หลักสู ตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวาริชศาสตร์ หลักสู ตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวาริชศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสู ตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ ภาษาอังกฤษ : Bacheler of Science Program in Aquatic Science

2. ชื่อปริ ญญาและสาขาวิชา ชื่อปริ ญญาภาษาไทย ชื่อปริ ญญาภาษาอังกฤษ อักษรย่อภาษาไทย อักษรย่อภาษาอังกฤษ

: วิทยาศาสตรบัณฑิต (วาริ ชศาสตร์) : Bacheler of Science (Aquatic Science) : วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) : B.Sc. (Aquatic Science)

3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสู ตร ไม่มี 4. จานวนหน่ วยกิตที่เรียนตลอดหลักสู ตร จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกว่า 136 หน่วยกิต 5. รู ปแบบของหลักสู ตร 5.1 รู ปแบบ หลักสูตรระดับปริ ญญาตรี หลักสูตร 4 ปี 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย

2 5.3 การรับเข้ าศึกษา รับทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติที่มีความรู ้ในภาษาไทย 5.4 ความร่ วมมือกับสถาบันอื่น เป็ นหลักสูตรเฉพาะของสถาบัน 5.5 การให้ ปริญญาแก่ ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปริ ญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสู ตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสู ตร  หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2554 เปิ ดสอนภาคการศึกษาต้น พ.ศ. 2554 สภาวิชาการ เห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 6/2553 วันที่ 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 สภามหาวิทยาลัยบูรพาเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 1/2554 วันที่ 19 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 7. ความพร้ อมในการเผยแพร่ หลักสู ตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่ คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ในปี การศึกษา 2556 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้ หลังสาเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย เช่น นักวิชาการหรื อนักวิจยั ทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชน เจ้าหน้าที่ส่งเสริ มและให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ประมงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและสิ่งแวดล้อมทางน้ า หรื อผู ้ ประกอบธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตร ธุรกิจการเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์น้ า และธุรกิจ การท่องเที่ยวทางน้ าเชิงอนุรักษ์ เป็ นต้น นอกจากนี้บณั ฑิตยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทและเอกทั้ง สถาบันภายในและต่างประเทศ 9. อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสู ตร 1) นางสาวสุวรรณา ภาณุตระกูล เลขประจาตัวประชาชน 3100902211xxxx คุณวุฒิ D.Sc.(Marine Biogeochemistry) Free University of Brussels, Belgium.ปี ที่สาเร็จ การศึกษา2536 M.Sc.(Fundamental and Applied Marine Ecology) Free University of Brussels, Belgium.ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2532 วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สาเร็ จการศึกษา 2527

3 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 2) นายอนุกูล บูรณประทีปรัตน์ เลขประจาตัวประชาชน 320010076xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Geography) University of Victoria, Canada ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2550 D.Sc. (Coastal Oceanography) Kyushu University, Japan ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2548 วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2541 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2537 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 3) นายวิชญา กันบัว เลขประจาตัวประชาชน 310200192xxxx คุณวุฒิ วท.ม. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2541 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2538 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ 10. สถานที่จัดการเรียนการสอน  ในสถานที่ต้งั  นอกสถานที่ต้งั ได้แก่............................ 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสู ตร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ จากสภาวะการณ์ในปั จจุบนั ที่ประเทศต่างๆ ทัว่ โลก รวมถึงประเทศไทยส่งสริ มให้เศรษฐกิจของ ประเทศมีการพัฒนาและเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว โดยการส่ งเสริ มการผลิตด้านต่างๆ เพือ่ การส่งออกทั้งผลิต ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การประมง การเพาะเลี้ยง รวมถึงการส่งเสริ มการท่องเที่ยว กิจกรรมเหล่านี้ ทาให้ความต้องการใช้ทรัพยากรน้ า และทรัพยากรอื่นๆ ในแหล่งน้ าเพิม่ สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิด ปั ญหาต่อเนื่องมากมาย ตั้งแต่ปัญหาด้านคุณภาพน้ า ปั ญหาด้านการจัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้ า และทรัพยากรอื่นๆ ซึ่งจาเป็ นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู ้ ความสามารถ และทักษะในการทางานในด้านนี้ โดยเฉพาะ ภาควิชาวาริ ชศาสตร์จึงมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของตลาดทั้ง ภาครัฐและเอกชน

4 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสั งคมและวัฒนธรรม พื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกเป็ นพื้นที่ทมี่ ี ศักยภาพในด้านต่างๆ สูง จึงได้รับการส่งเสริ มให้มีพฒั นาเพือ่ เป็ นฐานการผลิตและส่งออกที่สาคัญของ ประเทศตามนโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 ส่งผลให้ ทรัพยากรธรรมชาติ และชายฝั่งทะเลของพื้นที่ภาคตะวันออกถูกใช้อย่างรวดเร็ว ทาให้ทรัพยากรน้ า แหล่งน้ า รวมถึงนิเวศชายฝั่งทะเลที่เสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว ปั ญหาความขัดแย้งจากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร น้ าและ ทรัพยากรอื่นๆ ในแหล่งน้ านี้จาเป็ นต้องได้รับการดูแลและแก้ไขปั ญหาจากบุคลากรที่มีความรู ้ ความสามารถเฉพาะทาง ภาควิชาวาริ ชศาสตร์จึงจัดหลักสูตรที่มีการเรี ยนการสอน การฝึ กงาน และ การศึกษาดูงาน รวมถึงการทาวิจยั เพือ่ ผลิตบุคลากรที่มีความรู ้ ความสามารถเฉพาะทาง เพือ่ ให้เหมาะสมกับ ความต้องการของตลาดทั้งภาครัฐและเอกชน 12. ผลกระทบจาก ข้ อ 11.1 และ 11.2 ต่ อการพัฒนาหลักสู ตรและความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสู ตร จากความต้องการบัณฑิตที่จบในสาขาดังกล่าวมีมีความรู ้ ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับน้ า ทรัพยากรน้ า และทรัพยากรอื่นๆ ในแหล่งน้ า ซึ่งเป็ นคุณสมบัติที่เป็ นที่ความต้องการของตลาด ภาควิชา วาริ ชศาสตร์จึงดาเนินการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย และเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความพร้อมที่จะทาหน้าที่ทไี่ ด้รับมอบหมายได้ทนั ที อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีความสามารถในการปรับตัวสูง 12.2 ความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจของสถาบัน 12.2.1 บัณฑิตด้านวาริ ชศาสตร์ที่ผลิตโดยหลักสู ตรนี้จะสนองต่อความต้องการกาลังคนของทั้งภาครัฐ และเอกชนโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย ซึ่งเป็ นพื้นที่ที่มี ความสาคัญอย่างยิง่ ทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม แต่ยงั มีทรัพยากรชีวภาพทางทะเลที่อุดมสมบูรณ์และมี ความหลากหลายสูง 12.2.2 มีการจัดกิจกรรมการวิจยั และการเรี ยนการสอน โดยใช้สถานการณ์สภาวะแวดล้อมของพื้นที่เป็ น กรณี ศึกษา 12.2.3 บัณฑิตด้านวาริ ชศาสตร์ที่ผลิตโดยหลักสู ตรนี้ตอ้ งเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ ความสามารถในทฤษฎี และ หลักการของสาขาวิชา และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และยังต้องเป็ นผูท้ ี่มีคุณธรรมและจริ ยธรรมด้วย

5 13. ความสั มพันธ์ กับหลักสู ตรอื่นที่เปิ ดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่ น รายวิชาที่เปิ ดสอนเพื่อให้ บริการ คณะ/ภาควิชาอืน่ หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอืน่ )

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ จะมีความสัมพันธ์กบั หลักสูตรอื่น และหลักสูตรในคณะดังนี้ 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสู ตรอื่น กลุ่มรายวิชาที่เป็ นพื้นฐานเฉพาะด้านซึ่งนิสิตต้องไปเรี ยนในคณะอื่นประกอบด้วย วิชาทางด้าน ภาษา มนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนให้ ภาควิชา/หลักสู ตรอื่นต้ องมาเรียน รายวิชาที่เปิ ดสอนในหลักสูตรนี้ นิสิตสาขาวิชาอื่นภายในคณะวิทยาศาสตร์สามารถเลือกเรี ยนได้ ในบางรายวิชาทั้งนี้ตามความสนใจของแต่ละคน นอกจากนี้นิสิตต่างคณะก็สามารถเลือกเรี ยนเป็ นวิชาเลือก เสรี ได้ เช่น รายวิชาการดาน้ าและนิเวศวิทยาทางน้ า เป็ นต้น 13.3 การบริหารจัดการ ในการจัดการเรี ยนการสอนนั้น จะต้องมีการประสานงานกับ ภาควิชาอื่นและคณะต่างๆ ที่จดั รายวิชาซึ่ งนิสิตในหลักสูตรนี้ตอ้ งไปเรี ยน โดยต้องมีการวางแผนร่ วมกันระหว่าง ผูเ้ กี่ยวข้องตั้งแต่ผบู ้ ริ หาร และอาจารย์ผสู ้ อน ซึ่งอยูต่ ่างภาควิชาและคณะ เพือ่ กาหนดเนื้อหาและกลยุทธ์การสอนตลอดจนการวัดและ ประเมินผล ทั้งนี้เพือ่ ให้นิสิตได้บรรลุผลการเรี ยนรู ้ตามหลักสูตรนี้ ส่วนนิสิตที่มาเลือกเรี ยน เป็ นวิชาเลือก เสรี น้ นั ก็ตอ้ งมีการประสานกับคณะต้นสังกัดเพือ่ ให้ทราบถึงผลการเรี ยนรู ้ของนิสิตว่าสอดคล้องกับ หลักสูตรที่นิสิตเหล่านั้นเรี ยนหรื อไม่

หมวดที่ 2. ข้ อมูลเฉพาะของหลักสู ตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ เหตุผลในการปรับปรุง และวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร ปรัชญา สร้างนักวิทยาศาสตร์ที่มีความรู ้ความสามารถ เพือ่ ตอบสนองต่อแนวนโยบายการพัฒนาประเทศด้าน วิทยาศาสตร์ทางน้ า และให้สามารถนาความรู ้และประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมในการประกอบ อาชีพอย่างมีคุณธรรมและจริ ยธรรม

6 ความสาคัญ ภาควิชาวาริ ชศาสตร์ เป็ นสาขาหนึ่งของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งตั้งอยูบ่ นพื้นที่ภาค ตะวันออก ของประเทศ อยูใ่ กล้กบั แหล่งอุตสาหกรรม แหล่งประมง และแหล่งชุมชนที่สาคัญ ดังนั้นการผลิตบัณฑิตจึง เป็ นส่วนสาคัญในการสนับสนุนทุกภาคส่วนทั้งองค์กรทางธุรกิจ และรัฐบาล เหตุผลในการปรับปรุงหลักสู ตร หลักสูตรนี้เปิ ดสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 ซึ่งใช้มาเป็ นระยะเวลา 5 ปี ประกอบกับสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มีการจัดทาต้นแบบหลักสูตรด้านวาริ ชศาสตร์ จึงต้องมีการปรับปรุ งหลักสูตร เพือ่ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ยิง่ กว่านั้นก็เพือ่ ให้การจัดการเรี ยนการสอนบรรลุตามมาตรฐานผล การเรี ยนรู ้ตามที่มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวาริ ชศาสตร์กาหนด วัตถุประสงค์ของหลักสู ตร เพือ่ ให้เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ความสามารถกว้างขวางในการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรในแหล่งน้ า ทั้งน้ าจืด น้ ากร่ อย และน้ าเค็ม ในด้านที่เกี่ยวข้องกับการประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า การใช้ประโยชน์ทรัพยากร ทางน้ าในด้านต่าง ๆ และการจัดการปั ญหาสิ่งแวดล้อมในแหล่งน้ า เป็ นต้น โดยสามารถนาความรูไ้ ปประกอบ อาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณธรรม ทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชน 2. แผนพัฒนาปรับปรุง แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง - ปรับปรุ งหลักสูตรวาริ ชศาสตร์ให้มีมาตรฐานไม่ต่ากว่า มาตรฐานคุณวุฒิสาขา วาริ ชศาสตร์ที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนด และสอดคล้องกับความต้องการ ของภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม

กลยุทธ์ 1. ติดตามความเปลี่ยนแปลงและ ความต้องการกาลังคนในภาค ธุรกิจเพือ่ เป็ นข้อมูลในการ พัฒนาหลักสูตร 2. เชิญผูเ้ ชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและ เอกชนมามีส่วนร่ วมในการ พัฒนาหลักสูตร 3. ประสานความร่ วมมือกับ สถานประกอบการในการจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอนใน การฝึ กงาน

หลักฐาน/ตัวบ่ งชี้ - รายงานผลการดาเนินงาน - รายงานผลการฝึ กงานในรายวิชาฝึ กงาน - นิสิตทุกคนต้องผ่านการฝึ กงาน - เอกสารการประสานงานกับภาคธุรกิจ - ผูใ้ ช้บณั ฑิตมีความพึงพอใจบัณฑิตโดยเฉลี่ย ระดับ 3.5 จากระดับ 5

7 แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง - ยกระดับทรัพยากรสายผูส้ อน เพือ่ สนับสนุนการเรี ยนรู ้ของ นิสิต

กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่ งชี้ 4. มีการติดตามประเมิน - หลักฐานหรื อเอกสารแสดงผลการดาเนินการ หลักสูตรอย่างสม่าเสมอ - อาจารย์ใหม่ตอ้ งผ่านการ อบรมหลักสูตรเบื้องต้น เกี่ยวกับเทคนิคการสอนการวัด และประเมินผล - อาจารย์ทุกคนต้องเข้าอบรม เกี่ยวกับหลักสูตรการสอน รู ปแบบต่าง ๆ และการวัดผล ประเมินผล ทั้งนี้เพือ่ ให้มีความรู ้ ความสามารถในการประเมินผล ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ ผูส้ อนจะต้องสามารถวัดและ ประเมินผลได้เป็ นอย่างดี

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้ างของหลักสู ตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็ นแบบทวิภาค 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน นิสิตภาคพิเศษต้องลงทะเบียนเรี ยนภาคฤดูร้อน ส่วนนิสิตภาคปกติอาจจะลงทะเบียนเรี ยนภาคฤดูร้อน ได้ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา 1.3 การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี

8 2. การดาเนินการหลักสู ตร 2.1 วัน – เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน จัดการเรี ยนการสอนในวันและเวลาราชการ สาหรับนิสิตภาคปกติ ในกรณี ที่ใช้วทิ ยากรพิเศษจาก บุคคลภายนอก อาจจัดให้เรี ยนนอกเวลาราชการ สาหรับนิสิตภาคพิเศษ จัดการเรี ยนการสอนทั้งในและนอกเวลาราชการ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้ าศึกษา เป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี 2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้ า โดยที่หลักสูตรวาริ ชศาสตร์ จะต้องเรี ยนรายวิชาทางภาษาอังกฤษ และวิชาแกนทางวิทยาศาสตร์ เช่น ฟิ สิกส์ เคมี และแคลคูลสั เป็ นต้น จึงอาจมีปัญหาบ้าง สาหรับนิสิตที่พ้นื ฐานจากชั้นระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายไม่ดี ประกอบกับการเรี ยนการสอนในระดับอุดมศึกษา กับระดับมัธยมศึกษามีความแตกต่างกันมาก ดังนั้น นิสิตใหม่อาจมีปัญหาเกี่ยวกับการปรับตัวได้ 2.4 กลยุทธ์ ในการดาเนินการเพื่อแก้ ไขปัญหา / ข้ อจากัดของนักศึกษาในข้ อ 2.3 สาหรับนิสิตที่มีปัญหาเกี่ยวกับวิชาพื้นฐานทางภาษาและวิชาแกนทางวิทยาศาสตร์ คณะจะจัดให้มีการ สอนเสริ ม หรื ออาจจัดให้นิสิตรุ่ นพีใ่ ห้คาแนะนาและสอนเสริ มให้รุ่นน้อง คณะมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาทางวิชาการประจาตัวนิสิต ดังนั้น เมื่อเกิดปั ญหา นิสิตก็สามารถ ปรึ กษาหรื อขอคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึ กษาได้ 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็ จการศึกษาในระยะ 5 ปี จานวนนิสิต รับเข้าศึกษา (ปี 1) นิสิตชั้นปี ที่ 2 นิสิตชั้นปี ที่ 3 นิสิตชั้นปี ที่ 4 รวม คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา

2554 50

2555 50 50

ปี ที่เข้ าศึกษา 2556 50 50 50

50 -

100 -

150 -

2557 50 50 50 50 200 50

2558 50 50 50 50 200 50

9 2.6 งบประมาณตามแผน ตามที่ได้รับจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ในส่ วนของสาขาวิชา วาริ ชศาสตร์ (หน่วย : พันบาท) รายการ 2554 2555 2556 2557 2558 1.งบบุคลากร 1,439 1,510 1,586 1,665 1,748 2.งบดาเนินการ 1,856 2,475 3,712 7,425 7,425 3. งบลงทุน 200 200 300 300 350 4. งบเงินอุดหนุน 850 850 900 900 950 รวม 4,345 5,035 6,498 10,290 10,473 2.7 ระบบการศึกษา  แบบชั้นเรี ยน  แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็ นหลัก  แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ ภาพและเสียงเป็ นสื่อหลัก  แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์เป็ นสื่อหลัก  แบบทางไกลทางอินเตอร์เนท  อื่นๆ (ระบุ) 2.8 การเทียบโอนหน่ วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ ามมหาวิทยาลัย ในกรณี ที่นิสิตจาเป็ นต้องเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา ให้อยูใ่ นดุลพินิจของคณะกรรมการบริ หาร หลักสูตร 2.8.1 นิสิตที่เคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอื่นมาก่อน หรื อศึกษาตามอัธยาศัย หรื อมีประสบการณ์ ด้านโลจิสติกส์ เมื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้สามารถเทียบโอนหน่วยกิตได้ท้งั นี้เป็ นไปตามระเบียบ มหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรี ยนนิสิตระดับปริ ญญาตรี 2.8.2 นิสิตสามารถลงทะเบียนเรี ยนบางรายวิชาที่มหาวิทยาลัยอื่นแล้วโอนหน่วยกิตได้ ทั้งนี้เป็ นไปตาม ข้อบังคับของมหาวิทยาลัย

10 3. หลักสู ตรและอาจารย์ ผู้สอน 3.1 หลักสู ตร 3.1.1 จานวนหน่ วยกิต หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่นอ้ ยกว่า 136 หน่วยกิต 3.1.2 โครงสร้ างหลักสู ตร 1) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 30 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์ 4 หน่วยกิต - วิชาคอมพิวเตอร์ 3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเลือก 5 หน่วยกิต 2) หมวดวิชาเฉพาะ 100 หน่วยกิต - วิชาแกน 27 หน่วยกิต - วิชาเฉพาะด้าน 22 หน่วยกิต - วิชาเอก 51 หน่วยกิต 3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 3.1.3 รายวิชา (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่ น้อยกว่า 30 หน่ วยกิต - กลุ่มวิชาภาษา จานวน 12 หน่ วยกิต 1. กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จานวน 9 หน่วยกิต 1.1 ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน จานวน 6 หน่วยกิต ให้เรี ยน 2 รายวิชา ตามความรู ้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ จากรายวิชาต่อไปนี้ 222101 222102 222103

ภาษาอังกฤษ 1 English I ภาษาอังกฤษ 2 English II ภาษาอังกฤษ 3 English III

จานวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

11 1.2 ภาษาอังกฤษวิชาชีพ 300201

จานวน

ภาษาอังกฤษทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี English for Sciences and Technologies

2. กลุ่มวิชาภาษาอื่นๆ จานวน เลือกเรี ยน 1 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้ 222207 222208 222209 222271 222272 222273 228101 228202 233193 233195 233197 235101

3 หน่วยกิต 3(3-0-6)

3 หน่วยกิต

การฟัง – พูดภาษาอังกฤษเพือ่ งานอาชีพ Englihs Listening and Speaking for Careers การอ่านภาษาอังกฤษเพือ่ งานอาชีพ English Reading for Careers การเขียนภาษาอังกฤษเพือ่ งานอาชีพ English Writing for Careers ภาษาอังกฤษสาหรับการสมัครงาน English for Job Application ภาษาอังกฤษสาหรับสอบวัดมาตรฐานภาษาอังกฤษ English for Standardized Tests ไวยากรณ์และโครงสร้างภาษาอังกฤษ English Grammar and Structure ทักษะการใช้ภาษาไทยเพือ่ การสื่อสาร Thai Language Skills for Communication การเขียนบทความวิชาการและงานวิจยั Academic Article and Research Writing ภาษาเขมรเพือ่ การสื่อสาร 1 Khmer for Communication I ภาษาเวียดนามเพือ่ การสื่อสาร 1 Vietnamese for Communication I ภาษาอินโดนีเซียเพือ่ การสื่อสาร Indonesian for Communication ภาษาจีนเพือ่ การสื่อสาร 1 Chinese for Communication I

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

12 - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 265109

มนุษย์ศาสตร์เชิงบูรณาการ Integrated Humanities

- กลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์ 671101

309103

จานวน 3 หน่ วยกิต 3(3-0-6) จานวน 4 หน่ วยกิต

คณิ ตศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน Mathematics in Everday Life วิทยาศาสตร์ทางทะเล Marine Science

- วิชาคอมพิวเตอร์ 885101

3(3-0-6)

สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการ Integrated Social Sciences

- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ 302101

จานวน 3 หน่ วยกิต

2(2-0-4) 2(2-0-4) จานวน 3 หน่ วยกิต

เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวติ ประจาวัน Information Technology in Daily Life

3(2-2-5)

- กลุ่มวิชาเลือก จานวน 5 หน่ วยกิต เลือกเรี ยน 3 รายวิชา จากรายวิชาในกลุ่มต่าง ๆ ต่อไปนี้ กลุ่มสร้างเสริ มสุขภาพ (กลุ่มที่ 1) บังคับให้เรี ยน 1 รายวิชา จานวน 1 หน่วยกิต จาก 25 รายวิชา ดังต่อไปนี้ 850101 850102 850103

การฝึ กด้วยเครื่ องน้ าหนักเพือ่ สุขภาพ Weight Training for Health การเดิน- วิง่ เพือ่ สุขภาพ Walking and Jogging for Health ฟุตบอลเพือ่ สุขภาพ Football for Health

1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1)

13 850104 850105 850106 850107 850108 850109 850110 850111 850112 850113 850114 850115 850116 850117 850118

บาสเกตบอลเพือ่ สุขภาพ Basketball for Health วอลเลย์บอลเพือ่ สุขภาพ Volleyball for Health ว่ายน้ าเพือ่ สุขภาพ Swimming for Health ฟุตซอลเพือ่ สุขภาพ Futsal for Health แฮนด์บอลเพือ่ สุขภาพ Handball for Health แบดมินตันเพือ่ สุขภาพ Badminton for Health เทนนิสเพือ่ สุขภาพ Tennis for Health ซอฟท์เทนนิสเพือ่ สุขภาพ Soft Tennis for Health เทเบิลเทนนิสเพือ่ สุขภาพ Table Tennis for Health มวยไทยเพือ่ สุขภาพ Muay Thai for Health กระบี่กระบองเพือ่ สุขภาพ Krabi Krabong for Health ตะกร้อเพือ่ สุขภาพ Takraw for Health ศิลปะสูป้ ้ องกันตัวเพือ่ สุขภาพ Martial Art for Health เทควันโดเพือ่ สุขภาพ Taekwando for Health โบว์ลิ่งเพือ่ สุขภาพ Bowling for Health

1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1)

14 850119 850120 850121 850122 850123 850124 850125

เปตองเพือ่ สุขภาพ Petangue for Health ลีลาศเพือ่ สุขภาพ Social Dance for Health แอโรบิกด๊านซ์เพือ่ สุขภาพ Aerobic Dance for Health กิจกรรมเข้าจังหวะเพือ่ สุขภาพ Rhythmic Activities for Health โยคะเพือ่ สุขภาพ Yoga for Health วูด้ บอลเพือ่ สุขภาพ Woodball for Health แชร์บอลเพือ่ สุขภาพ Chairball for Health

1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1) 1(0-2-1)

เลือกเรี ยน 2 รายวิชา จานวน 4 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้ กลุ่มสร้างเสริ มสุขภาพ (กลุ่มที่ 2) 107106 441110 731101

การปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้ นคืนชีพเบื้องต้น First Aid and Basic Life Support พลศึกษา สันทนาการเพือ่ การสร้างเสริ มสมรรถภาพ Physical Education and Recreation for Fitness Promotion ทักษะชีวติ และสุขภาพวัยรุ่ น Life Skills and Adolescent Health

2(1-2-3) 2(1-2-3) 2(2-0-4)

กลุ่มการพัฒนาทักษะและคุณภาพชีวิต 107108 241102

ศิลปะการทางานอย่างเป็ นสุข Art of Working for Happiness การเสริ มสร้างบุคลิกภาพและพัฒนาตน Personality and Self Development

2(2-0-4) 2(2-0-4)

15 311191 414202

รู ้รอบเรื่ องอาหาร Food Scholar อารมณ์และการจัดการความเครี ยด Emotion and Stress Management

2(2-0-4) 2(2-0-4)

กลุ่มวิชาปรัชญา ศาสนา และหน้ าที่พลเมือง 257102 402403

เศรษฐศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน Economics of Everyday Life หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาสังคม Sufficiency Economy and Social Development

2(2-0-4) 2(2-0-4)

.

กลุ่มตรรกะและการพัฒนาความคิด 402405

(2) หมวดวิชาเฉพาะ - วิชาแกน 302111 302112 303101 303102 303103 306100 306101

2(2-0-4)

การคิดสร้างสรรค์เพือ่ สังคม Creative Thinking for Society

แคลคูลสั 1 Calculus 1 แคลคูลสั 2 Calculus II เคมี 1 Chemistry I เคมี 2 Chemistry II ปฏิบตั ิการเคมี Chemistry Laboratory ชีววิทยาทัว่ ไป 1 General Biology I ปฏิบตั ิการชีววิทยาทัว่ ไป 1 General Biology Laboratory I

ไม่ น้อยกว่า 100 หน่ วยกิต จานวน 27 หน่ วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3-0-6) 1(0-3-1)

16 308100 308101 308102 312201

- วิชาเฉพาะด้ าน 303220 303221 303250 303251 305201 305202 306102 312311 316201 316221

3(3-0-6)

ฟิ สิกส์ 1 Physics I ฟิ สิกส์ 2 Physics II ปฏิบตั ิการฟิ สิกส์เบื้องต้น 1 Introductory Physics Laboratory I สถิติเบื้องต้นสาหรับวิทยาศาสตร์ Elementary Statistics for Science จานวน

3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3-0-6) 22 หน่ วยกิต

เคมีอินทรี ย ์ Organic Chemistry ปฏิบตั ิการเคมีอินทรี ย ์ Organic Chemistry Laboratory เคมีวเิ คราะห์พ้นื ฐาน Fundamentals of Analytical Chemistry ปฏิบตั ิการเคมีวเิ คราะห์พ้นื ฐาน Fundamentals of Analytical Chemistry Laboratory จุลชีววิทยาทัว่ ไป General Microbiology ปฏิบตั ิการจุลชีววิทยาทัว่ ไป General Microbiology Laboratory ชีววิทยาทัว่ ไป 2 General Biology II วิธีเชิงสถิติสาหรับวิทยาศาสตร์ Statistical Methods for Sciences ชีวเคมีทวั่ ไป General Biochemistry ปฏิบตั ิการชีวเคมีทวั่ ไป General Biochemistry Laboratory

3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3 0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 1(0-3-1)

17 - วิชาเอก วิชาเอกบังคับ 309241 309251 309301 309321 309331 309371 309401 309461 309491 309492

ไม่ น้อยกว่า จานวน

สมุทรศาสตร์ทวั่ ไป General Oceanography เทคโนโลยีการประมงเบื้องต้น Introduction to Fisheries Technology จริ ยธรรมทางวาริ ชศาสตร์ Ethics in Aquatic Science พันธุศาสตร์สตั ว์น้ า Genetics in Aquatic Animals การวิเคราะห์คุณภาพน้ า Water Quality Analysis การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า Aquaculture ระเบียบวิธีวจิ ยั ทางวาริ ชศาสตร์ Research Methods in Aquatic Science นิเวศวิทยาทางน้ า Aquatic Ecology สัมมนาทางวาริ ชศาสตร์ Seminar in Aquatic Science ปั ญหาพิเศษทางวาริ ชศาสตร์ Special Problems in Aquatic Science

51 หน่ วยกิต 24 หน่ วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(1-0-2) 4(3-3-6) 3(2-3-4) 3(3 0-6) 1(1-0-2) 3(2-3-4) 1(0-2-1) 2(0-6-2)

วิชาเอกเลือก ให้ เลือกเรียนไม่ น้อยกว่ า 27 หน่ วยกิต จากรายวิชาในกลุ่มวิชาดังต่ อไปนี้ ก. กลุ่มวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและการประมง 309372 309373

การเพาะพันธุส์ ตั ว์น้ า Aquatic Animal Breeding การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง Coastal Aquaculture

3(2-3-4) 3(2-3-4)

18 309376 309378 309379 309411 309412 309413 309431 309451 309452 309471 309472 309473 309474 309475 309476

การเพาะเลี้ยงครัสเตเซีย Crustacean Aquaculture การเพาะเลี้ยงปลา Pisciculture อาหารและโภชนาการสัตว์น้ า Food and Nutrition of Aquatic Animals ขบวนการสะสมแร่ ธาตุในครัสเตเชียน Biomineralization in Crustacean เทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า Aquaculture Biotechnology เคมีอาหารทะเล Seafood Chemistry ผลกระทบของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าต่อสิ่งแวดล้อม Environmental Impacts of Aquaculture เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง Fisheries Products Technology ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า Natural Products from Aquaculture การเพาะเลี้ยงกุง้ Shrimp Aquaculture โภชนศาสตร์อาหารทะเล Seafood Nutrition อาหารและโภชนาการของกุง้ Food and Nutrition of Shrimp การเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ า Ornamental fish and Aquarium Plants ธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและการจัดการฟาร์ม Aquaculture Business and Farm Management การจัดการและธุรกิจฟาร์มกุง้ Management and Business of Shrimp Farm

2(1-3-2) 2(1-3-2) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

19 309477 309478 309479 309481

การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุแ์ ละตัวอ่อนของสัตว์น้ า Gamete and Embryo Cryopreservation of Aquatic Animals โรคและพยาธิของสัตว์น้ า Diseases and Pathology of Aquatic Animals ภูมิคุม้ กันวิทยาของสัตว์น้ า Fish and Shellfish Immunology หัวข้อเลือกสรรทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า Selected Topics in Aquaculture

3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(2-0-4)

ข. กลุ่มวิชาชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางน้ า 309221 309322 309323 309325 309363 309423 309424 309425 309426 309427

ชีววิทยาทางทะเล Marine Biology สัตว์มีกระดูกสันหลังในน้ า Aquatic Vertebrates สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ า Aquatic Invertebrates แพลงก์ตอนวิทยา Planktonology นิเวศสรี รวิทยาของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ า Aquatic Invertebrate Ecophysiology มีนวิทยา Ichthyology ชีววิทยาของครัสเตเชียน Crustacean Biology สรี รวิทยาของสัตว์น้ า Physiology of Aquatic Animals อนุกรมวิธานของปะการัง Coral Taxonomy อนุกรมวิธานของ กุง้ ปู Taxonomy of Shrimps and Crabs

3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(1-3-2) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 2(1-3-2)

20 309428 309429

309462 309463 309464 309465 309466 309467 309482

อนุรักษ์สภาพวิทยา Taxidermy วิวฒั นาการและการกระจายตัวตามภูมิศาสตร์ของสิ่งมีชีวติ ในทะเล Biogeography and Evolution of Marine Organisms ชลธีวทิ ยา Limnology นิเวศวิทยาทางทะเล Marine Ecology นิเวศวิทยาป่ าชายเลน Mangrove Ecology นิเวศวิทยาแนวปะการัง Coral Reef Ecology พันธุศาสตร์การอนุรักษ์ Conservation Genatics การประดาน้ า Scuba Diving หัวข้อเลือกสรรทางนิเวศวิทยาทางน้ า Selected Topics in Aquatic Ecology

2(1-3-2) 3(3-0-6)

3(2-3-4) 2(1-3-2) 2(1-3-2) 2(1-3-2) 3(3-0-6) 2(1-3-2) 2(2-0-4)

ค. กลุ่มวิชาสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อม 309332 309333 309334 309341

มลพิษในแหล่งน้ า Aquatic Pollution พิษวิทยาทางน้ า Aquatic Toxicology เทคนิคการวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล Marine Environment Analysis Techniques สมุทรศาสตร์สกายะ Physical Oceanography

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(3-0-6)

21 309342 309343 309353 309442 309443 309453 309454 309455

309456 309457 309483

สมุทรศาสตร์เคมี Chemical Oceanography สมุทรศาสตร์ธรณี Geological Oceanography การจัดการทรัพยากรน้ า Water Resource Management ชีวธรณี เคมีของแหล่งน้ าเบื้องต้น Introduction to Aquatic Biogeochemistry การวิเคราะห์ขอ้ มูลสมุทรศาสตร์ Oceanographic Data Analysis การจัดการแนวชายฝั่งแบบบูรณาการ Integrated Coastal Zone Management โทรสัมผัสเพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า Remote Sensing for Aquatic Resources Management ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า Geographic Information Systems for Aquatic Resources Management การอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ า Aquatic Resources Conservation สมุทรศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Oceanography in Southeast Asia หัวข้อเลือกสรรทางสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อม Selected Topics in Oceanography and Environment

3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 2(2-0-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4)

2(2-0-4) 3(3-0-6) 2(2-0-4)

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่ น้อยกว่า 6 หน่ วยกิต ให้เลือกเรี ยนรายวิชาใด ๆ อย่างน้อยอีก 6 หน่วยกิต จากรายวิชาที่เปิ ดสอนในมหาวิทยาลัยหรื อเลือก เรี ยนรายวิชาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นทั้งภายในและภายนอกประเทศ ชั่วโมงการฝึ กงาน ให้นิสิตมีชวั่ โมงการฝึ กงานไม่นอ้ ยกว่า 200 ชัว่ โมง

22 ความหมายของเลขรหัสวิชา เลขรหัส 309 หมายถึง สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ เลขรหัสตัวที่ 4 หมายถึง ชั้นปี ที่เปิ ดสอน เลขรหัสตัวที่ 5 หมายถึง กลุ่มวิชาดังต่อไปนี้ เลข 0 หมายถึง กลุ่มวิชาพื้นฐานและระเบียบวิธีวจิ ยั เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาเทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาชีววิทยา เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาเคมีและสิ่งแวดล้อม เลข 4 หมายถึง กลุ่มวิชาสมุทรศาสตร์ เลข 5 หมายถึง กลุ่มวิชาการประมง การจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ า เลข 6 หมายถึง กลุ่มวิชานิเวศวิทยา เลข 7 หมายถึง กลุ่มวิชาการเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์น้ า เลข 8 หมายถึง กลุ่มวิชาอื่นๆ เลข 9 หมายถึง กลุ่มวิชาสัมมนาและปั ญหาพิเศษ เลขรหัสตัวที่ 6 หมายถึง ลาดับรายวิชาในกลุ่มวิชาของเลขรหัสตัวที่ 5 3.1.4 แผนการศึกษา แผนการเรี ยนของนิสิตในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ ในแต่ละภาคเรี ยนของปี การศึกษาเป็ นดังนี้ ปี ที่ 1 ภาคการศึกษาต้ น หน่ วยกิต 222xxx ภาษาอังกฤษ(1 หรื อ 2) 3(3-0-6) 265109 มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการ 3(3-0-6) 302111 แคลคูลสั 1 3(3-0-6) 303101 เคมี 1 3(3-0-6) 306100 ชีววิทยาทัว่ ไป 1 3(3-0-6) 306101 ปฏิบตั ิการชีววิทยาทัว่ ไป 1 1(0-3-1) 308100 ฟิ สิกส์ 1 3(3-0-6) 8501xx วิชาศึกษาทัว่ ไปกลุ่มวิชาเลือก 1(0-2-1) รวม 20

23 ปี ที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย 222xxx ภาษาอังกฤษ (2 หรื อ 3) 302112 แคลคูลสั 2 303102 เคมี 2 303103 ปฏิบตั ิการเคมี 306102 ชีววิทยาทัว่ ไป 2 308101 ฟิ สิกส์ 2 308102 ปฏิบตั ิการฟิ สิกส์เบื้องต้น 1 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวติ ประจาวัน รวม

หน่ วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(2-2-5) 20

ปี ที่ 2 ภาคการศึกษาต้ น 300201 303220 303221 309241 309251 671101 xxxxxx

ภาษาอังกฤษทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมีอินทรี ย ์ ปฏิบตั ิการเคมีอินทรี ย ์ สมุทรศาสตร์ทวั่ ไป เทคโนโลยีการประมงเบื้องต้น สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการ วิชาศึกษาทัว่ ไปกลุ่มวิชาเลือก รวม

หน่ วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(x-x-x) 18

ปี ที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย 305201 305202 309103 312201 316201

จุลชีววิทยาทัว่ ไป ปฏิบตั ิการจุลชีววิทยาทัว่ ไป วิทยาศาสตร์ทางทะเล สถิติเบื้องต้นสาหรับวิทยาศาสตร์ ชีวเคมีทวั่ ไป

หน่วยกิต 3(3-0-6) 1(0-3-1) 2(2-0-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

24 316221 ปฏิบตั ิการชีวเคมีทวั่ ไป xxxxxx วิชาศึกษาทัว่ ไปกลุ่มวิชาภาษาอื่นๆ xxxxxx วิชาศึกษาทัว่ ไปกลุ่มวิชาเลือก รวม

1(0-3-1) 3(3-0-6) 2(x-x-x) 18

ปี ที่ 3 ภาคการศึกษาต้ น 302101 303250 303251 309371 312311 309xxx

คณิ ตศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน เคมีวเิ คราะห์พ้นื ฐาน ปฏิบตั ิการเคมีวเิ คราะห์พ้นื ฐาน การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า วิธีเชิงสถิติสาหรับวิทยาศาสตร์ วิชาเอกเลือก รวม

หน่วยกิต 2(2-0-4) 3(3-0-6) 1(0-3-1) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 6 18

ปี ที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย 309301 จริ ยธรรมทางวาริ ชศาสตร์ 309321 พันธุศาสตร์สตั ว์น้ า 309331 การวิเคราะห์คุณภาพน้ า 309xxx วิชาเอกเลือก xxxxxx วิชาเลือกเสรี รวม

หน่วยกิต 1(1-0-2) 4(3-3-6) 3(2-3-4) 9 3 20

ปี ที่ 4 ภาคการศึกษาต้ น 309401 ระเบียบวิธีวจิ ยั ทางวาริ ชศาสตร์ 309461 นิเวศวิทยาทางน้ า 309491 สัมมนาทางวาริ ชศาสตร์ 309xxx วิชาเอกเลือก รวม

หน่วยกิต 1(1-0-2) 3(2-3-4) 1(0-2-1) 12 17

25 ปี ที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย 309492 ปั ญหาพิเศษทางวาริ ชศาสตร์ xxxxxx วิชาเลือกเสรี รวม จานวนหน่ วยกิตรวม

หน่วยกิต 2(0-6-2) 3 5 136

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา (เอกสารแนบหมายเลข 1) 3.2 ชื่อ สกุล ตาแหน่ งและคุณวุฒิของอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ ประจาหลักสู ตร (1) นางสาวสุ วรรณา ภาณุตระกูล เลขประจาตัวประชาชน 310090221xxxx คุณวุฒิ D.Sc.(Marine Biogeochemistry) Free University of Brussels, Belgium.ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2536 M.Sc.(Fundamental and Applied Marine Ecology) Free University of Brussels, Belgium.ปี ที่ สาเร็จการศึกษา 2532 วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สาเร็ จการศึกษา 2527 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309241 สมุทรศาสตร์เบื้องต้น 3(3-0-6) 309331 การวิเคราะห์คุณภาพน้ า 3(2-3-4) 309502 วาริ ชศาสตร์เคมีและสกายะ 3(3-0-6) 309537 พิษวิทยาในสิ่ งแวดล้อม 3(3-0-6) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309241 สมุทรศาสตร์ทวั่ ไป 3(3-0-6) 309331 การวิเคราะห์คุณภาพน้ า 3(2-3-4) 309333 พิษวิทยาทางน้ า 3(3-0-6)

26 309334 309342 309442

เทคนิคการวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม สมุทรศาสตร์เคมี ชีวธรณี เคมีของแหล่งน้ าเบื้องต้น

3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

(2) นายอนุกูล บูรณประทีปรัตน์ เลขประจาตัวประชาชน 320010076xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Geography) University of Victoria, Canada ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2550 D.Sc. (Coastal Oceanography) Kyushu University, Japan ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2548 วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2541 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2537 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309341 สมุทรศาสตร์สกายะ 3(3-0-6) 309443 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสมุทรศาสตร์ 3(2-3-4) 309454 โทรสัมผัสเพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า 3(2-3-4) 309455 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การจัดการทรัพยากรน้ า 3(2-3-4) 309553 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การจัดการทรัพยากรน้ า 3(2-2-5) 309554 โทรสัมผัสเพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า 3(2-2-5) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309341 สมุทรศาสตร์สกายะ 3(3-0-6) 309454 โทรสัมผัสเพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า 3(2-3-4) 309455 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การจัดการทรัพยากรน้ า 3(2-3-4) 309457 สมุทรศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6) (3) นายวิชญา กันบัว เลขประจาตัวประชาชน 310200192xxxx คุณวุฒิ วท.ม. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2541 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2538 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

27 ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309221 ชีววิทยาทางทะเล 309322 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ า 309331 การวิเคราะห์คุณภาพน้ า 309325 แพลงก์ตอนวิทยาเบื้องต้น 309467 การประดาน้ า 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 309562 แพลงก์ตอนวิทยาขั้นสูง ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 309241 สมุทรศาสตร์ทวั่ ไป 309323 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ า 309325 แพลงก์ตอนวิทยา 309331 การวิเคราะห์คุณภาพน้ า 309461 นิเวศวิทยาทางน้ า 309463 นิเวศวิทยาทางทะเล 309467 การประดาน้ า

2(2-0-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(1-3-2) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 2(2-0-4) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(1-3-2) 2(1-3-2)

(4) นางสาวสวามินี ธีระวุฒิ เลขประจาตัวประชาชน 314120002xxxx คุณวุฒิ ปร.ด. (ผลิตภัณฑ์ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2550 วท.ม. (ผลิตภัณฑ์ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2546 วท.บ. (ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2543 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309451 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง 3(2-3-4) 309452 ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309581 ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6)

28 ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 309413 เคมีอาหารทะเล 309451 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง 309452 ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 309472 โภชนาศาสตร์อาหารทะเล

2(2-0-4) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

(5) นายประสาร อินทเจริญ เลขประจาตัวประชาชน 390010054xxxx คุณวุฒิ วท.ม. (เทคโนโลยีภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2549 วท.บ. (ประมง) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2539 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309454 โทรสัมผัสเพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า 3(2-3-4) 309455 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การจัดการทรัพยากรน้ า 3(2-3-4) 309456 การอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ า 3(3-0-6) 309553 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การจัดการทรัพยากรน้ า 3(2-2-5) 309554 โทรสัมผัสเพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า 3(2-2-5) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309453 การจัดการแนวชายฝั่งแบบบูรณาการ 2(2-0-4) 309456 การอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ า 3(3-0-6) 309454 โทรสัมผัสเพือ่ การจัดการทรัพยากรทางน้ า 3(2-3-4) 309455 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การจัดการทรัพยากรน้ า 3(2-3-4) 309491 สัมมนาทางวาริ ชศาสตร์ 1(0-2-1)

29 3.2.2 อาจารย์ประจา (1) นายวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย เลขประจาตัวประชาชน 310050018xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Marine Estuarine and Environmental Science) University of Maryland College Park, USA ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2542 M.Sc. (Aquaculture) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2529 วท.บ. (ประมง)เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2527 ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309372 อาหารสัตว์น้ า 3(2-3-4) 309478 เทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309479 การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุแ์ ละตัวอ่อนของสัตว์น้ า 3(2-3-4) 309511 เทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309521 การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุแ์ ละตัวอ่อนของสัตว์น้ า 3(2-3-4) 309523 วิทยาต่อมไร้ท่อของปลา 3(3-0-6) 309528 วิทยาต่อมไร้ท่อของครัสเตเซีย 3(3-0-6) 309536 ผลกระทบของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าต่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า 3(3-0-6) 309372 การเพาะพันธุส์ ตั ว์น้ า 3(2-3-4) 309379 อาหารและโภชนาการสัตว์น้ า 3(2-3-4) 309412 เทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309431 ผลกระทบของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าต่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) 309477 การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุแ์ ละตัวอ่อนของสัตว์น้ า 3(2-3-4) (2) นายวิภูษิต มัณฑะจิตร เลขประจาตัวประชาชน 310150015xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Marine Biology) James Cook University, Australia ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2541 วท.ม. (ชีววิทยาทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2529

30 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2526 ตาแหน่ งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309462 นิเวศวิทยาแนวปะการัง 3(2-3-4) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309504 ระเบียบวิธีวจิ ยั และสถิติทางวาริ ชศาสตร์ 3(2-3-4) 309511 การออกแบบการทดลองในการวิเคราะห์สถิติ 3(3-0-6) 309561 นิเวศวิทยาแหล่งน้ าขั้นสูง 3(3-0-6) 309567 นิเวศวิทยาของปลา 3(3-0-6) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309322 สัตว์มีกระดูกสันหลังในน้ า 3(2-3-4) 309401 ระเบียบวิธีวจิ ยั ทางวาริ ชศาสตร์ 1(1-0-2) 309423 มีนวิทยา 2(1-3-2) 309465 นิเวศวิทยาแนวปะการัง 2(1-3-2) 309467 การประดาน้ า 2(1-3-2) (3) นางสมถวิล จริตควร เลขประจาตัวประชาชน 310060219xxxx คุณวุฒิ Ph.D.(Biological Science) University of Portsmouth, USA. ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2544 วท.ม.(วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2526 วท.บ.(วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2523 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309325 แพลงก์ตอนวิทยาเบื้องต้น 3(2-3-4) 309461 นิเวศวิทยาทางน้ า 3(2-3-4) 309463 นิเวศวิทยาทางทะเล 3(2-3-4) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309543 สมุทรศาสตร์ชีวภาพขั้นสูง 3(3-0-6)

31 309562 แพลงก์ตอนวิทยาขั้นสูง 309566 นิเวศวิทยาจุลชีพในแหล่งน้ า ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 309221 ชีววิทยาทางทะเล 309325 แพลงก์ตอนวิทยา 309461 นิเวศวิทยาทางน้ า 309463 นิเวศวิทยาทางทะเล 309464 นิเวศวิทยาป่ าชายเลน

3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(2-0-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 2(1-3-2) 2(1-3-2)

(4) นางปภาศิริ บาร์ เนท เลขประจาตัวประชาชน 31201009xxxx คุณวุฒิ Ph.D.( Aquaculture) Clemson University, USA. ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2545 วท.ม.(วิทยาศาสตร์การประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2527 วท.บ.(ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2525 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309376 การเพาะเลี้ยงครัสเตเซีย 3(2-3-4) 309478 โรคและพยาธิสตั ว์น้ า 3(2-3-4) 309572 โรคและสุขภาพสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309579 ภูมิคุม้ กันวิทยาของสัตว์น้ า 3(2-3-4) 309535 ภูมิคุม้ กันวิทยาของปลาต่อสารพิษ 3(3-0-6) 309691 สัมมนาวาริ ชศาสตร์ 1 1(0-2-1) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า 3(3-0-6) 309453 การจัดการแนวชายฝั่งแบบบูรณาการ 2(2-0-4)

32 309478 309479

โรคและพยาธิสตั ว์น้ า ภูมิคุม้ กันวิทยาของสัตว์น้ า

3(2-3-4) 3(2-3-4)

(5) นายบุญรัตน์ ประทุมชาติ เลขบัตรประชาชน 320010133xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Aquatic Sciences) Universidade do Porto, Portugal ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2544 วท.ม. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2534 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ บางแสน ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2529 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309372 การเพาะพันธุส์ ตั ว์น้ า 3(2-3-4) 309373 การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง 3(2-3-4) 309476 ธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309551 การจัดการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309575 การเพาะเลี้ยงครัสเตเซีย 3(2-3-4) 322371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 322472 ธุรกิจการเพาะเลี้ยงและการจัดการฟาร์มสัตว์น้ า 3(3-0-6) 322372 การเพาะพันธุส์ ตั ว์น้ า 3(2-3-4) 322373 อาหารสัตว์น้ า 3(2-3-4) 322301 พันธุศาสตร์สตั ว์น้ า 3(3-0-6) 322473 การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง 3(2-3-4) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า 3(3-0-6) 309373 การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง 3(2-3-4) 309376 การเพาะเลี้ยงครัสเตเซีย 2(1-3-2) 309378 การเพาะเลี้ยงปลา 2(1-3-2) 309411 ขบวนการสะสมแร่ ธาตุในครัสเตเซียน 3(3-0-6)

33 309471 309473 309476

การเพาะเลี้ยงกุง้ อาหารและโภชนาการของกุง้ การจัดการและธุรกิจฟาร์มกุง้

3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(3-0-6)

(6) นายสิทธิพันธ์ ศิริรัตนชัย เลขประจาตัวประชาชน 320010074xxxx คุณวุฒิ ปร.ด. (สมุทรศาสตร์สกายะและเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2540 วท.ม. (สมุทรศาสตร์สกายะและเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2519 กศ.บ. (เคมี) วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2513 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309241 สมุทรศาสตร์เบื้องต้น 3(3-0-6) 309251 เทคโนโลยีการประมงเบื้องต้น 3(3-0-6) 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309502 วาริ ชศาสตร์เคมีและสกายะ 3(3-0-6) 309577 การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม 3(2-3-4) 322492 สัมมนาทางการเพาะเลี้ยง 2 2(2-0-4) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309241 สมุทรศาสตร์ทวั่ ไป 3(3-0-6) 309251 เทคโนโลยีการประมงเบื้องต้น 3(3-0-6) 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า 3(3-0-6) 309456 การอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ า 2(2-0-6) 309474 การเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ า 3(2-3-4) (7) นางนงนุช ตั้งเกริกโอฬาร เลขประจาตัวประชาชน 310020054xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Zoology) University of Canterbury, New Zealand ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2539 วท.ม. (สัตววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2532 วท.บ. (สัตววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2529

34 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309322 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 309363 นิเวศสรี รวิทยาของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 309421 คาร์ซิโนโลยี 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 309538 นิเวศสรี รวิทยาของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ า ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309323 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ า 309363 นิเวศสรี รวิทยาของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ า 309424 ชีววิทยาของครัสเตเชียน 309427 อนุกรมวิธานของ กุง้ ปู

3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 2(1-3-2)

(8) นางวันศุกร์ เสนานาญ เลขประจาตัวประชาชน 354990009xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Fisheries and Wildlife) University of Minnesota, USA. ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2540 M.Sc. (Fisheries and Wildlife) University of Minnesota, USA. ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2537 วท.บ. (ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2536 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309473 พันธุศาสตร์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309537 พิษวิทยาในสิ่ งแวดล้อม 3(3-0-6) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309321 พันธุศาสตร์สตั ว์น้ า 4(3-3-6) 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า 3(3-0-6) 309466 พันธุศาสตร์การอนุรักษ์ 3(3-0-6)

35 (9) นายมารุต ทิพรส เลขประจาตัวประชาชน 342990006xxxx คุณวุฒิ วท.ม. (การจัดการทรัพยากร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2545 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2531 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 3(3-0-6) 309467 การประดาน้ า 2(1-3-4) 309501 วาริ ชศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) 309691 สัมมนาทางวาริ ชศาสตร์ 1 1(1-2-1) 309692 สัมมนาทางวาริ ชศาสตร์ 2 1(1-2-1) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309301 จริ ยธรรมทางวาริ ชศาสตร์ 1(1-0-2) 309353 การจัดการทรัพยากรน้ า 2(2-0-4) 309371 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ า 3(3-0-6) 309467 การประดาน้ า 2(1-3-2) 309475 ธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและการจัดการฟาร์ม 3(3-0-6) 309491 สัมมนาทางวาริ ชศาสตร์ 1(0-2-1) (10) นายถนอมศักดิ์ บุญภักดี เลขประจาตัวประชาชน 310210003xxxx คุณวุฒิ D.Sc. (Agriculture) Kyoto University, Japan ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2549 วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2539 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่สาเร็ จการศึกษา 2534 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309241 สมุทรศาสตร์เบื้องต้น 3(3-0-6) 309462 ชลธีวทิ ยา 3(2-3-4) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4)

36 309241 309462

สมุทรศาสตร์ทวั่ ไป ชลธีวทิ ยา

3(3-0-6) 3(2-3-4)

(11) นายเผชิญโชค จินตเศรณี เลขประจาตัวประชาชน 320020008xxxx คุณวุฒิ Ph.D. (Marine geophysics) Christian-Albrechts-Universität zu Kiel, Germany ปี ที่สาเร็จ การศึกษา 2554 วท.ม. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่จบการศึกษา 2541 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่จบการศึกษา 2538 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309241 สมุทรศาสตร์เบื้องต้น 3(3-0-6) 309431 การวิเคราะห์คุณภาพน้ า 3(2-3-6) 309441 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสมุทรศาสตร์ 3(2-3-5) ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4) 309241 สมุทรศาสตร์ทวั่ ไป 3(3-0-6) 309331 การวิเคราะห์คุณภาพน้ า 3(2-3-4) 309443 การวิเคราะห์ขอ้ มูลสมุทรศาสตร์ 3(2-3-4) (12) นางสาวนรินทร์ รัตน์ คงจันทร์ ตรี เลขประจาตัวประชาชน 424040000xxxx คุณวุฒิ Ph.D.(Biological Sciences) The University of Queensland, Australia ปี ที่จบการศึกษา 2554 วท.ม. (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่จบการศึกษา 2547 วท.บ. (วาริ ชศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่จบการศึกษา 2543 ตาแหน่ งทางวิชาการ อาจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ ว 309361 นิเวศวิทยาทางทะเล 3(2-3-4) 309465 นิเวศวิทยาแนวปะการัง 3(2-3-4) 309483 การประดาน้ า 2(1-3-2)

37 309491 สัมมนาทางวาริ ชศาสตร์ 309492 ปั ญหาพิเศษทางวาริ ชศาสตร์ ภาระการสอนในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนใหม่ 309426 อนุกรมวิธานของปะการัง 309429 วิวฒั นาการและการกระจายตัวตามภูมิศาสตร์ของสิ่งมีชีวติ ทะเล 309465 นิเวศวิทยาแนวปะการัง

1(1-0-2) 2(0-6-0) 3(2-3-4) 3(3-0-6) 2(1-3-2)

3.2.3 อาจารย์ พิเศษ (1) นายพิชาญ สว่ างวงศ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Marine Estuarine and Environmental Science) University of Maryland, USA. ปี การศึกษาที่จบ 2534 วท.ม. (สมุทรศาสตร์สกายะและเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษาที่จบ 2517 วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล)เกียรตินิยม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษาที่จบ 2511 ตาแหน่ งทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) (2) Dr. Federick W.H. Beamish คุณวุฒิ M.Sc./Ph.D. (Environmental Physiology) University of Toronto, Canada ปี ที่สาเร็จการศึกษา 2505 B.Sc. (Biology) University of Toronto, Canada ปี ที่สาเร็ จการศึกษ 2501 ตาแหน่ งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2) 4. องค์ประกอบเกีย่ วกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึ กงาน หรื อสหกิจศึกษา) (ถ้ ามี) โดยที่ผใู ้ ช้บณั ฑิตต้องการให้บณั ฑิตมีประสบการณ์ก่อนเข้าสู่อาชีพ ดังนั้นในหลักสูตรจึงมีรายวิชา ฝึ กงาน ซึ่งจะจัดอยูใ่ นกลุ่มวิชาเฉพาะ 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ ของประสบการณ์ภาคสนาม 1. มีทกั ษะในการปฏิบตั ิงานจากสถานประกอบการ ตลอดจนมีความเข้าใจในทฤษฎีและ หลักการมากยิง่ ขึ้น 2. สามารถบูรณาการความรู ้ที่เรี ยนมาเพือ่ นาไปแก้ปัญหาทางวาริ ชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม

38 3. มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น 4. มีระเบียบวินยั ตรงเวลา และเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ตลอดจนสามารถปรับตัวให้เข้ากับ สถานประกอบการณ์ได้ 4.2 ช่ วงเวลา ภาคฤดูร้อน ชั้นปี ที่ 3 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน จัดเต็มเวลา 5. ข้ อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย 5.1 คาอธิบายโดยย่อ นิสิตต้องเลือกหัวข้อที่ตนเองสนใจ โดยปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษาปั ญหาพิเศษ จากนั้นดาเนินการ ทดลอง บันทึกผล แก้ไขปั ญหา วิเคราะห์ผล โดยใช้หลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์มีการเปรี ยบเทียบข้อมูล และ เขียนรายงานการทดลองโดยใช้เวลาประมาณ 1 ภาคการศึกษา 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 1. มีทกั ษะทางด้านการสื่อสารและสืบค้นข้อมูล 2. มีทกั ษะทางด้านการวางแผน การคิดวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู ้ในการแก้ไขปั ญหา 3. ทักษะทางด้านการใช้เครื่ องมือวิทยาศาสตร์ในการทดลอง 4. มีทกั ษะทางด้านการเขียนรายงาน 5.3 ช่ วงเวลา ภาคเรี ยนที่ 2 ของชั้นปี ที่ 4 5.4 จานวนหน่ วยกิต จานวน 2 หน่วยกิต 5.5 การเตรียมการ 1.มีการประเมินความรู ้ของนิสิตก่อนเรี ยน เพือ่ ให้ทราบพื้นฐานของนิสิต 2.มีการเตรี ยมความพร้อมนิสิตในด้านทักษะการทาวิจยั ในการเขียนรายงาน รู ปแบบการอ้างอิงข้อมูล 3.มีระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูลของสานักหอสมุดทิ่นิสิตสามารถสืบค้นได้ทวั่ โลก 5.6 กระบวนการประเมินผล ประเมินผลจากการนาเสนอข้อมูลการทดลองต่อคณะกรรมการประเมินที่ทางสาขาวิชาแต่งตั้งและ ทักษะการเรี ยนรู ้ในการทางานวิจยั โดยมีการให้คะแนนเป็ นลาดับขั้นตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยบูรพา

39

หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ และ กลยุทธ์ การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์ หรือกิจกรรมของนิสิต - มีวนิ ยั และซื่อสัตย์สุจริ ต - สร้างวินยั โดยให้เข้าเรี ยนตรงต่อเวลา - ส่งงานที่ได้รับมอบหมายให้ตรงตามกาหนดเวลา - ไม่ทุจริ ตในการสอบ - ไม่อา้ งอิงงานของผูอ้ ื่นโดยการคัดลอก - นาความรู ้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ - มีการจัดทาโครงงานวิจยั ทางด้านวิชาชีพ มาประยุกต์ในงานด้านวิชาชีพ - มีการนาเสนอผลงานวิจยั และอภิปรายผลงานให้ ถูกต้องตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - ด้าน IT - มีการนาเสนอรายงานหรื อผลงานวิจยั โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ - มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและค้นคว้าข้อมูลโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ ในแต่ ละด้ าน 2.1 คุณธรรมจริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. ตระหนักในการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพตลอดจนเคารพในกฎระเบียบและวัฒนธรรม ขององค์กร 2. มีความซื่อสัตย์สุจริ ต 3. มีวนิ ยั 2.1.2 กลยุทธ์ การสอนทีใ่ ช้ พัฒนาการเรียนรู้ ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. ส่งเสริ มให้นิสิตเคารพต่อระเบียบและกฎเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 2. สอดแทรกในเนื้อหา และปลูกฝังความซื่อสัตย์ไม่ให้กระทาการทุจริ ตในการสอบ การอ้างอิง งานของผูอ้ ื่นหรื อลอกการบ้านของผูอ้ ื่น 3. ปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินยั และตรงต่อเวลา 2.1.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. ประเมินจากการแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ในชั้นเรี ยน

40 2. ประเมินจากจานวนนิสิตที่ไม่กระทาการทุจริ ตในการสอบและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากการตรงเวลาของนิสิตในการเข้าชั้นเรี ยน การส่ งงานที่ได้รับมอบหมาย 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. มีความรู ค้ วามเข้าใจในหลักการ ทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ 2. มีความรู ้ความเข้าใจในศาสตร์อื่น และสามารถนามาบูรณาการกับศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ได้ 3. เข้าใจในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างถ่องแท้ 4. มีความใฝ่ รู้และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ 2.2.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. ใช้วธิ ีการสอนและการมอบหมายงานในหลากหลายรู ปแบบ โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 2. ให้เรี ยนรู ้จากสถานการณ์จริ งหรื อเชิญผูเ้ ชี่ยวชาญมาเป็ นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่ อง 3. ให้นิสิตทาปั ญหาพิเศษ 2.2.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและการปฏิบตั ิของนิสิต ในด้านต่าง ๆ คือ 1. ประเมินจากการสอบ และงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ประเมินจากรายงานการฝึ กงานและการนาเสนอการฝึ กงาน 3. ประเมินจากปั ญหาพิเศษที่นาเสนอในชั้นเรี ยน 2.3 ทักษะทางปัญญา 2.3.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา 1. นาความรู ้ทางทฤษฎีและปฏิบตั ิไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ 2. สามารถวิเคราะห์ เชื่อมโยงและนาเสนอข้อมูลได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 3. นากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปแก้ปัญหา 2.3.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา 1. มอบหมายให้นิสิตฝึ กปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งใช้ความรู ้ท้งั ทางทฤษฎีและปฏิบตั ิ 2. จัดการสอนโดยมีชวั่ โมงปฏิบตั ิการ 3 จัดให้ทาปั ญหาพิเศษเพือ่ ฝึ กใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.3.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา 1. ประเมินจากผลการฝึ กปฏิบตั ิงาน 2. ประเมินจากผลการสอบภาคปฏิบตั ิ 3. ประเมินจากปั ญหาพิเศษ

41 2.4 ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ 1. ปฏิบตั ิงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้เป็ นอย่างดี 2. มีภาวะผูน้ าและเคารพสิทธิซ่ ึงกันและกัน 3. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร และสังคม 2.4.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ ในการพัฒนาผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1. มอบหมายงานกลุ่ม 2. เปิ ดโอกาสให้นิสิตมีการแสดงออกของความเป็ นผูน้ า 3. สอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร และสังคม 2.4.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ 1. ประเมินจากงานกลุ่ม 2. สังเกตจากพฤติกรรมในการทางานเป็ นกลุ่ม 3. สังเกตจากพฤติกรรมความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร และสังคม 2.5 ทักษะในการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะในการวิเคราะห์ การสื่ อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ใช้ความรู ้ทางสถิติและคณิ ตศาสตร์ในการวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลอย่างมี ประสิ ทธิภาพ 2. ใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน 3. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ 4. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวม สืบค้นและนาเสนอข้อมูลได้เป็ นอย่างดี 2.5.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะในการวิเคราะห์ การสื่ อสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดให้มีทกั ษะการเรี ยนการสอนรายวิชาสัมมนาและปั ญหาพิเศษ เพือ่ ให้นิสิตมีโอกาสใช้การ พัฒนาการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะในการวิเคราะห์ การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.3 การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการคิดวิเคราะห์ การสื่ อสาร และเทคโนโลยี สารสนเทศ ประเมินจากการนาเสนอรายวิชาสัมมนาและปัญหาพิเศษ 2.6 ผลการเรียนรู้อื่น ๆ (ถ้ ามี) ไม่มี

42 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ จากหลักสู ตรสู่ รายวิชา (Curriculum Mapping) (เอกสารแนบหมายเลข 3)

หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎ ระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ ระดับคะแนน เกณฑ์การให้ระดับคะแนนเป็ นระบบการให้คะแนนแบบมีระดับขั้น แบ่งเป็ น 8 ระดับ คือ A, B+, B, C+, C, D+, D และ F ซึ่งคิดเป็ นค่าระดับขั้น 4.0, 3.5, 3.0, 2.5, 2.0, 1.5, 1.0, และ 0 ตามลาดับ ทั้งนี้ให้เป็ นไปตาม ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยบูรพา 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสั มฤทธิ์ของนิสิต 2.1 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตรประเมินข้อสอบของแต่ละรายวิชาว่าสอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อ ผลการเรี ยนรู ้หรื อไม่ 2.2 การประเมินผลของแต่ละรายวิชาต้องผ่านที่ประชุมของภาควิชาหรื อคณะกรรมการที่ภาควิชา แต่งตั้งก่อนประกาศผลระดับขั้นให้นิสิตทราบ 2.3 พิจารณาจากรายงานการประเมินผลการฝึ กงานในรายวิชาฝึ กงานร่ วมกับทางสถานประกอบการว่า นิสิตปฏิบตั ิงานได้ตามมาตรฐานหรื อไม่ 2.4 ตรวจสอบจากรายงานรายวิชา 3. เกณฑ์ การสาเร็จการศึกษาหลักสู ตร เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาเป็ นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี โดยมีหลักเกณฑ์การให้ปริ ญญา ดังนี้ 3.1 ปริ ญญาบัณฑิต นิสิตผูม้ ีสิทธิ์ได้รับปริ ญญาบัณฑิตต้องสอบได้จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร และได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมไม่นอ้ ยกว่า 2.00 3.2 ปริ ญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับสอง นิสิตผูม้ ีสิทธิ์ได้รับปริ ญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับสองต้อง สอบได้จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตรได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.25 ขึ้นไป และไม่เคยสอบได้ D+, D, F หรื อ U ในรายวิชาใด 3.3 ปริ ญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง นิสิตผูม้ ีสิทธิ์ได้รับปริ ญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ต้องสอบได้จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตรได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.60 ขึ้นไป และไม่เคยสอบได้ D+, D, F หรื อ U ในรายวิชาใด

43

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 1.1 มีการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ให้รู้จกั มหาวิทยาลัยและคณะ และให้เข้าใจวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ของหลักสูตรตามแนวคิดของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ โดยจัดให้มีอาจารย์พี่เลี้ยงเพือ่ ให้คาแนะนาต่างๆแก่อาจารย์ ใหม่ 1.2 ให้ความรู ้แก่อาจารย์ใหม่ในด้านการบริ หารวิชาการของคณะ การประกันคุณภาพการศึกษา กฎระเบียบการศึกษาต่าง ๆ 1.3 มีการแนะนาอาจารย์พเิ ศษให้เข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรตลอดจนรายวิชาที่จะสอน พร้อมทั้งมอบเอกสารที่เกี่ยวข้องให้กบั อาจารย์พเิ ศษ 2. การพัฒนาความรู้ และทักษะให้ แก่ คณาจารย์ การดาเนินการเพือ่ ช่วยให้คณาจารย์ได้พฒั นาเชิงวิชาชีพ ดังนี้ 2.1 การพัฒนาความรู ้และทักษะการจัดการเรี ยนการสอน การวัดและการประเมินผล (1) มหาวิทยาลัย/คณะ มีหลักสูตรอบรมสาหรับอาจารย์ใหม่ เกี่ยวกับการสอนทัว่ ไป และการวัดและ ประเมินผล (2) อาจารย์อย่างน้อยร้อยละ 25 ของจานวนอาจารย์ท้งั หมดต้องผ่านการอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการ สอนแบบต่างๆ การสร้างแบบทดสอบต่างๆตลอดจนการประเมินผลการเรี ยนรู ้ที่อิงพัฒนาการของผูเ้ รี ยน การใช้ คอมพิวเตอร์ในการจัดการเรี ยนการสอน และการใช้และผลิตสื่ อการสอน (3) สนับสนุนให้มีการทาวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรี ยนการสอน 2.2 การพัฒนาทางวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ (1) สนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่ วมการอบรมหรื อประชุมสัมมนาวิชาการ (2) ส่งเสริ มให้อาจารย์ทาวิจยั ทั้งการวิจยั ในสาขาวิชาชีพ และการวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรี ยนการสอน (3) สนับสนุนให้อาจารย์จดั ทาผลงานทางวิชาการ เพือ่ ให้มีตาแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น

44

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสู ตร 1. การบริหารหลักสู ตร หัวหน้าภาควิชา และอาจารย์ประจาหลักสูตรเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการบริ หารหลักสูตร โดยวางแผนการจัดการเรี ยนการสอนร่ วมกับผูบ้ ริ หารของคณะ ติดตามและรวบรวมข้อมูล สาหรับใช้ในการ ปรับปรุ งและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งนี้โดยมีคณบดีเป็ นผูก้ ากับดูแลและคอยให้คาแนะนา ตลอดจนกาหนดนโยบายปฏิบตั ิ 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ รายได้ของหลักสูตรได้จากเงินอุดหนุนของรัฐ เงินรายได้ของมหาวิทยาลัยซึ่งได้จากค่าธรรมเนี ยม การศึกษาของนิสิต การบริ การวิชาการ และอื่น ๆ โดยนามาจัดสรรตามความจาเป็ น เพือ่ ให้หลักสูตรสามารถ ดาเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม หลักสูตร/คณะมีความพร้อมทั้งด้านอาคารสถานที่ และครุ ภณั ฑ์อย่างเพียงพอ รวมทั้งมีความพร้อม ด้านหนังสือ ตารา และการสืบค้นผ่านฐานข้อมูลโดยมีสานักหอสมุดกลางที่มีหนังสือด้านบริ หารจัดการ และ ฐานข้อมูลที่จะให้สืบค้น 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม ประสานงานกับสานักหอสมุดกลางในการจัดซื้อหนังสือ และตาราที่เกี่ยวข้อง เพือ่ บริ การให้อาจารย์ และนิสิตได้คน้ คว้า และใช้ประกอบการเรี ยนการสอน โดยอาจารย์สามารถเสนอรายชื่อหนังสือตลอดจนสื่ออื่นๆ ที่จาเป็ น ที่จะให้ในการเรี ยนการสอนตามหลักสูตร นอกจากนี้อาจารย์พเิ ศษที่เชิญมาสอนบางรายวิชาและบาง หัวข้อ ก็มีส่วนในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ เพือ่ ให้หอสมุดกลางจัดซื้อหนังสือด้วย ในส่ วนของอุปกรณ์ ครุ ภณั ฑ์ และสิ่งก่อสร้าง ต่าง ๆ คณะมีการประชุมวางแผนการจัดซื้อครุ ภณั ฑ์ และจัดสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของแต่ละหลักสูตรอย่างเหมาะสม 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร มีการประเมินความเพียงพอของอุปกรณ์ ครุ ภณั ฑ์ หนังสือและเอกสารประกอบการเรี ยน โดยให้ นิสิตและอาจารย์ผสู ้ อนเป็ นผูต้ อบแบบสอบถาม

45 3. การบริหารคณาจารย์ 3.1 การรับอาจารย์ ใหม่ การับสมัครอาจารย์ใหม่เป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี โดย ภาควิชาเป็ นผูก้ าหนดคุณวุฒิและคุณสมบัติที่ตอ้ งการ 3.2 การมีส่วนร่ วมของคณาจารย์ ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสู ตร คณาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตร และผูส้ อน จะต้องประชุมร่ วมกันในการวางแผนจัดการเรี ยนการ สอน ประเมินผลและให้ความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลเพือ่ เตรี ยมไว้สาหรับการ ปรับปรุ งหลักสูตร ตลอดจนปรึ กษาหารื อแนวทางที่จะทาให้บรรลุเป้ าหมายตามหลักสูตร เพือ่ ให้บณั ฑิตมีผลการ เรี ยนรู ้อย่างน้อยตามที่มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา 3.3 คณาจารย์ ที่สอนบางเวลาและคณาจารย์ พิเศษ - มีนโยบายในการเชิญผูท้ รงคุณวุฒิจากภายนอกมาร่ วมสอนในหลักสูตร 4. การบริหารบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ ง มีการกาหนดคุณสมบัติบุคลากรสนับสนุนให้ตรงกับภาระหน้าที่ที่ตอ้ งรับผิดชอบ และผ่านการ คัดเลือกอย่างเหมาะสม 4.2 การเพิ่มทักษะความรู้ เพือ่ การปฏิบัติงาน - สนับสนุนให้บุคลากรได้เข้ารับการฝึ กอบรมที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ - สนับสนุนให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การทางานกับบุคลากรในหน่วยงานอื่น - สนับสนุนให้บุคลากรได้ร่วมงานกับอาจารย์ ทั้งด้านการเรี ยนการสอน การบริ การวิชาการ และการ วิจยั 5. การสนับสนุนและการให้ คาแนะนานิสิต 5.1 การให้ คาปรึกษาด้ านวิชาการและอืน่ ๆแก่ นิสิต คณะมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาทางปรึ กษาทางวิชาการให้แก่นิสิตทุกคน โดยนิสิตที่มีปัญหาในการ เรี ยนสามารถปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษาทางวิชาการได้ โดยอาจารย์ของคณะทุกคนจะต้องทาหน้าที่อาจารย์ที่ ปรึ กษาทางวิชาการให้แก่นิสิต และทุกคนต้องกาหนดชัว่ โมงว่าง (Office Hours) เพือ่ ให้นิสิตเข้าปรึ กษาได้ 5.2 การอุทธรณ์ของนิสิต เป็ นไปตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย

46 6. ความต้ องการของตลาดแรงงาน สั งคม และหรือความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต จัดให้มีการสารวจความต้องการของตลาดแรงงาน และความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณั ฑิตก่อนการปรับปรุ ง หลักสูตร เพือ่ ใช้เป็ นข้อมูลในการปรับปรุ งหลักสูตรต่อไป 7. ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินการ (Key performance indicators) การจัดการเรี ยนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวาริ ชศาสตร์ สามารถประกันคุณภาพ หลักสูตรและการจัดการเรี ยนการสอน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา โดยการกาหนดตัวบ่งชี้หลัก และเป้ าหมายผลการดาเนินงานดังต่อไปนี้ ตัวบ่งชี้และเป้ าหมาย 1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่ วมในการ ประชุมเพือ่ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรื อ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา 3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิ ดสอน ในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผลการ ดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิ ดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปี การศึกษา 6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ ที่กาหนดใน มคอ.3 และมคอ.4 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่ เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา 7. มีการพัฒนาปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธ์การเรี ยน การสอน หรื อการประเมินผลการเรี ยนรู ้ จากผลการประเมินการ ดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปี ที่แล้ว

ปี การศึกษา ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 ปี ที่ 4 ปี ที่ 5      

























































47 ปี การศึกษา ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 ปี ที่ 4 ปี ที่ 5 8. อาจารย์ใหม่ ทุกคนได้รับการปฐมนิ เทศหรื อ คาแนะนาด้านการ      จัดการเรี ยนการสอน 9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรื อวิชาชีพ      อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 10. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอนได้รับการพัฒนาทาง      วิชาการและ/หรื อวิชาชีพ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี   11. ระดับความพึงพอใจของนิสิตปี สุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อ คุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0  12. ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ ั ฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่เฉลี่ ยไม่ น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 รวมตัวบ่งชี้ (ข้อ) ในแต่ละปี 9 10 10 11 12 ตัวบ่งชี้บงั คับ (ข้อที่) 1-5 1-5 1-5 1-5 1-5 ตัวบ่งชี้ตอ้ งผ่านรวม (ข้อ) 8 8 8 9 10 ตัวบ่งชี้และเป้ าหมาย

หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของหลักสู ตร 1. การประเมินประสิ ทธิผลของการสอน 1.1 กระบวนการประเมิน และการปรับปรุงแผนกลยุทธ์ การสอน - ประเมินจากผลการเรี ยนรู ้ของนิสิต จากพฤติกรรมการแสดงออก การอภิปรายโต้ตอบ การตอบ คาถาม การทากิจกรรมในชั้นเรี ยน และผลการสอบ - มีการประชุมร่ วมกันของอาจารย์ในภาควิชา เพือ่ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และให้ขอ้ เสนอแนะ เกี่ยวกับกระบวนการประเมิน และกลยุทธ์การสอน 1.2 กระบวนการประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้ แผนกลยุทธ์ การสอน - มีการประเมินการสอนของอาจารย์ผสู ้ อนทุกปลายภาคการศึกษา โดยสานักทะเบียนและประเมินผล

48 2. การประเมินหลักสู ตรในภาพรวม 2.1 ประเมินจากนิสิตและศิษย์ เก่ า - การประเมินหลักสูตรในภาพรวม โดยนิสิตชั้นปี ที่ 4 ในภาคปลายก่อนจบการศึกษา ในรู ปของ แบบสอบถาม - สาหรับศิษย์เก่าจะประเมินโดยใช้แบบสอบถามหรื ออาจจะจัดประชุมศิษย์เก่าตามโอกาสที่เหมาะสม 2.2 ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือที่ปรึกษา - ดาเนินการโดยเชิญผูท้ รงคุณวุฒิมาให้ความเห็นหรื อจากข้อมูลในรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตร หรื อจากรายงานของการประเมินผลการประกันคุณภาพภายใน 2.3 ประเมินจากนายจ้ างหรือสถานประกอบการ และ/หรือผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ - ดาเนินการโดยสัมภาษณ์จากสถานประกอบการที่นิสิตไปฝึ กงานหรื อใช้วิธีการส่งแบบสอบถามไปยัง ผูใ้ ช้บณั ฑิต - มีการประชุมทบทวนหลักสูตร โดยเชิญ ผูท้ รงคุณวุฒิ ผูใ้ ช้งานนิสิต บัณฑิตใหม่ 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสู ตร - การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงานในข้อ 7 หมวด 7 4. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสู ตรและแผนกลยุทธ์ การสอน - อาจารย์ประจาวิชาทบทวนผลการการประเมินประเมินประสิทธิผลของการสอนในรายวิชาที่ รับผิดชอบในระหว่างภาค โดยปรับปรุ งทันทีจากข้อมูลที่ได้รับ - หลักสูตรดาเนินการปรับปรุ งหลักสูตรทุก 4 ปี ทั้งนี้เพือ่ ให้หลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้องกับ ความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต โดยพิจารณาจากสรุ ปผลการดาเนินงานของหลักสูตร รวมทั้งความเห็นของ ผูท้ รงคุณวุฒิ

49

เอกสารแนบ หมายเลข 1 หมายเลข 2 หมายเลข 3 หมายเลข 4 หมายเลข 5 หมายเลข 6 หมายเลข 7

คาอธิบายรายวิชา ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสู ตรและอาจารย์ พิเศษ แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้ สู่ รายวิชา (Curriculum Mapping) คาสั่ งแต่ งตั้งกรรมการพิจารณาหลักสู ตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ตารางเปรียบเทียบรายละเอียดความแตกต่ างระหว่ างหลักสู ตรปรับปรุงและหลักสู ตรเดิม ข้ อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้ วยการศึกษาระดับปริญญาตรี ระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพาว่ าด้วยการเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาตรี

Bachelor Degree.pdf

Retrying... Download. Connect more apps... Try one of the apps below to open or edit this item. Bachelor Degree.pdf. Bachelor Degree.pdf. Open. Extract.

787KB Sizes 2 Downloads 308 Views

Recommend Documents

Bachelor Thesis - GitHub
Sep 25, 2015 - actual business logic and the need for native SQL is brought down to a minimum. This makes the ...... idProducerTransactionTimeout( 1800 ). 9.

Bachelor Thesis.pdf
... theta functions. In Chapter 9 and 10, we will introduce Hermitian and K ̈ahler manifold and with. focus on the curvature form associated to holomorphic line bundles on Hermitian. manifolds. It leads us to the Kodaira embedding theorem, which sta

bachelor thesis -
Bearing in mind previous, I would like to express my deepest gratitude and ..... For this test, the satellite will be place inside the orbital deployer, or otherwise.

Bachelor Thesis - arXiv
Jun 26, 2012 - system such as Solr or Xapian and to design a generic bridge ..... application server. ..... document types including HTML, PHP and PDF.

Bachelor Thesis - arXiv
Jun 26, 2012 - Engine. Keywords. Document management, ranking, search, information ... Invenio is a comprehensive web-based free digital library software.

BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS (BCA)
Oct 15, 2012 - (i) How many data input and data output lines does this RAM need to have? (ii) How many address lines will ... What construct do you use in Linux/Unix instead of FAT? Explain the differences .... forms of recreation to draw people away

BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS (BCA)
Oct 15, 2012 - Passenger pigeons, whose massive flocks once darkened American skies, were shot in thousands in the presumption that they could never become extinct. .... about the study like name of the study centre, name of the regional centre, name

BACHELOR IN COMPUTER APPLICATIONS Term-End Examination ...
approximates f(x). Give one example of an equation with "multiple roots". And justify your answer. Also, write a polynomial equation of degree three which has a.

BACHELOR IN COMPUTER APPLICATIONS Term-End ... - IGNOU
BACHELOR IN COMPUTER APPLICATIONS. Term-End Examination. June, 2012. O. CS- 74 : INTRODUCTION TO INTERNET. PROGRAMMING. Time : 2 hours.

BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS (PRE - REVISED) Term ...
... of Printed Pages : 2. BACHELOR OF COMPUTER. APPLICATIONS (PRE - REVISED) ... (b) GSM Technology. (c) FTP. (d) Discovery and Push agents. CS-75. 2.

BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS (PRE - REVISED) Term ...
Term-End Examination. December, 2013. CS-64 : INTRODUCTION TO COMPUTER. ORGANISATION. Time : 3 Hours. Maximum Marks : 75. Note : Question No.

FIRST BATCH OF THE APPROVED BACHELOR STUDENTS.pdf ...
19 JUMANNE Y MTINDA M. S1042/00. 54/2005. P0334/06. 31/2010 18444 JC001. BACHELO. R OF ARTS. WITH. EDUCATIO. N. 20 KENFRID GAITAN M.

INTERNAL MEMORANDUM To : Bachelor of ... -
Please ensure all utilities bill (electric and water) are fully settle before checkout. Failure to do so, will be charge accordingly. 4. If any dirty or damage found, the deposit will be deducted or student must pay according to the damages. 5. Hoste

o_2Training contract for Bachelor student.pdf
Introducing students to the Mongolian University of Life Sciences and other relevant rules,. regulations and instructions,. 3. Renewal of the study contract annually, extend,. 4. Students will be provided with appropriate procedures in the classroom,

BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS (BCA) (Revised) Term ...
BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS ... BCS-054 : COMPUTER ORIENTED NUMERICAL .... (b) The values of y = ,fix are given below for 10 x = 1.5(0.5) ...

BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS (PRE - REVISED) Term ...
BACHELOR OF COMPUTER. APPLICATIONS (PRE - REVISED). Term-End Examination. December, 2013. CS-64 : INTRODUCTION TO COMPUTER.

BACHELOR OF COMPUTER APPLICATIONS (BCA) (Pre-Revised ...
Jun 3, 2015 - arithmetic with rounding, find whether. (a + b) + c = a + (b + c), or not. 5 ... Solve the following equations by Cramer's rule : 5. 3x + y + 2z = 3.

BACHELOR OF EDUCATION Term-End Examination ... - IGNOU
600 words : Mention the various media and technologies that you made use of in pursuing your studies from. IGNOU and how were they useful ? What.

Riprovime p.formimi bachelor 016.pdf
Page 1 of 54. PERATURAN MENTERI PERBURUHAN. NO. 7/1964*. TENTANG. SYARAT KESEHATAN, KEBERSIHAN SERTA PENERANGAN. DALAM TEMPAT KERJA. MENTERI PERBURUHAN,. Mengingat: Bahwa telah tiba waktunya melaksanakan ketentuan pada Pasal 8. Arbeidsregeling Nijver

BACHELOR APPROVED STUDENTS - RECENTLY UPDATED (1).pdf ...
119 VERONICA A VARTAY F S0775/0051/2014 S1392/0566/2017 18388 JC001 BACHELOR OF ARTS WITH EDUCATION. 120 VICTORIA SEMWENDA F S0213/0034/1996 100000 JC001 BACHELOR OF ARTS WITH EDUCATION. 121 ZEITUNI MCHATTA F S0199/0016/2007 100000 JC001 BACHELOR OF

bachelor (2013-17).pdf
Loading… Page 1. Whoops! There was a problem loading more pages. Retrying... bachelor (2013-17).pdf. bachelor (2013-17).pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu. Displaying bachelor (2013-17).pdf.

1. CUCMS - OSH Programs Info - BACHELOR & MASTER ...
about 20 minutes drive from the Kuala Lumpur International Airport (KLIA) and about ... CUCMS - OSH Programs Info - BACHELOR & MASTER - 27032015.pdf.