี่ 32 เปรียบเทียบผูป้ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน จําแนกตามประเภท ความร้ายแรงไตรมาส 4 ปี 2556 กับไตรมาส 1 ปี 2557

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

58

ตารางที่ 10 ผูป้ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน จําแนกตามสถานประกอบการ สถานประกอบการ

ผูป้ ระสบภัยอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน

1-10 คน 11-20 คน 21-50 คน 51-100 คน 101-200 คน 201-500 คน 501-1,000 คน 1,000 ขึ้นไป รวม

ไตรมาส 4/2556 4 5 8 18 7 18 3 4 67

ไตรมาส 1/2557 11 2 6 5 6 2 3 2 37

ตารางที่ 11 การใช้บริการกองทุนเงินทดแทน (เนื่องจากการทํางาน) จําแนกตามประเภทเงินทดแทน ประเภทเงินทดแทน 1.ค่าทดแทน 2.ค่ารักษาพยาบาล

ไตรมาส 4/2556 ผู้ใช้บริการ(คน) จํานวนเงิน (บาท) 67 283,987.20 25

318,355.25

3.ท่าทําศพ

-

-

4.ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทํางาน

-

-

92

602,342.45

รวม ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

59

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

60

ตารางที่ 1 โครงสร้างประชากร สถานภาพแรงงาน จํานวนประชากร

รวม 515,884

ชาย 253,337

หญิง 262,547

ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

420,936

204,542

216,394

1.ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน

321,501

171,596

149,905

1.1 กําลังแรงงานปัจจุบัน

321,501

171,596

149,905

1.1.1 ผูม้ ีงานทํา

321,285

171,380

149,905

1.1.2 ผูว้ ่างงาน

216

216

-

-

-

-

99,435

32,946

66,489

2.1 ทํางานบ้าน

23,620

614

23,006

2.2 เรียนหนังสือ

30,789

13,983

16,807

45,026

18,350

26,676

94,948

48,795

46,153

1.2 ผูท้ ี่รอฤดูกาล 2.ผู้ไม่อยู่ในกําลังแรงงาน

2.3 อื่นๆ ประชากรอายุต่ํากว่า 15 ปี (ไม่อยู่ในวัยทํางาน) ที่มา : สํานักงานสถิติจงั หวัดจันทบุรี

ตารางที่ 2 จํานวนผู้ขึ้นทะเบียนประกันตนกรณีว่างงาน ประเภท ผู้ขึ้นทะเบียนผูป้ ระกันตนกรณีว่างงาน

จํานวน (คน) 732

โดยเป็นผู้ถูกเลิกจ้าง

69

เป็นผู้ลาออก

663

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 3 จํานวนตําแหน่งงานว่าง ผูส้ มัครงาน และการบรรจุงาน

ตําแหน่งงานว่าง (อัตรา)

ชาย 62

จํานวน หญิง ไม่ระบุ 24 786

รวม 872

ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน (คน)

347

571

-

918

บรรจุงาน (คน)

221

365

-

586

ประเภท

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด

ตารางที่ 4 จํานวนตําแหน่งงานว่าง ผูส้ มัครงาน และการบรรจุงาน จําแนกตามการศึกษา ตําแหน่งงานว่าง (อัตรา) 180

ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน (คน) 155

บรรจุงาน (คน) 74

มัธยมศึกษา

373

298

203

ปวช. - พาณิชย์ - ช่าง - อื่นๆ

0 0 143

19 20 5

11 19 1

อนุปริญญา

0 0 93 23

45 28 3 0

45 31 3 3

ปริญญาตรี

57

343

196

ปริญญาโท

3

2

0

ปริญญาเอก

0

0

0

อื่นๆ

0

0

0

วุฒกิ ารศึกษา ประถมศึกษาและต่ํากว่า

ปวส. - พาณิชย์ - ช่าง - อื่นๆ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด

61

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

62

ตารางที่ 5 จํานวนตําแหน่งงานว่าง ผูส้ มัครงาน และการบรรจุงาน จําแนกตามอายุ ช่วงอายุ (ปี) 15 - 17 18 - 24 25 - 29 30 - 39 40 - 49 50 - 59 60 ปีขึ้นไป รวม

ตําแหน่งงานว่าง (อัตรา) 2 545 208 79 34 4 0 872

ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน (คน) 1 397 199 192 101 27 1 918

บรรจุงาน (คน) 0 160 194 172 44 16 0 586

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด

ตารางที่ 6 จํานวนแรงงานไทยที่ได้แจ้งการเดินทางไปทํางานต่างประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง วิธีการเดินทาง 1.เดินทางด้วยตนเอง 2.กรมการจัดหางาน จัดส่ง 3.บริษัทจัดหางานจัดส่ง

จํานวน (คน) 0 0 0

4.นายจ้างพาไปฝึกงาน

0

5.นายจ้างพาไปทํางาน

0

6.Re-Entry

17

รวม

17

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด

63 ตารางที่ 7 จํานวนคนหางานแจ้งการเดินทางไปทํางานต่างประเทศตามกฎหมาย จําแนกตามเพศ ประเทศ และตําแหน่งงาน สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

ประเทศ ญี่ปุ่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กาตาร์ อิสราเอล อินเดีย ไต้หวัน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง บาห์เรน ลาว สิงคโปร์ สาธารณรัฐมาลี รวม

ชาย 1 1 2 1 1 2 2 1 0 0 1 1 1 14

เพศ หญิง 0 1 0 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 3

รวม 1 2 2 1 1 2 2 1 1 1 1 1 1 17

ตําแหน่ง วิศวกร ช่างทอง,ช่างไฟฟ้า ผู้ควบคุมงาน,วิศวกร คนงานภาคเกษตร ผู้จัดการฝ่ายการตลาด พนักงานฝ่ายผลิต ลูกเรือ,ช่างเชื่อม พนักงานคอมพิวเตอร์ ผู้ช่วยงานบ้าน พนักงานขาย วิศวกรโยธา พนักงานควบคุมเครื่องจักร หัวหน้าช่าง

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี ตารางที่ 8 จํานวนแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมาย จําแนกตามประเภทการได้รบั อนุญาต ประเภทการได้รบั อนุญาต 1.ประเภทตลอดชีพ 2.ประเภทชั่วคราว (มาตรา 9) 3.ประเภทมาตรา 13 ยกเว้นมติ ครม. (4)และ(5) รวม

จํานวน (คน) 180 745 157 1,082

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด

ตารางที่ 9 จํานวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รบั อนุญาตทํางานตามมติ

พม่า (คน)

สัญชาติ ลาว (คน)

กัมพูชา (คน)

1,217

2,012

4,843

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด

รวม 8,072

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 10 การฝึกเตรียมเข้าทํางานในจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามกลุ่มอาชีพ

กลุ่มอาชีพ 1.ช่างก่อสร้าง 2.ช่างอุตสาหกรรม 3.ช่างเครื่องกล 4.ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ 5.ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ 6.เกษตรอุตสาหกรรม 7.ธุรกิจ และบริการ รวม

ไตรมาส 1/2557 ผู้รบั การฝึก ผู้ผา่ นการฝึก ชาย หญิง ชาย หญิง 0 0 0 0 0 0 0 0 5 0 0 0 7 1 0 0 0 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 12

4

0

0

ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 11 การฝึกยกระดับฝีมือแรงงานในจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามกลุ่มอาชีพ

กลุ่มอาชีพ 1.ช่างก่อสร้าง 2.ช่างอุตสาหกรรม 3.ช่างเครื่องกล 4.ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ 5.ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ 6.เกษตรอุตสาหกรรม 7.ธุรกิจ และบริการ รวม ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี

ไตรมาส 1/2557 ผู้รบั การฝึก ผู้ผา่ นการฝึก ชาย หญิง ชาย หญิง 56 24 56 24 0 0 0 0 68 39 62 39 0 0 0 0 3 27 3 27 15 25 15 25 92 159 92 156 234 274 228 271

64

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

65

ตารางที่ 12 การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ

กลุ่มอาชีพ 1.ช่างก่อสร้าง 2.ช่างอุตสาหกรรม 3.ช่างเครื่องกล 4.ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ 5.ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ 6.เกษตรอุตสาหกรรม 7.ธุรกิจ และบริการ รวม

ไตรมาส 1/2557 ผู้รบั การฝึก ผู้ผา่ นการฝึก ชาย หญิง ชาย หญิง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 20 0 20 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 20 0 20 0

ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 13 การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามกลุ่มอาชีพ

กลุ่มอาชีพ 1.ช่างก่อสร้าง 2.ช่างอุตสาหกรรม 3.ช่างเครื่องกล 4.ช่างไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,คอมพิวเตอร์ 5.ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ 6.เกษตรอุตสาหกรรม 7.ธุรกิจ และบริการ รวม ที่มา : ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี

ไตรมาส 1/2557 ผู้รบั การฝึก ผู้ผา่ นการฝึก ชาย หญิง ชาย หญิง 0 0 0 0 30 0 5 0 80 0 72 0 37 6 16 3 3 0 3 0 0 0 0 0 40 0 36 0 190 6 132 3

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

66

ตารางที่ 14 การตรวจแรงงานในจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ สถาน ลูกจ้างทีผ่ ่านการตรวจ (คน) ขนาดสถาน ประกอบการ ประกอบการ ทีผ่ ่านการ ชาย หญิง เด็ก รวม ตรวจ (แห่ง) 1 - 4 คน 78 73 124 0 197 5 - 9 คน 43 152 139 1 292 10 - 19 คน 33 227 189 4 420 20 - 49 คน 23 430 283 4 717 50 - 99 คน 8 341 310 0 651 100 - 299 คน 8 615 712 0 1,327 300 - 499 คน 0 0 0 0 0 500 - 999 คน 1 245 376 0 621 1,000 คน 0 0 0 0 0 รวม 194 2,083 2,133 4 4,225 ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี

ผลการตรวจ (แห่ง) ปฏิบตั ิ ถูกต้อง

ปฏิบตั ิไม่ ถูกต้อง

76 41 31 21 8 8 0 1 0 186

2 2 2 2 0 0 0 0 0 8

67 ตารางที่ 15 การตรวจความปลอดภัยในการทํางานในจังหวัดจันทบุรี จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ไตรมาส 1/2557 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ประเภทอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ การประมง การทําเหมืองแร่ และเหมืองหิน การผลิต การไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา การก่อสร้าง การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซม ยานยนต์ รถจักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน 8. โรงแรม และภัตตาคาร 9. การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการ คมนาคม 10. การเป็นสื่อกลางทางการเงิน 11. กิจการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและ กิจกรรมทางธุรกิจ 12. การบริหารราชการ และการป้องกัน ประเทศรวมทัง้ การประกันสังคมภาคบังคับ 13. การศึกษา 14. งานด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 15. กิจกรรมด้านบริการชุมชน สังคมและการ บริการส่วนบุคคลอื่น ๆ 16. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 17. องค์การระหว่างประเทศ และองค์การ ต่างประเทศอื่นๆ และสมาชิก 18. ไม่ทราบ รวม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

สปก. ทีผ่ ่านการ ตรวจ (แห่ง) 1 0 1 20 1 3

ลูกจ้าง ทีผ่ ่านการ ตรวจ (คน) 47 0 11 1,632 10 205

50 33

ผลการตรวจ (แห่ง) ปฏิบตั ิ ถูกต้อง

ไม่ ถูกต้อง

1 0 1 18 1 2

0 0 0 2 0 1

832 942

47 33

3 0

2 2

37 9

2 2

0 0

0

0

0

0

0 0 0

0 0 0

0 0 0

0 0 0

2 0

36 0

2 0

0 0

0 0 115

0 0 3,761

0 0 109

0 0 6

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 16 จํานวนผูป้ ระกันตน จังหวัดจันทบุรี ไตรมาส 1/2557 จํานวนผู้ประกันตน มาตรา 33

31,553 คน

จํานวนผู้ประกันตน มาตรา 39

6,008 คน

จํานวนสถานประกอบการ

2,491 แห่ง

สถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

1 แห่ง

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 17 การใช้บริการกองทุนประกันสังคม จําแนกตามประเภทประโยชน์ทดแทน ประเภทประโยชน์ทดแทน 1. เจ็บป่วย 2. คลอดบุตร 3. ทุพพลภาพ 4. ตาย 5. สงเคราะห์บุตร 6. ชราภาพ 7. ว่างงาน รวม

ราย 1,926 346 287 90 17,906 247 1,441 22,243

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

ไตรมาส 1/2557 จํานวนเงิน 1,540,123.13 7,889,359.00 622,834.00 2,070,090.30 7,792,950.00 6,750,288.85 4,347,967.75 31,013,613.03

68

69 ตารางที่ 18 การใช้บริการกองทุนเงินทดแทน (เนื่องจากการทํางาน) จําแนกตามประเภทเงินทดแทน สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ประเภทเงินทดแทน 1. ค่าทดแทน 2. ค่ารักษาพยาบาล 3. ค่าทําศพ 4. ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทํางาน รวม

ไตรมาส 1/2557 ผู้มาใช้บริการ จํานวนเงินที่จา่ ย (บาท) (คน) 67 283,987.20 25 318,355.25 0 0 0 0 92 602,342.45

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 19 ผูป้ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน จําแนกตามประเภทความร้ายแรง

ประเภทความร้ายแรง 1. ตาย 2. ทุพพลภาพ 3. สูญเสียอวัยวะบางส่วน 4. หยุดงานเกิน 3 วัน 5. หยุดงานไม่เกิน 3 วัน รวม ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

ผูป้ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วย เนื่องจากการทํางาน ไตรมาส 1/2557 0 0 0 15 22 37

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 20 ผูป้ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน จําแนกตามสถานประกอบการ ผูป้ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการ ทํางาน ไตรมาส 1/2557 11 2 6 5 6 2 3 2 37

สถานประกอบการ 1-10 คน 11-20 คน 21-50 คน 51-100 คน 101-200 คน 201-500 คน 501-1,000 คน 1,000 ขึ้นไป รวม

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

ตารางที่ 20 จํานวนสถานประกอบการทีเ่ ลิกกิจการและลูกจ้างที่ถกู เลิกจ้าง ไตรมาส 1/2557 สถานประกอบการทีเ่ ลิกกิจการ (แห่ง) 39 ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

ลูกจ้างที่ถกู เลิกจ้าง (คน) 418

70

71 ตารางที่ 21 จํานวนสถานประกอบการทีเ่ ลิกกิจการ จําแนกตามประเภทกิจการ ไตรมาส 1/2557 สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

ประเภทกิจการ การขุดดิน กรวด การดูดทราย ผลิตเครื่องประดับเพชรพลอยอื่นๆ การก่อสร้าง การค้าเครื่องไฟฟ้า ยานพาหนะ ฯลฯ การค้าวัสดุก่อสร้าง ร้านสินค้าเบ็ดเตล็ดการค้าอื่นๆ สถาบันการเงิน บริการด้านธุรกิจ งานอาชีพหรือบริการที่มิได้จัด การระเบิด ย่อย โม่หรือบดหิน การผลิตเครื่องดื่ม ถนอมอาหาร การหล่อหลอม การกลึงโลหะ การผลิต ประกอบ ซ่อมรถยนต์ ฯลฯ โรงพยาบาล บริการสุขภาพ ให้เช่าอสังหาฯจัดสรรบ้าน บริการให้เช่า ซ่อมเครื่องจักรฯ ร้านขายอาหาร โรงแรม ห้องเช่า การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแรง ขนส่งสินค้า ผู้โดยสารทางรถยนต์ ติดตั้งระบบไฟฟ้าอุปกรณ์สื่อสาร การเลี้ยงสัตว์ รวม

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี

จํานวน สปก. ลูกจ้างที่ถูก (แห่ง) เลิกจ้าง (คน)

1 2 1 5 2 7 4 4 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 39

3 333 1 5 11 11 8 5 0 4 1 0 4 4 2 5 3 12 4 2 418

สถานการณ์แรงงานจังหวัดจันทบุรี

72

คณะผู้จัดทํา นางประไพพรรณ ลุ่มจันทร์ นางสาวธีฤทัย วิธีเจริญ นายอนุพงศ์ ลีละประถม นางนิชากร นาคแสง นางศิริลักษณ์ คงสํารวย นายอํานาจ รักนิ่ม นางสาวอรอนงค์ บัวสมบูรณ์

แรงงานจังหวัดจันทบุรี นักวิชาการแรงงานชํานาญการ สํานักงานแรงงานจังหวัดจันทบุรี นักวิชาการแรงงานชํานาญการ สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ สํานักงานประกันสังคมจังหวัดจันทบุรี นักวิชาการแรงงานชํานาญการ สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัดจันทบุรี นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานปฏิบัติการ ศูนย์พฒ ั นาฝีมือแรงงานจังหวัดจันทบุรี พนักงานบันทึกข้อมูลด้านแรงงาน สํานักงานแรงงานจังหวัดจันทบุรี

MINISTRY OF LABOUR 1 - 57.pdf

Page 2 of 76. สถานการณ์แรงงานจงหว ั ดจั นทบ ั ุรี 2. ว. ิส. ั. ยท. ั. ศนกระทรวงแรงงาน. ์. แรงงานม. ี. ผลิตภาพส. ู. ง ม. ี. ความมั่นคง และม. ี. ค. ุ. ณภาพชี. วิตทด.

2MB Sizes 22 Downloads 134 Views

Recommend Documents

Balendra Kumar vs Ministry of Labour and Employment.pdf ...
Loading… Whoops! There was a problem loading more pages. Whoops! There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Balendra Kum ... ployment.pdf. Balendra Kuma ... mployment.pdf. Open. Extract. Open with. Sign

Balendra Kumar vs Ministry of Labour and Employment.pdf ...
WWW.LIVELAW.IN. Page 3 of 8. Balendra Kumar vs Ministry of Labour and Employment.pdf. Balendra Kumar vs Ministry of Labour and Employment.pdf. Open.

MINISTRY OF LABOUR 2- 58.pdf
Whoops! There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. MINISTRY OF LABOUR 2- 58.pdf. MINISTRY OF LABOUR 2- 58.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main

Balendra Kumar vs Ministry of Labour and Employment.pdf ...
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Main menu.

1. Evolution of International Labour Standards By- Aathira Raju.pdf ...
Whoops! There was a problem loading more pages. Retrying... 1. Evolution of International Labour Standards By- Aathira Raju.pdf. 1. Evolution of International ...

Page 1 % YS MNZN MINISTRY OF HEALTH OFFICE OF THE ...
That applicants for postgraduate degree courses in the attached list will be granted. 50%sponsorship for the year 2013/2014. They should pay the balance ...

job opportunities - Department of Labour
quarter one of 2013 and quarter four of 2012, it declined year-on-year by 5% in March 2013. Yet the challenge is to absorb ..... Table 6 provides, to some degree, how small and big sized firms are ..... Automotive Electricians. 33. 23. 21. 26. 103.

job opportunities - Department of Labour
Figure 5: Educational level of ordinary unemployment claims, from April 2012 to March 2013............. 8 ..... Secondary not completed. 2 096. 2 246. 2 171. 2 209. Secondary completed. 1 498 ... programmes, technology and business studies.

MINISTRY ORDER NO. 1 .pdf
CESAR E.A. VIRATA. Minister of Finance. ISANG BANSA, (SANG DIWA, (SANG WIKA. Page 1 of 1. MINISTRY ORDER NO. 1 .pdf. MINISTRY ORDER NO. 1 .pdf.

MINISTRY ORDER NO. 1 .pdf
PROVINCE OF LEYTE EFFECTIVE JULY 1 1986 IN ACCORDANCE. WITH THE PROVISIO* OF PRESIDENTIAL DECREE NO. 465. TO . The Regional Director ...

Prohibition of Child Labour Policy.pdf
Barun, Ashuliya, Savar, Dhaka. wK‡kvi kawgK msμvšÍ bxwZgvjvt. hw` †Kvb kawgK m‡›`nfvRb wK‡kvi kawgK wn‡m‡e we‡ewPZ nq Zvn‡j cybivq †iwRóvW© Wv3vi KZ...©K. cix¶v Kivi ci nvo cix¶vi Rb ̈ cvVv‡bv nq Ges PzovšÍ djvd‡ji

Ministry of Home Affairs (1).PDF
There was a problem previewing this document. Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Ministry of Home ...

Labour Welfare Deptt - APSC
May 8, 2018 - Please report in the office of the Commission at 9.00 A.M. on the above mentioned date. Failure to report in time on the date specified, your ...

Labour Welfare Deptt - APSC
May 8, 2018 - Caste Certificate ST(P) in original issued by competent authority wherever applicable. 4. Up- to- date identity card/Disability Certificate in ...

misoprostol (gynaecological indication labour induction): List of ...
Page 1. Page 2. μικρογραμμάρια σύστημα για ενδοκολπική χορήγηση μικρογραμμάρια σύστημα για ενδοκολπική χορήγηση. Page 3. Misodel 200 mikrogramů.

Labour Laws.pdf
... wages under the Act. d. The normal working day for an adult constitutes of 9 hours including the intervals. of rest with maximum of 48 hours of working in a week. PENALTIES FOR NON-COMPLIANCE. Imprisonment up to 6 months and/or fine up to Rs. 500

GOVERNMENT OF lNDIA MINISTRY OF ENVIRONMENT, FORESTS ...
posts by Deputation in the Directorate of Forest Education and its constituent ... from English to Hindi or vice-verse, preferably of technical or scientific literature.

Ministry Of defence.pdf
Paste photograph. duly attested. Paste photograph. duly attested. Page 1 of 1. Ministry Of defence.pdf. Ministry Of defence.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In.

The Transformation of the Value (and Respective Price) of Labour ...
exchanged, and then the labourer receives 6s, for 12 hours' labour; the price of his ..... the commodity arises, at first sporadically, and becomes fixed by degrees; a lower ... of masters one against another that many are obliged to do things as ...

unit 3 bonded labour - eGyanKosh
Feb 9, 1976 - The agent would beat me with a stick if I was not there on time, he beats .... accurate, authentic and up-to-date data about the magnitude of the problem. A .... be instituted in any Civil Court for the recovery of any bonded debt,.

Page 1 N0.F. 101912008-lR Government of lndia Ministry of Penonnei ...
Apr 26, 2011 - by the Central Information Commission on the'concemed Central Publk Information ... Union Public Service CommissionILok Sabha Seaetdat.

Supply of Skilled Labour and Organizational Change
ers who have attended and completed college. The impact of this increasing supply of skilled labour on their wage premium has been non monotonic. Indeed ...

Membrane sweeping for induction of labour
This version first published online: 24 January 2005 in Issue 1, 2005. .... the list of handsearched journals and conference proceedings, and the list of journals reviewed via the ..... management options with women for whom induction of labour.

Page 1 N0.F. 101912008-lR Government of lndia Ministry of Penonnei ...
Apr 26, 2011 - It may result into imposition of penalty by the Central Information Commission on the'concemed Central Publk Information. Officer under Section ...